Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E-book ศิลปะกับคอมพิวเตอร์กราฟิก

E-book ศิลปะกับคอมพิวเตอร์กราฟิก

Published by นิตยา เสาหงษ์, 2021-10-16 09:13:39

Description: E-book ศิลปะกับคอมพิวเตอร์กราฟิก

Search

Read the Text Version

1 3 ศิลปะกบั คอมพิวเตอรก์ ราฟิก 1 ความเปน็ มาของศลิ ปะกบั คอมพิวเตอร์กราฟกิ 2 ความหมายและคุณสมบตั ิของการออกแบบงานกราฟิกภาพ 3 ประเภทและองค์ประกอบของงานออกแบบกราฟิก 4 หลกั การทำงานของภาพและไฟลง์ านกราฟิก 5 หลักการใชส้ แี ละแสงในโปรแกรมกราฟิก 6 หลักการออกแบบงานกราฟิกดว้ ยเทคโนโลยี 7 การประยกุ ต์ใช้งานคอมพิวเตอร์กราฟกิ

หนว่ ยท่ี 3 ศิลปะกับคอมพวิ เตอรก์ ราฟิก ห น้ า | 2 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 3 หนว่ ยที่ 3 รหสั วิชา 2204-2101 วิชา องค์ประกอบศลิ ปส์ ำหรับงานคอมพวิ เตอร์ สอนครั้งท่ี 3-4 ช่ือหนว่ ย ศิลปะกับคอมพวิ เตอร์กราฟิก จำนวน 6 ชั่วโมง สาระสำคัญ ศลิ ปะกับคอมพวิ เตอร์ หรือ Computer Art หมายถงึ งานศิลปะอนั เกิดจากการผลิตของเครื่อง คอมพิวเตอร์ ปัจจุบันการประยุกต์สร้างงานศิลปะด้วยคอมพิวเตอร์มีจุดเด่น คือ ช่วยให้ศิลปะสามารถ ออกแบบต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้องแม่นยำ สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ แบบที่สร้างขึ้นโดย คอมพิวเตอร์จะมีความแปลกตาน่าสนใจ เพราะสามารถสร้างได้ทั้งภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว รวมถึง การสรา้ งเสียงต่าง ๆ ประกอบในผลงานศลิ ปะไดอ้ ีกดว้ ย สาระการเรยี นรู้ 1. ความเปน็ มาของศลิ ปะกับคอมพวิ เตอร์กราฟกิ 2. ความหมายและคุณสมบตั ิของงานออกแบบกราฟิก 3. ประเภทและองคป์ ระกอบของงานออกแบบกราฟิก 4. หลักการทำงานของภาพและไฟลง์ านกราฟกิ 5. หลกั การใช้สแี ละแสงในโปรแกรมกราฟิก 6. หลักการออกแบบงานกราฟิกดว้ ยเทคโนโลยี 7. การประยกุ ต์ใช้งานคอมพิวเตอร์กราฟกิ สมรรถนะประจำหนว่ ย 1. แสดงความรู้เก่ยี วกับหลักการทางคอมพิวเตอร์กราฟิก 2. สรา้ งงานกราฟิกจากการประยุกตใ์ ชห้ ลักการทางคอมพวิ เตอร์กราฟิก จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม 1. บอกความเปน็ มาของศิลปะกับคอมพิวเตอร์กราฟิกได้ 2. บอกความหมายและคุณสมบัติของงานออกแบบกราฟิกได้ 3. แยกแยะประเภทและองค์ประกอบของงานออกแบบกราฟกิ ได้ 4. อธิบายหลกั การทำงานของภาพและไฟลง์ านกราฟกิ ได้ 5. ใชส้ แี ละแสงในงานคอมพวิ เตอร์กราฟกิ ได้ ผเู้ รยี บเรียง นางนติ ยา เสาหงษ์ ครูชำนาญการ วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาเทคโนโลยฐี านวทิ ยาศาสตร์ (ชลบุรี)

หนว่ ยที่ 3 ศิลปะกับคอมพิวเตอร์กราฟิก ห น้ า | 3 6. ออกแบบงานกราฟกิ ดว้ ยเทคโนโลยีได้ 7. อธบิ ายการประยุกตใ์ ชง้ านคอมพวิ เตอรก์ ราฟิกได้ 8. มีคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์และเจตคติทด่ี ีในการเรียนวิชาชีพคอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1.ความรบั ผดิ ชอบ 2.ความมีวินยั 3.ความสนใจใฝร่ ู้ 4.การมจี ติ อาสา 5.จรรยาบรรณตอ่ การใชเ้ ทคโนโลยี (เกณฑก์ ารประเมนิ ตามขอ้ กำหนดสถานศึกษาคณุ ธรรมของวิทยาลัย) กิจกรรมการเรยี นการสอน ขน้ั ตอนการ สอนครัง้ ที่ 3 สัปดาหท์ ่ี 3 ชั่วโมงท่ี 7 - 9 เวลาทใ่ี ช้ เรียนการสอน กจิ กรรมการเรียนการสอน 5 นาที ข้นั นำ 15 นาที 1. ครูช้แี จงวธิ กี ารเรยี นรู้ ระยะเวลาทท่ี ำการเรียนการสอน หลักการ 20 นาที ข้ันสอน แนวทางการเรยี น และการวัดประเมินผลการเรียน 1. ครใู ห้นักเรียนทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี นหนว่ ยที่ 3 จำนวน 14 ขอ้ 60 นาที 2.ครเู ปิดประเด็นให้นกั เรยี นรว่ มสนทนาแลกเปลย่ี นเรียนรใู้ นประเด็น 40 นาที เรื่อง “การนำคอมพิวเตอร์มาสร้างสรรค์งานศิลปะ”พร้อมสรุป 10 นาที ประเด็นสำคัญทไี่ ดจ้ ากการสนทนาแลกเปล่ยี นเรยี นรู้” 3.ครูอธิบายเน้ือหารายวชิ าโดยสือ่ มัลติมีเดยี ประจำหน่วยการเรียนรู้ เรอ่ื งศิลปะกบั คอมพิวเตอร์กราฟกิ 4. ครใู ห้นักเรียนทำแบบฝกึ หดั ประจำหนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 3 5. ครูแบ่งผู้เรียนออกเป็นกลุ่ม ๆ ละ 2 คน และมอบหมายงานให้ นักเรียนไปตามสถานที่ แหล่งชุมชน ท้องถิ่นที่นักเรียนอาศัยอยู่ ศึกษาเรื่องการใช้กราฟิกสำหรับการออกแบบผลิตภัณฑ์ เช่น บรรจุ บรรจภุ ัณฑ์ หีบห่อ ช่องทางในการประชาสมั พนั ธก์ ารเผยแพร่ ผเู้ รยี บเรยี ง นางนติ ยา เสาหงษ์ ครูชำนาญการ วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาเทคโนโลยีฐานวทิ ยาศาสตร์ (ชลบรุ ี)

หน่วยที่ 3 ศลิ ปะกับคอมพวิ เตอร์กราฟิก ห น้ า | 4 ขนั้ ตอนการ กิจกรรมการเรยี นการสอน เวลาที่ใช้ เรียนการสอน ขน้ั สอน (ตอ่ ) ผลิตภัณฑ์ชุมชน ป้ายโฆษณา แผ่นพับ โปสเตอร์และจัดทำเป็น 20 นาที รปู เล่มรายงานเสนอครผู ู้สอนในการเรียนครงั้ ตอ่ ไป 10 นาที ขน้ั สรปุ 1. ครูและนักเรยี นสรปุ เนื้อหาประจำหนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 3 เรื่องที่ 1 - เวลาทใ่ี ช้ 4 ดว้ ยการตงั้ คำถามและให้เหตุผลในการตอบคำถามในแต่ละเนื้อหา 5 นาที ขั้นประเมนิ ผล เพ่ือทบทวนอีกครั้ง 20 นาที 1. ครูตรวจแบบฝึกหดั ประจำหน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 ขนั้ ตอนการ 30 นาที เรยี นการสอน สอนครง้ั ท่ี 4 สัปดาห์ท่ี 4 ช่ัวโมงท่ี 10 - 12 40 นาที ขั้นนำ กิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นสอน 20 นาที 1. ครูอา่ นรายชอื่ ให้ผเู้ รยี นท่ีมาขานรบั 30 นาที 1. ครูเปิดประเด็นคำถาม เพื่อเชื่อมประสบการณ์เดิมไปสู่ ประสบการณ์ใหม่ โดยใช้สื่อมัลติมีเดียประจำหน่วยการเรียนรู้เรื่อง ความเป็นมาของศิลปะกับคอมพิวเตอร์กราฟิก, ความหมายและ คุณสมบัติของงานออกแบบกราฟิก,ประเภทและองค์ประกอบของ งานออกแบบกราฟิกและหลักการทำงานของภาพและไฟล์งาน กราฟิก 2.ครูให้นักเรียนแตล่ ะกลุ่มนำเสนอผลงานการศึกษารูปแบบ ผลติ ภัณฑต์ ามทม่ี อบหมายในการเรยี นสัปดาหท์ ี่ผ่านมา 3.ครูอธิบายและสาธิตเนื้อหารายวิชาโดยใช้สื่อมัลติมีเดียประจำ หน่วยการเรียนรู้เรื่องหลักการใช้แสงและสีในงานคอมพิวเตอร์ กราฟกิ ,โปรแกรมสำหรับออกแบบงานกราฟกิ และการนำงานกราฟิก ไปประยกุ ต์ใช้ในงานตา่ ง ๆ 4. ครูใหน้ กั เรยี นทำใบงานประจำหน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3.1 5. ครูใหน้ ักเรยี นทำใบงานประจำหนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 3.2 ขน้ั สรปุ 1. ครูและนักเรยี นสรุปเน้ือหาทเ่ี รยี นด้วยการตัง้ คำถาม และให้ 15 นาที 20 นาที เหตุผลในการตอบคำถามในแตล่ ะเนือ้ หาเพอ่ื ทบทวนอกี ครงั้ ขน้ั ประเมินผล 1. ครตู รวจใบงานประจำหน่วยการเรียนรู้ 3.1 และ 3.2 ผเู้ รยี บเรยี ง นางนติ ยา เสาหงษ์ ครูชำนาญการ วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาเทคโนโลยฐี านวทิ ยาศาสตร์ (ชลบรุ ี)

หนว่ ยที่ 3 ศลิ ปะกบั คอมพวิ เตอร์กราฟิก ห น้ า | 5 สอื่ การเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนวชิ าองค์ประกอบศลิ ปส์ ำหรบั งานคอมพิวเตอร์ หนว่ ยที่ 3 2. กจิ กรรมประจำหน่วยการเรยี นรหู้ นว่ ยท่ี 3 3. สอ่ื มลั ติมเี ดยี ประจำหนว่ ยการเรียนรู้ที่ 3 4. เครื่องคอมพิวเตอรแ์ ละระบบอินเตอรเ์ น็ต Dki การวดั และประเมนิ ผล วธิ กี ารวดั ผล 1. ทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี นและแบบทดสอบหลังเรียน 2. ทำแบบฝึกหัดและใบงานประจำหน่วยการเรียนรู้ 3. สงั เกต คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคข์ องนกั เรียน เครือ่ งมือวดั ผล 1. แบบทดสอบกอ่ นเรยี นและแบบทดสอบหลงั เรยี น 2. แบบประเมนิ ผลการปฏิบัติงาน 3. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จริยธรรมและคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 4. แบบประเมินผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น ผเู้ รยี บเรยี ง นางนติ ยา เสาหงษ์ ครชู ำนาญการ วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาเทคโนโลยฐี านวทิ ยาศาสตร์ (ชลบุรี)

หนว่ ยที่ 3 ศิลปะกับคอมพิวเตอรก์ ราฟกิ ห น้ า | 6 ความเป็นมาของศิลปะกบั คอมพวิ เตอร์กราฟกิ ศิลปะกับคอมพวิ เตอร์ หรือ Computer Art หมายถงึ งานศลิ ปะอันเกิดจากการผลิตของเคร่ือง คอมพวิ เตอร์ใน ค.ศ. 1935 อลนั ทูร่ิง ได้สร้างจกั รกลการคำนวณนี้เรียกวา่ “ทูริ่ง แมชชนี ” ซ่งึ มุง่ เนน้ การ คำนวณ ต่อมาทูรง่ิ ไดพ้ ัฒนามาเปน็ คอมพิวเตอร์เรยี กว่า ACE (Automatic Computing Engine ) ในยคุ แรกคอมพิวเตอร์เริ่มใช้หลอดสูญญากาศแทนวงจรในการคำนวณ ต่อมาในทศวรรษที่ 1950 ได้มีการ สร้างทรานซิสเตอร์ที่มีขนาดเล็กแทนหลอดสูญญากาศ ซึ่งคอมพวิ เตอร์ในยุคนั้นมขี นาดเล็ก การทำงาน ของคอมพิวเตอร์จึงมุ่งเน้นการใช้ประโยชน์ทางด้านคณิตศาสตร์ ด้านวิทยาศาสตร์ ด้านการแพทย์ ด้าน การทหาร ในด้านศิลปะได้ปรากฏแก่สายตาครั้งแรก ในการเปิดตัวของงานนิทรรศการคอมพิวเตอร์ กราฟิก ต่อมามิเชล นอล ได้ผลิตศิลปะคอมพิวเตอร์ขึ้นได้ร่วมการแสดงศิลปะคอมพิวเตอร์ในนคร นิวยอร์ก งานของได้แสดงรูปโค้งท่ีซ้ำ ๆ กัน ซึ่งงานของเขามีลักษณะคล้ายกับงาน OPARE หรือการ สร้างสรรค์งานศิลปะที่ต่อเนื่องกันซึ่งคอมพิวเตอร์มีบทบาทในทุก ๆ วงการของสังคมและบทบาทที่ สำคัญ คือ ด้านที่เกี่ยวกับศิลปะจะเป็นด้านการประยุกต์ใชเ้ พื่อการออกแบบ การใช้คอมพิวเตอร์ในการ สร้างงานศิลปะทั้งด้านวิจิตรศิลป์และประยุกต์ศิลป์ที่มีตั้งแต่งานด้านทัศนศิลป์ ด้านดนตรี ด้าน ศิลปะการแสดง ด้านสถาปัตยกรรม รวมถึงด้านนันทนาการด้วย การประยุกต์สร้างงานศิลปะด้วย คอมพวิ เตอรม์ จี ุดเดน่ คือ ชว่ ยใหศ้ ลิ ปะสามารถออกแบบต่าง ๆ ไดอ้ ย่างรวดเร็ว ถกู ต้องแม่นยำ สามารถ เปลย่ี นแปลงแกไ้ ขได้ แบบทสี่ ร้างขึ้นโดยคอมพิวเตอรจ์ ะมีความแปลกตาน่าสนใจ เพราะสามารถสร้างได้ ทั้งภาพนิ่งและภาพเคลือ่ นไหว รวมถึงการสร้างเสียงตา่ ง ๆ ประกอบในผลงานศิลปะได้อีกด้วย (กุลนิดา เหลอื บจำเริญ, 2552) การวาดภาพในปัจจุบันสามารถวาดได้แล้วโดยไม่ต้องใช้พู่กันกับจานสี แต่จะใช้คอมพิวเตอร์ กราฟิกแทนภาพที่วาด ในระบบคอมพิวเตอร์กราฟิกนี้สามารถกำหนดสีแสง เงา รูป แบบลายเส้นที่ ตอ้ งการได้โดยงา่ ย ภาพโฆษณาทางโทรทศั นห์ ลายชิ้นก็เปน็ งานจากการใช้คอมพิวเตอร์กราฟิก ข้อดีของ การใช้คอมพิวเตอร์วาดภาพก็คือ สามารถแก้ไขเพิ่มเติมส่วนที่ต้องการได้ง่าย นอกจากนี้ยังสามารถนำ ภาพตา่ ง ๆ เก็บในระบบคอมพิวเตอร์ได้โดยใช้เครื่องสแกนเนอร์ (Scanner) แลว้ นำภาพเหล่าน้ันมาแก้ไข ภาพยนตร์ประเภทการ์ตูนและนิยายวิทยาศาสตร์ หรือภาพยนตร์ที่ใช้เทคนิคพิเศษต่าง ๆ ใน ปัจจุบันมีการนำคอมพิวเตอร์กราฟิกเข้ามาช่วยในการออกแบบและสร้างภาพเคลื่อนไหว (Computer Animation) มากขึ้น เช่น ภาพยานอวกาศที่ปรากฏอยู่ในภาพยนตร์ประเภทนิยายวิทยาศาสตร์ การใช้ คอมพวิ เตอร์กราฟกิ ช่วยใหภ้ าพท่อี ย่ใู นจติ นาการของมนษุ ยส์ ามารถนำออกมาทำใหป้ รากฏเปน็ จรงิ ได้ ศิลปะกับงานด้านคอมพิวเตอร์กราฟิกจึงมีประโยชน์มากทั้งในระบบการศึกษา การอบรม การ วจิ ัยและการจำลองการทำงาน เช่น จำลองการขบั รถ การขบั เครอื่ งบนิ เกมคอมพิวเตอร์หรือวิดโี อเกม ก็ ใช้หลักการทำเคล่ือนไหวจงึ มีประโยชน์มากท้งั ในระบบการศึกษา การอบรม การวิจยั และการจำลองการ ผเู้ รยี บเรียง นางนติ ยา เสาหงษ์ ครูชำนาญการ วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาเทคโนโลยีฐานวทิ ยาศาสตร์ (ชลบุรี)

หนว่ ยที่ 3 ศิลปะกับคอมพิวเตอรก์ ราฟิก ห น้ า | 7 ทำงาน เช่น จำลองการขับรถ การขับเครื่องบิน เกมคอมพิวเตอร์หรือวิดีโอเกม ก็ใช้หลักการทำ ภาพเคลอ่ื นไหวในคอมพวิ เตอร์กราฟิก 2. ความหมายและคุณสมบตั ขิ องงานออกแบบกราฟิก 2.1 ความหมายของงานออกแบบกราฟิก กราฟิก (Graphic) มาจากคำในภาษากรกี 2 คำ ได้แก่ Graphikos หมายถึง การเขียนภาพสีและ ภาพขาวดำ กับคำว่า Graphein ที่หมายถึง การเขียนด้วยตัวหนังสือและการสื่อความหมายโดยการใช้ เส้น ซ่งึ ตอ่ มามผี ู้ให้ความหมายของคำว่า “กราฟกิ ” ไวห้ ลายประการ แต่พอจะสรปุ ได้ว่า กราฟิก (Graphic) หมายถึง งานที่ต้องการแสดงความจริงหรือความคิดผ่านการสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายได้ ถูกต้องตรงตามที่ผู้สื่อสารต้องการ โดยปกติแล้วงานทางด้านกราฟิกจะแสดงผลให้เห็นในลักษณะของ ภาพท่ีเรียกวา่ ภาพกราฟิก 2 ประเภท ได้แก่ 2.1.1 ภาพกราฟกิ แบบ 2 มิติ (2 Dimension: 2D) เป็นภาพท่คี ุ้นเคยและพบเหน็ โดยท่ัวไป เช่น ภาพถ่าย ภาพวาด ภาพลายเสน้ สัญลักษณ์ โลโก้ กราฟ รวมถงึ การ์ตูนต่าง ๆ ในโทรทัศน์ ฯลฯ 2.1.2 ภาพกราฟิกแบบ 3 มิติ (3 Dimension: 3D) เป็นภาพกราฟิกที่ใช้โปรแกรมสร้างภาพ 3 มิติ โดยเฉพาะ เช่น โปรแกรม 3Ds Max โปรแกรม Maya เป็นต้น ภาพที่ได้จะมีสีและแสงเงาที่เสมือน จริง ซึง่ ภาพลกั ษณะนี้สามารถแสดงได้ในภาพยนตร์หรือการต์ ูนแอนเิ มชั่น 3 มิติ เป็นตน้ คอมพิวเตอร์กราฟิก (Computer Graphics) หมายถึง การใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในการ จัดการรูปภาพ โดยการสร้าง ตกแต่งแก้ไข และนำเสนอภาพกราฟิกผ่านจอภาพ หรือพิมพ์ออกมาผ่าน เครือ่ งพมิ พ์ ท่สี ามารถสือ่ ความหมายไดต้ รงตามทผ่ี ูส้ อ่ื สารต้องการ 2.2 คณุ สมบัติของงานกราฟิก ในปัจจุบันคอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทในการสร้างงานประเภทกราฟิก ไม่ว่าจะเป็นการ นำมาใช้ในการสร้างภาพ วาดภาพ ตกแต่งภาพ รวมถึงการนำมาผลิตสื่อดา้ นมัลติมีเดีย ซึ่งงานกราฟิกมี คุณสมบัตเิ ด่น ดังนคี้ ือ 2.2.1 งานกราฟิกช่วยใหเ้ ขา้ ใจง่ายขน้ึ เพราะการสื่อสารดว้ ยภาพสามารถสอ่ื ความหมายไดด้ ีและ ลึกซึ้งกว่าคำพูดและข้อความภาษาเขียน อีกทัง้ ภาพเพยี งหนึง่ ภาพยังก่อให้เกิดจินตนาการตามมุมมองที่ แตกต่างกันของแต่ละคน ตัวอย่างเช่น สื่อการสอนกราฟิกมัลติมีเดียที่แสดงขั้นตอนการทำงานของ คอมพิวเตอร์ เพือ่ ใหผ้ ้เู รยี นเกิดความเขา้ ใจในกลไกการทำงานมากข้นึ 2.2.2 งานกราฟิกช่วยดึงดูดความสนใจ เพราะงานกราฟกิ มีความสวยงาม สะดุดตา น่าติดตาม ทั้งยังช่วยดึงดูดและสร้างความประทับใจแก่ผู้พบเห็นมากกว่าคำบอกเล่าหรือคำอธิบาย โดยเฉพาะส่ือ ผเู้ รยี บเรยี ง นางนิตยา เสาหงษ์ ครูชำนาญการ วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาเทคโนโลยฐี านวทิ ยาศาสตร์ (ชลบรุ ี)

หน่วยที่ 3 ศิลปะกับคอมพิวเตอร์กราฟิก ห น้ า | 8 โฆษณาต่าง ๆ หากมีการนำงานกราฟิกมาใชผ้ ่านการจัดองค์ประกอบท่ีเหมาะสม จะช่วยดึงดูดใหล้ ูกค้า เกิดความสนใจในสินคา้ ได้งา่ ยข้ึน 2.2.3 งานกราฟกิ ชว่ ยในการจดจำไดด้ ีกวา่ อาจเปน็ เพราะธรรมชาตขิ องมนษุ ยจ์ ะมคี วามสามารถ ในการจดจำขอ้ มลู ในลกั ษณะของภาพไดด้ กี ว่าขอ้ มลู ประเภทข้อความหรอื ตัวเลข ตัวอย่างเช่น การนำงาน กราฟิกแอนเิ มช่ันมาประกอบคำอธิบายวธิ ีการประกอบเคร่ืองคอมพิวเตอรแ์ ละตดิ ตงั้ โปรแกรม จะช่วยทำ ใหผ้ ู้เรยี นเขา้ ใจขัน้ ตอนและสามารถฝึกปฏิบตั ไิ ด้อย่างถูกตอ้ ง งานออกแบบงานกราฟกิ คอื งานศลิ ปะแขนงหนง่ึ ในงานประยุกตศ์ ลิ ปแ์ ละงานพาณชิ ย์ศิลป์ เน้น เนื้อหาในด้านการสื่อสารเป็นสำคัญ สามารถสื่อความหมายที่ต้องการบอกถึงผู้ชม ไม่จำกัดว่าจะเป็น ภาพวาด ภาพเชงิ สญั ลกั ษณ์ รวมถงึ ภาพถา่ ย งานออกแบบกราฟิกจงึ นับเปน็ งานศิลปะท่ีมีเทคนิคในการ สร้างสรรค์ได้หลากหลาย ในอดีตงานออกแบบกราฟิกสว่ นใหญ่ออกแบบโดยการวาดภาพเป็นหลัก หรือ อาจใช้ผสมผสานกันร่วมกับงานภาพถ่ายเพื่อสือ่ สารในสิ่งท่ีจะบอกเล่าผ่านงานออกแบบกราฟิกที่เหน็ ได้ งา่ ยและบ่อยทีส่ ดุ เช่น ปา้ ยสญั ลักษณต์ ่าง ๆ งานออกแบบโปสเตอร์และแผ่นพับ ซึ่งในความเป็นจริงงาน กราฟิกได้ถือกำเนิดมายาวนาน จากหลักฐานที่พบคือ ศิลปะเขียนสีบนผนังถ้ำ ศิลปะลายเส้นของชาว อียิปต์ ต่อมาชาวกรีกได้พัฒนามาร่วมกับการเขียนรูปทรงเรขาคณิต ผลงานเหล่าน้ีนับเป็นการออกแบบ ทั้งสิ้น จึงถือได้ว่างานออกแบบกราฟิกมีอทิ ธิพลต่อมนษุ ย์ในหลายช่วงอายุคนอย่างต่อเนื่องยาวนานมา จนถึงปจั จุบนั 3. ประเภทและองคป์ ระกอบของงานออกแบบกราฟิก 3.1 ประเภทของงานกราฟกิ งานออกแบบงานกราฟิกใด ๆ ย่อมมวี ตั ถปุ ระสงคแ์ ละเปา้ หมายทแี่ ตกต่างกนั ไป ลักษณะเฉพาะ ของงานหรอื เงอื่ นไขต่าง ๆ ของงานและวิธกี ารดำเนินงานตอ้ งสอดคล้องกบั ปัจจัยทกุ ด้านในการสรา้ งงาน ออกแบบจึงควรศึกษาถงึ องค์ประกอบสำคัญหลาย ๆ ดา้ น แนวทางในการคดิ งานกราฟิกจะแปรเปล่ียนไป ตามลกั ษณะของสือ่ หรืองานแตล่ ะประเภท โดยสามารถจำแนกได้ดงั น้ี 3.1.1 งานกราฟฟกิ บนสอื่ โฆษณาสิง่ พิมพ์ งานกราฟฟิกบนสื่อโฆษณาสิ่งพิมพ์ คือ สื่อโฆษณามีหลายประเภทโดยเฉพาะอย่างยิ่งงานด้าน สงิ่ พิมพ์ ปจั จบุ นั ในวงการธรุ กิจนิยมใช้เปน็ ส่ือประเภทน้ีคอ่ นข้างสงู เพอื่ ชว่ ยในการสง่ เสริมการขาย เพ่ิม การตลาด วิธีในการสร้างสื่อสิ่งพิมพ์มีมากมายและตัวสื่อสิ่งพิมพ์เองก็มีการพัฒนาตัวเองใ ห้ทันกับ เทคโนโลยใี หม่ ๆ ท่ีเขา้ มา จึงชว่ ยสง่ เสรมิ แนวทางในงานออกแบบงานกราฟกิ และเทคนิคในการออกแบบ ไดเ้ ปน็ อย่างดี สอื่ โฆษณามอี ยู่หลายประเภทด้วยกนั แต่ทใ่ี ช้กนั มากเปน็ เรอื่ งรูปแบบของการออกแบบสื่อ ทน่ี ่าสนใจ ได้แก่ ผเู้ รียบเรียง นางนิตยา เสาหงษ์ ครชู ำนาญการ วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาเทคโนโลยีฐานวทิ ยาศาสตร์ (ชลบุรี)

หนว่ ยท่ี 3 ศิลปะกบั คอมพวิ เตอรก์ ราฟิก ห น้ า | 9 3.1.1.1 แผ่นป้ายโฆษณาหรือโปสเตอร์ (Poster) เป็นสื่อที่มีบทบาทอย่างมากในการ ประชาสัมพันธ์ เพราะเปน็ สอ่ื ทีส่ ามารถเผยแพร่ไดส้ ะดวก กว้างขวางและสามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้ ทุกพื้นท่ี ส่ือสารกับผบู้ รโิ ภคได้ทกุ เพศ ทุกวัย ทุกระดับการศึกษา มคี วามยดื หยุ่นในตัวของสอ่ื ได้เป็นอย่าง ดี แผ่นปา้ ยโฆษณาสามารถนำเสนอขอ้ มูลรายละเอยี ดได้มากพอสมควร ผลิตงา่ ย ใช้สะดวก จงึ เป็นท่นี ยิ ม ตลอดมา ดังตวั อยา่ งภาพท่ี 3.1 ภาพท่ี 3.1 แสดงลักษณะของแผ่นปา้ ยโฆษณาหรือโปสเตอร์ ท่ีมา : สันติ มารัตน,์ ออนไลน์, 2563 3.1.1.2 แผ่นพับ (Floders) จัดว่าเป็นสิ่งพิมพ์ประเภทที่ผู้ผลิตส่งตรงถึงผู้บริโภคทั้งวธิ ีการ ทางไปรษณยี ์และแจกตามสถานที่ตา่ ง ๆ ไปยังกลุ่มเป้าหมายได้ตามตอ้ งการ ซง่ึ ลักษณะเด่นของแผ่นพับ คือ มีขนาดเล็ก หยิบง่าย ให้ข้อมูลรายละเอียดได้มากพอสมควร หลากหลายและสวยงาม ในงาน ออกแบบงานกราฟิกในแต่ละหน้า ไม่ควรให้แน่นจนเกินไป การจัดระเบียบของข้อความและจัดวาง ภาพประกอบต้องให้สอดคล้องสัมพันธ์กัน ใช้หลักการทางองค์ประกอบศิลป์ช่วยแก้ปัญหา และต้อง พถิ พี ิถนั มากเป็นพเิ ศษ เพราะผู้ดมู โี อกาสพิจารณาได้นานและอาจดูได้หลายครัง้ แผ่นพบั ควรพับง่ายและ มคี วามน่าสนใจ ดงั ตัวอย่างภาพที่ 3.2 ภาพท่ี 3.2 แสดงลักษณะของแผน่ พบั ที่มา : สนั ติ มารตั น,์ ออนไลน์, 2563 ผเู้ รียบเรียง นางนิตยา เสาหงษ์ ครชู ำนาญการ วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาเทคโนโลยฐี านวทิ ยาศาสตร์ (ชลบรุ ี)

หนว่ ยท่ี 3 ศลิ ปะกับคอมพวิ เตอร์กราฟิก ห น้ า | 10 3.1.1.3 แผ่นปลวิ (Leaflets) แผน่ ปลิวเปน็ สอ่ื ทม่ี ีคา่ ใช้จ่ายในการผลิตถกู ท่ีสุด สามารถผลิต ได้ครั้งละมาก ๆ จึงได้รับความนิยมในการนำมาเป็นสื่อเพื่อเป็นการสื่อสาร เพื่อให้ถึงกลุ่มเป้าหมายได้ อย่างกว้างขวาง รปู แบบและลีลาของการออกแบบนำเสนอสาระข้อมลู ของแผน่ ปลิวไม่มีขดี จำกดั นยิ มใช้ กระดาษขนาด A4 ดังตวั อย่างภาพท่ี 3.3 ภาพที่ 3.3 แสดงลกั ษณะของแผ่นปลวิ ท่มี า : Canva, ออนไลน์, 2563 3.1.1.4 บัตรเชิญ (Cards) เป็นสื่อโฆษณาอีกประเภทหนึ่งที่มีบทบาทในการโฆษณา ประชาสัมพันธ์งานออกแบบงานกราฟิกด้านบัตรเชิญมอี ย่างกว้างขวาง สามารถสรา้ งสรรค์รปู แบบใหม่ ๆ ที่จะท้าทายให้ผู้ได้รับเชิญเกิดความรู้สึกอยากรู้อยากเห็น อยากสัมผัส บัตรเชิญอาจเรียกได้ว่า เป็นส่ือ เฉพาะกิจท่ีใช้ในโอกาสที่สำคัญ ดังนั้นการออกแบบบัตรเชิญจะต้องมคี วามประณีต สวยงาม มีคุณค่าสูง ในด้านศิลปะ เนื่องจากต้องการดึงดูดชักจูงให้เกิดความรู้สึกคล้อยตาม การออกแบบบัตรเชิญสามารถ ตอบสนองแนวคิดสร้างสรรค์ของผู้ออกแบบได้เปน็ อยา่ งดี อาจมลี กั ษณะเป็นแผ่นพับ 2 พับ หรือทำเป็น แบบสามมิติก็ไดแ้ ลว้ แต่ความเหมาะสมกบั งานน้ัน ๆ ดงั ตัวอยา่ งภาพท่ี 3.4 ภาพท่ี 3.4 แสดงลกั ษณะของบัตรเชญิ ทีม่ า : pngtree, ออนไลน์, 2563 ผเู้ รยี บเรียง นางนติ ยา เสาหงษ์ ครชู ำนาญการ วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาเทคโนโลยฐี านวทิ ยาศาสตร์ (ชลบุรี)

หนว่ ยที่ 3 ศิลปะกบั คอมพิวเตอร์กราฟิก ห น้ า | 11 3.1.2 การออกแบบเคร่อื งหมายและสญั ลกั ษณ์ ส่ือท่เี ปน็ ภาพสัญลกั ษณ์หรือเคร่ืองหมายภาพ เปน็ สอ่ื ท่มี บี ทบาทอยา่ งมากในชีวิตประจำวัน ถ้า มองไปรอบ ๆ ตัวจะเห็นเครื่องหมายภาพที่ปรากฏอยู่ทั่วไป การนำหลักทฤษฎีมาประยุกต์ในการ ออกแบบสื่อสญั ลกั ษณ์ นักออกแบบจะตอ้ งใช้ความรู้ความสามารถอย่างยิ่งในการวิเคราะห์เน้ือหาของสิ่ง ที่จะต้องการสื่อความหมายและสังเคราะห์ให้เป็นรูปลักษณ์ที่ใช้เป็นสิ่งแทนอันสามารถที่จะบอกได้ถึง ความหมายทั้งยังต้องใช้ในการเขียนภาพ หรือผลิตภาพสัญลักษณ์ได้อย่างประณีต คมชัดเพื่อเป็นส่ือ ความหมายได้อย่างถูกต้องชดั เจน ในการออกแบบสัญลกั ษณ์ให้บรรลุเป้าหมาย นักออกแบบควรคำนงึ ถึงหลักสำคัญ 3 ประการ 1. ความหมายของสัญลกั ษณ์จะตอ้ งเกยี่ วกบั สนุ ทรียภาพ (Aesthetic Form) คือความงดงาม ของรูปแบบสญั ลกั ษณไ์ ม่ว่าจะเป็นการสร้างภาพเลียนแบบธรรมชาติ (Representation) หรอื ภาพ นามธรรม (Abstract) 2. ต้องเหมาะสมกบั กาลเวลายุคสมัย ควรหลกี เล่ยี งส่งิ ท่ีเป็นความนยิ มช่วั คราว 3. ต้องนำไปใชป้ ระโยชน์ได้หลายประการ สามารถลอกเลียนด้วยวธิ ีตา่ ง ๆ เชน่ การยอ่ หรอื ขยายได้ ดงั ตัวอย่างภาพที่ 3.5 ภาพที่ 3.5 แสดงลักษณะของการออกแบบเครื่องหมายและสัญลกั ษณ์ ที่มา : เศษฐกานต์ อนุวาตวงศ,์ ออนไลน์, 2563 3.1.3 งานกราฟิกบรรจภุ ณั ฑ์ บรรจุภัณฑ์มีหนา้ ท่หี ลกั คือ เป็นตัวภาชนะสำหรับบรรจุสินคา้ มหี ลายรูปแบบแตกต่างกันไป ตามลักษณะของสินค้า เชน่ หีบ ห่อ กลอ่ ง ขวด ลงั กระปอ๋ ง ฯลฯ บรรจุภัณฑ์จะมขี นาดต่าง ๆ ตามขนาด ทบ่ี รรจุสนิ คา้ การออกแบบบรรจภุ ัณฑแ์ บง่ เป็นกลุ่มใหญ่ ๆ ได้ 3 กลมุ่ คอื 3.1.3.1 บรรจุภัณฑ์สำหรับค้าปลีก มักออกแบบสวยงาม สะดวกในการใช้สอย น่าใช้ บาง ชนดิ จะเน้นความสวยงามเปน็ พิเศษ จะมีรายละเอียดของสินคา้ บรรจุอยู่ภายใน 3.13.2 บรรจุภัณฑ์เพื่อการค้าส่ง เป็นบรรจุภัณฑ์ที่ออกแบบมาสำหรับบรรจุสินค้าจำนวน มาก ๆ การกำหนดรายละเอียดจะแตกต่างออกไป ผเู้ รียบเรยี ง นางนติ ยา เสาหงษ์ ครชู ำนาญการ วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาเทคโนโลยฐี านวทิ ยาศาสตร์ (ชลบุรี)

หนว่ ยท่ี 3 ศลิ ปะกบั คอมพิวเตอร์กราฟิก ห น้ า | 12 3.1.3.3 บรรจุภัณฑ์เพื่อการขนส่ง จะเน้นในเรื่องความสะดวก ความปลอดภัย และความ ประหยัดในการขนส่ง การออกแบบฉลากของบรรจุภณั ฑ์จะตอ้ งอยู่ภายใต้เงื่อนไขและข้อกำหนดหลาย อย่าง นักออกแบบมักจะต้องสร้างภาพลักษณ์ของตัวสินค้าให้เกิดความน่าเชื่อถือ สวยงาม ส่วนการ ออกแบบหบี หอ่ บรรจุภัณฑ์ก็มีจุดประสงค์อย่างเดียวกนั กับฉลากสนิ คา้ แต่มีจดุ เด่นคอื เพ่ือความสะดวก ในการขนส่ง พอจะสรุปได้ว่า งานออกแบบกราฟิก คือ การสร้างสรรค์สิ่งใหม่และการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ของเดิมให้ดีขึ้น ด้วยการใช้หลักการจัดองค์ประกอบทางศิลปะ โดยมีเครื่องมือสำคัญคือโปรแกรม ออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟกิ 3.2 องค์ประกอบของงานออกแบบกราฟิก องค์ประกอบของงานออกแบบงานกราฟกิ เป็นส่วนสำคัญทจ่ี ะสรา้ งสรรค์ความสุนทรียภาพบน งานออกแบบ มีองคป์ ระกอบอยู่ 2 ส่วน คอื 3.2.1 อักษรและตัวพมิ พ์ ตวั อกั ษรจะทำหน้าทเ่ี ป็นสว่ นแจกแจงรายละเอยี ดของขอ้ มูลสาระท่ตี อ้ งการนำเสนอดว้ ยรูปแบบ และการจัดวางตำแหน่งอย่างสวยงาม มีความชัดเจน การออกแบบ การเลือกแบบตลอดจนการกำหนด รปู แบบของตัวอักษรที่จะนำมาใช้ ต้องมลี ักษณะเดน่ อ่านง่าย สวยงาม นา่ สนใจ ลักษณะท่ีแตกต่างของ ตัวอักษร จึงต้องกำหนดตามสภาวะการนำไปใช้ โดยแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่เป็นหัวเรื่องหรือ ชื่อสินค้า จะต้องเน้นความโดดเด่นของรูปแบบมากที่สุดและส่วนที่เป็นข้อความหรือเนื้อหา ที่ต้องการ แสดงรายละเอียดตา่ ง ๆ นิยมใชต้ วั อักษรท่ีมรี ปู แบบเรียบง่ายสะดวกในการอา่ นมากที่สดุ ในการเลือกใช้ตัวอักษรให้มีความเหมาะสมกับงานที่ออกแบบ ผู้ออกแบบควรได้พิจารณาถึง รูปแบบตัวอักษร ขนาดตัวอักษร รูปร่างลักษณะของตัวอักษร การกำหนดระยะห่างและพื้นที่ว่าง การ กำหนดสี และการจดั วางตำแหนง่ ให้มคี วามสมดุลเหมาะสมพอดี 3.2.2 ภาพและสว่ นประกอบตกแต่งภาพ ภาพและสว่ นประกอบตกแตง่ ภาพ ทตี่ อ้ งการเน้นใหเ้ กิดคุณค่าทางความงาม ซ่ึงจะทำหนา้ ทใี่ น การถ่ายทอดจินตนาการออกมาเป็นรูปแบบและนำเสนอแนวคิดให้เปน็ รปู ภาพตามความคดิ ของตน เพื่อ ต้องการให้เกิดประสิทธิผลในการสื่อสารมากที่สุด งานออกแบบที่ดีควรนำภาพมาใช้ให้เหมาะสมกับ โอกาสและหนา้ ท่อี ยา่ งกลมกลืน คือ 3.2.2.1 เมอ่ื ตอ้ งการดึงดดู ความสนใจ 3.2.2.2 เม่อื ต้องการใชป้ ระกอบการอธบิ ายความรู้ 3.2.2.3 เมอื่ ตอ้ งการคำอธบิ ายความคิดรวบยอด 3.2.2.4 เมอ่ื ตอ้ งการอ้างองิ สงิ่ ทป่ี รากฏขนึ้ จริง 3.2.2.5 เมื่อตอ้ งการใช้ประกอบขอ้ มูลทางสถติ ิ ผเู้ รยี บเรยี ง นางนิตยา เสาหงษ์ ครูชำนาญการ วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาเทคโนโลยีฐานวทิ ยาศาสตร์ (ชลบรุ ี)

หน่วยท่ี 3 ศลิ ปะกบั คอมพวิ เตอร์กราฟกิ ห น้ า | 13 3.3 หลกั การจัดองค์ประกอบของงานกราฟกิ ได้แก่ 3.3.1 จัดให้เป็นเอกภาพ หมายถึง สิ่งที่ช่วยทำให้ชิ้นงานเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ซึ่งต้อง ขน้ึ อย่กู ับวตั ถปุ ระสงคน์ นั้ ๆ ความเปน็ เอกภาพจะครอบคลมุ ถงึ เรอ่ื งของความคดิ และการออกแบบ 3.3.2 ดุลยภาพในงานกราฟกิ เป็นเรอ่ื งของความงาม ความน่าสนใจ เปน็ การจดั ความสมดลุ กนั ทัง้ ในดา้ นรปู แบบและสี มอี ยู่ 2 ลักษณะที่สำคัญ คอื 3.3.2.1 ดลุ ยภาพในด้านรูปทรงหรอื ความเหมือนกนั ทง้ั 2 ด้าน คอื เม่ือมองดูภาพแล้ว เห็นได้ทันทีว่าภาพที่ปรากฎนั้นเท่ากัน ลักษณะภาพแบบนี้จะทำให้ความรู้สึกที่มั่นคง เป็นทางการ แต่ อาจทำให้การดึงดดู ความสนใจลดนอ้ ยลง 3.3.2.2 ดลุ ยภาพในดา้ นความร้สู ึก หรือความสมดุลท่สี องข้างไม่เหมือนกนั เป็นความ แตกต่างกันทง้ั ในดา้ นรูปแบบ สี หรอื พืน้ ผิว แต่เมอ่ื มองดูโดยรวม จะเห็นว่าเท่ากัน ไมเ่ อนเอียงไปข้างใด ข้างหนึ่ง ความสมดุลในลักษณะนี้ ทำให้เกิดความรู้สึกเคลื่อนไหว แปรเปลี่ยน ไม่เป็นทางการ และ สามารถดึงดดู ความสนใจแก่ผู้พบเห็นได้ 3.3.3 การจดั ใหม้ จี ุดสนใจ ภายในเน้ือหาทจี่ ำกัดจะตอ้ งมกี ารเน้น ณ จุดใดจุดหนง่ึ ท่เี ห็นว่ามี ความสำคัญอาจทำได้ดว้ ยภาพหรือข้อความก็ได้ โดยมหี ลักว่า “ความคดิ เดียวและจุดสนใจเดียว” การมี หลายความคิดหรอื มีจดุ สนใจหลายจุด จะทำให้การออกแบบเกิดความล้มเหลวเพราะหาจดุ เด่นชดั ไมไ่ ด้ ภาพรวมจะไมช่ ดั เจน ขาดเอกลักษณข์ องความเป็นผู้นำในตัวช้นิ งาน สำหรบั วิธกี ารท่ีจะทำใหม้ ีจดุ สนใจอาจเนน้ ดว้ ยสี ขนาด สดั ส่วนและรปู รา่ งทีแ่ ปลกกวา่ ส่วนอนื่ ๆ ในภาพ ส่วนตำแหน่งที่เหมาะสมในการวางจุดสนใจนั้นสามารถกระทำได้โดยการนำภาพมาแบ่งเป็น 3 สว่ น บรเิ วณท่เี ส้นตัดกันนนั้ ก็คอื ตำแหนง่ ท่เี หมาะสม จากผลการวจิ ัยหลาย ๆ ครง้ั พบว่า ตรงจุดตดั กันที่ มุมบนซ้ายน้ันเปน็ ตำแหน่งทด่ี ีท่ีสุด เหตุผลหนึง่ ทีส่ นับสนนุ กค็ ือ ในการอ่านหนังสือนั้น ผ้อู ่านมักอ่านจาก มุมซ้ายไปขวา และจากบนลงล่าง ฉะนั้น ตำแหน่งน้ีจะเป็นจุดแรกของสายตาท่ีมอง เพื่ออ่านหรือดูภาพ บนแผน่ ภาพน่นั เอง อาจพอสรุปได้ว่า งานกราฟิกที่ดีจะต้องทำให้เห็นถึงความคิดในการออกแบบเป็นเลิศ มีคุณค่า และความสำคัญในตัวเองที่แสดงออกได้ ดังน้ี 1. เป็นสอ่ื กลางในการสอ่ื ความหมายใหเ้ กดิ ความเข้าใจตรงกนั ถูกต้องและชดั เจน 2. สามารถทำหน้าที่เป็นสื่อเพื่อให้เกิดการเรียนรไู้ ด้เป็นอยา่ งดี 3. ช่วยทำใหเ้ กิดความนา่ สนใจ ประทับใจและนา่ เชอื่ ถือแก่ผูพ้ บเหน็ 4. ชว่ ยใหเ้ กดิ การกระตุ้นทางความคิดและการตดั สินใจไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ 5. ชว่ ยสรา้ งสรรคง์ านสัญลักษณ์ทางสงั คมและพัฒนาระบบการสื่อสารให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 6. ช่วยให้เกดิ ความคิดสร้างสรรค์ มีแนวคิดสรา้ งสรรค์สง่ิ ใหม่ ๆ อยู่เสมอ 7. ชว่ ยสง่ เสรมิ ความก้าวหน้าทางธรุ กจิ และพัฒนาประเทศ ผเู้ รยี บเรียง นางนติ ยา เสาหงษ์ ครชู ำนาญการ วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาเทคโนโลยฐี านวทิ ยาศาสตร์ (ชลบรุ ี)

หน่วยที่ 3 ศิลปะกบั คอมพิวเตอร์กราฟิก ห น้ า | 14 4. หลกั การทำงานของภาพและไฟลง์ านกราฟิก 4.1 หลกั การทำงานของภาพกราฟิก ภาพที่เกิดบนจอภาพคอมพวิ เตอร์ เกิดจากการทำงานโหมดสี RGB ซงึ่ ประกอบด้วยสแี ดง (Red) สีเขียว (Green) และสีน้ำเงนิ (Blue) โดยใช้หลักยิงประจุไฟฟา้ ใหเ้ กดิ การเปล่งแสงของสีทัง้ 3 สีมาผสม กนั ทำใหเ้ กดิ เปน็ จุดสเ่ี หล่ียมเลก็ ๆ ทเี่ รยี กวา่ พิกเซล (Pixel) ซง่ึ มาจากคำว่า Picture กบั Element โดย โดยพกิ เซลจะมหี ลากหลายสี เมือ่ นำมาวางต่อกันจะเกดิ เป็นรปู ภาพซึ่งภาพที่ใช้กบั เคร่อื งคอมพิวเตอร์ มี 2 ประเภท คอื แบบ Raster กับ Vector 4.1.1 หลักการของกราฟกิ แบบ Raster หลักการของภาพกราฟิกแบบ Raster หรือแบบ Bitmap เป็นภาพกราฟิกที่เกิดจากการ เรียงตัวกันของจุดสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ หลากหลายสี ซึ่งเรียกจุดสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ นี้ว่า “พิกเซล” ในการสร้าง ภาพกราฟิกแบบ Raster จะต้องกำหนดจำนวนของพิกเซลให้กับภาพที่ต้องการสร้าง ถ้ากำหนดจำนวน พกิ เซลนอ้ ย เม่อื ขยายภาพให้มีขนาดใหญ่ข้ึนจะทำให้มองเหน็ ภาพเป็นจุดส่ีเหล่ยี มเล็ก ๆ หรือถ้ากำหนด จำนวนพกิ เซลมากก็จะทำใหแ้ ฟ้มภาพมขี นาดใหญ่ ดังนั้น การกำหนดพิกเซลจงึ ควรกำหนดจำนวนพกิ เซล ให้เหมาะกับงานที่สร้าง คือ ถ้าต้องการใช้งานทั่วไปจะกำหนดจำนวนพิกเซลประมาณ 100- 150ppi จำนวนพิกเซลต่อ 1 ตารางนิ้ว ถ้าเป็นงานที่ต้องการความละเอียดน้อยและแฟ้มภาพมีขนาด เล็ก เชน่ ภาพสำหรับใชก้ บั เว็บไซตจ์ ะกำหนดพิกเซลประมาณ 72 ppi และถ้าเปน็ งานพมิ พ์ เช่น นติ ยสาร โปสเตอรข์ นาดใหญจ่ ะกำหนดจำนวนพิกเซลประมาณ 300-350 ppi เปน็ ดังตัวอยา่ งภาพที่ 3.6 ภาพที่ 3.6 แสดงลกั ษณะภาพแบบ Raster ท่มี า : นิตยา เสาหงษ์, 2561. 4.1.2 หลักการของกราฟกิ แบบ Vector หลักการของกราฟิกแบบ Vector เป็นภาพกราฟิกที่เกิดจาการอ้างอิงความสัมพันธ์ทาง คณติ ศาสตรห์ รอื การคำนวณ ซ่งึ ภาพจะมคี วามเป็นอิสระต่อกันโดยแยกชิ้นสว่ นของภาพท้ังหมดออกเป็น เส้นตรง เส้นโค้ง รูปทรง เมื่อมีการขยายภาพความละเอียดของภาพจะไม่ลดลง แฟ้มจะมีขนาดเล็กกวา่ ผเู้ รยี บเรียง นางนติ ยา เสาหงษ์ ครชู ำนาญการ วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาเทคโนโลยฐี านวทิ ยาศาสตร์ (ชลบรุ ี)

หน่วยท่ี 3 ศิลปะกบั คอมพิวเตอรก์ ราฟิก ห น้ า | 15 แบบ Raster ภาพกราฟิกแบบ Vector นิยมใชเ้ พื่องานสถาปัตยกรรมตกแตง่ ภายใน การออกแบบตา่ ง ๆ เช่น การออกแบบอาคาร การออกแบบรถยนต์ การสร้างโลโก้ การสร้างงานการ์ตูน เป็นต้น ดังตัวอย่าง ภาพท่ี 3.7 ภาพท่ี 3.7 แสดงลกั ษณะของภาพแบบ Vector ทีม่ า : นติ ยา เสาหงษ,์ 2561. เมื่อได้ทำความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการของภาพกราฟิกแบบ 2 มิติ คือภาพแบบ Bitmap และ ภาพแบบ Vector เรียบร้อยแล้ว สามารถสรุปความแตกต่างระหว่างภาพกราฟิกทั้งสองประเภทตาม ตารางดงั นี้ ตารางที่ 3.1 เปรยี บเทียบความแตกตา่ งระหวา่ งภาพกราฟิกแบบ Raster และ Vector ภาพกราฟิก 2 มิตแิ บบ Raster ภาพกราฟกิ 2 มติ ิแบบ Vector 1. เกิดจากการเรียงตัวของจุดสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ท่ี 1. เป็นการประมวลผลโดยอาศัยการคำนวณทาง เรียกว่าพิกเซล (Pixel) โดยจะเก็บค่าสีที่เจาะจง คณิตศาสตร์ มีสีและตำแหน่งของสีที่แน่นอน จนเกดิ เป็นภาพในลักษณะต่าง ๆ ภาพจะมีความเป็นอิสระตอ่ กัน 2. การขยายภาพจะมีการเพิ่มจำนวนจุดของ 2. เมื่อมีการขยายภาพความละเอียดของภาพจะ ภาพ ทำให้ความละเอียดลดลง มองเห็นภาพเป็น ไม่ลดลง ยังคงรายละเอียดและความชัดเจนของ แบบจดุ คุณภาพของภาพนน้ั สูญเสยี ไป ภาพไว้เหมอื นเดมิ 3.การตกแตง่ และแกไ้ ขภาพสามารถทำไดง้ า่ ยและ 3. นิยมใช้กับงานด้านสถาปัตยกรรมตกแต่ง สวยงาม มีความเหมือนจริง เช่น การลบรอย ภายใน และงานดา้ นการออกแบบตา่ ง ๆ เชน่ การ ตำหนบิ นภาพเพ่อื ใหภ้ าพดสู วยงามขึน้ ออกแบบอาคาร การออกแบบการ์ตูน 4. การประมวลผลภาพสามารถทำได้รวดเรว็ 4. การประมวลผลภาพใช้เวลานานเนอ่ื งจากใช้ คำส่งั ในการทำงาน ผเู้ รยี บเรียง นางนิตยา เสาหงษ์ ครูชำนาญการ วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาเทคโนโลยฐี านวทิ ยาศาสตร์ (ชลบรุ ี)

หนว่ ยท่ี 3 ศลิ ปะกับคอมพวิ เตอรก์ ราฟกิ ห น้ า | 16 4.2 ไฟลภ์ าพกราฟิก การสร้างภาพกราฟกิ หรอื การตกแตง่ ภาพกราฟิก ประเภทของไฟล์ภาพกราฟิกเปน็ อกี ปจั จยั หนึ่ง ที่มีความสำคัญเพราะความละเอียดของไฟล์ภาพจะส่งผลกับขนาดของภาพ เช่น ภาพที่นำมาใช้งานบน เว็บเพจควรจะต้องมีขนาดเล็ก เพื่อนำไปเรียกใช้งานบนเว็บเพจได้อย่างรวดเร็ว ประเภทของไฟล์ภาพ กราฟิกท่ีนิยมใช้โดยท่วั ไป ได้แก่ 4.2.1 JPEG หรอื JPG (Join Photographic Export Group) เป็นรูปแบบไฟล์ทีเ่ กบ็ ภาพแบบราสเตอรท์ ีไ่ ม่ต้องการคุณภาพสูงมากนัก เช่น ภาพถ่ายจาก กล้องดจิ ิตอล ภาพถ่ายจากโทรศัพท์มือถือและภาพกราฟิกสำหรับแสดงบนอนิ เตอร์เน็ต สามารถแสดงสี ไดถ้ ึง 16.7 ล้านสี เปน็ ไฟลภ์ าพชนดิ หนึง่ ท่ไี ดร้ ับความนิยม เพราะไฟลม์ ขี นาดเลก็ สามารถบีบอัดข้อมูลได้ หลายระดบั จดุ เด่น 1. สนับสนนุ สีไดถ้ ึง 24 bit 2. แสดงสีได้ถึง 16.7 ล้านสี 3. สามารถกำหนดคา่ การบีบอัดไฟลไ์ ด้ตามท่ีต้องการ 4. มีระบบแสดงผลแบบหยาบและคอ่ ย ๆ ขยายไปสู่ละเอียดในระบบโพรเกรสซฟี (Progressive) 5. มโี ปรแกรมสนับสนุนการสรา้ งจำนวนมาก 6. เรียกดไู ดก้ บั บราวเซอร์ (Browser) ทกุ ตัว จดุ ดอ้ ย 1. ไม่สามารถทำภาพใหม้ ีพืน้ หลงั แบบโปร่งใส (Transparent) ได้ 2. ทำภาพเคล่อื นไหว (Animation) ไม่ได้ 4.2.2 GIF (Graphic Interchange Format) เปน็ ไฟล์ภาพท่ีสามารถบบี อดั ข้อมูลให้มีขนาดเลก็ ไดส้ ่วนมากจะนำไปใชบ้ ันทกึ เป็นไฟล์ภาพ เคลอ่ื นไหวและนิยมมากในการใช้งานบนเวบ็ เพจ จดุ เด่น 1. สามารถใช้งานขา้ มระบบไม่ว่าจะเป็นระบบปฏิบตั ิการวินโดวส์ (Windows) หรือ ระบบปฏบิ ัตกิ ารยูนกิ ซ์ (Unix) กส็ ามารถเรยี กใช้ไฟล์ภาพสกลุ นี้ได้ 2. ภาพมขี นาดไฟลต์ ่ำ จากเทคโนโลยีการบีบอัดภาพทำให้สามารถส่งไฟลภ์ าพไดอ้ ย่าง รวดเร็ว 3. สามารถทำภาพพน้ื หลงั แบบโปร่งใสได้ ผเู้ รยี บเรียง นางนติ ยา เสาหงษ์ ครชู ำนาญการ วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาเทคโนโลยฐี านวทิ ยาศาสตร์ (ชลบุรี)

หนว่ ยที่ 3 ศลิ ปะกับคอมพวิ เตอร์กราฟิก ห น้ า | 17 4. มโี ปรแกรมสนบั สนุนการสรา้ งจำนวนมาก 5. เรยี กดูไดก้ ับบราวเซอร์ทกุ ตวั 6. สามารถนำเสนอแบบภาพเคลอื่ นไหวได้ จดุ ด้อย 1. แสดงสไี ดเ้ พยี ง 256 สี 2. ไมเ่ หมาะกบั ภาพที่ตอ้ งการความคมชัดหรือความสดใส 4.2.3 PNG (Portable Network Graphics) เป็นชนดิ ของไฟลภ์ าพท่นี ำจุดเดน่ ของไฟลภ์ าพแบบ GIF และแบบ JPG มาพัฒนา ร่วมกนั ทำให้ไฟล์ภาพชนดิ นแี้ สดงสีได้มากกวา่ 256 สี และยงั สามารถทำพ้นื หลงั ภาพให้โปร่งใสได้ จงึ เป็นไฟลภ์ าพท่ไี ดร้ ับความนิยมมากในปจั จุบัน จดุ เด่น 1. สนับสนนุ สไี ดต้ ามค่า True color (16 bit, 32 bit หรอื 64 bit) 2. สามารถกำหนดคา่ การบบี อัดไฟล์ไดต้ ามทีต่ ้องการ 3. ทำภาพพื้นหลังแบบโปรง่ ใสได้ จุดดอ้ ย 1. หากกำหนดค่าการบีบอัดไฟลไ์ วส้ ูงจะใช้เวลาในการคลายไฟล์ภาพสงู ตามไปดว้ ย 2. ไมส่ นบั สนนุ กับบราวเซอรร์ ุ่นเกา่ 3. โปรแกรมสนบั สนนุ ในการสรา้ งมนี ้อย 4.2.4 BMP(Bitmap) เป็นรูปแบบของไฟลภ์ าพมาตรฐานที่ใชไ้ ด้ในระบบปฏิบตั กิ ารวนิ โดวส์โดยมลี กั ษณะการ จดั เกบ็ ไฟลภ์ าพเปน็ จุดสที ีละจดุ จงึ ทำให้ภาพดูเสมือนจริง จดุ เด่น 1. แสดงรายละเอียดสีได้ 24 บติ 2. ไมม่ ีการสูญเสยี ข้อมลู ใด ๆ เมื่อมกี ารย่อหรือขยายภาพ 3. นำไปใช้งานไดก้ บั ทกุ โปรแกรมในระบบปฏิบัติการวินโดวส์ จุดด้อย 1. ภาพมีขนาดใหญ่มากจึงใช้เนอื้ ที่ในการจดั เกบ็ คอ่ นขา้ งมาก 2. ความละเอยี ดของภาพอาจจะไมช่ ัดเจนเหมือนตน้ ฉบบั ผเู้ รียบเรียง นางนิตยา เสาหงษ์ ครชู ำนาญการ วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาเทคโนโลยฐี านวทิ ยาศาสตร์ (ชลบรุ ี)

หนว่ ยท่ี 3 ศิลปะกบั คอมพวิ เตอร์กราฟิก ห น้ า | 18 4.2.5 TIF หรอื TIFF (Tagged Image File) เปน็ ไฟล์ทใ่ี ชเ้ ก็บภาพแบบราสเตอรค์ ุณภาพสูง เช่น ภาพกราฟิกทนี่ ำไปทำงานดา้ นส่งิ พมิ พ์ (Artwork) สามารถเก็บข้อมูลของภาพไวไ้ ดค้ รบถ้วน ทำให้คุณภาพของสีเหมอื นต้นฉบับ จดุ เด่น 1. สามารถใชง้ านขา้ มระบบ ไมว่ า่ จะเป็นระบบปฏบิ ัตกิ ารวนิ โดวสห์ รอื ระบบปฏบิ ัตกิ าร ยูนิกซ์ก็สามารถเรียกใช้ไฟลภ์ าพชนิดนี้ได้ 2. แสดงรายละเอยี ดสไี ด้ 48 บติ 3. ไฟล์มีความยดื หยนุ่ สงู สามารถเปลย่ี นแปลงแกไ้ ขได้ 4. เม่อื มกี ารบบี อดั ไฟล์จะมกี ารสญู เสยี ข้อมูลน้อยมาก 5. มโี ปรแกรมสนบั สนนุ การสร้างจำนวนมาก จดุ ดอ้ ย 1. ไฟลภ์ าพมขี นาดค่อนขา้ งใหญ่ 2. ใชพ้ นื้ ท่ีในการจดั เก็บไฟลภ์ าพสูง 4.2.6 PSD (Photoshop Document) เปน็ ไฟลภ์ าพเฉพาะโปรแกรม Adobe Photoshop จะทำการบันทกึ แบบแยกเลเยอร์ (Layer) โดยเก็บประวัติการทำงานและรายละเอยี ดการตกแตง่ ภาพ เอาไว้ เพ่ือง่ายต่อการแกไ้ ขใน ภายหลงั จดุ เด่น 1. มกี ารบนั ทกึ แบบแยกเลเยอรแ์ ละเกบ็ ประวตั กิ ารทำงานทุกขั้นตอน 2. สามารถนำไฟล์ภาพมาแกไ้ ขได้ในภายหลัง จดุ ดอ้ ย 1. ไฟลภ์ าพมีขนาดใหญเ่ ม่อื เทยี บกบั ไฟล์ภาพประเภทอืน่ 2. ไมส่ ามารถเปิดใชง้ านในโปรแกรมอืน่ ได้ 5. หลกั การใชส้ ีและแสงในโปรแกรมกราฟิก สีและแสงมีความสำคัญอย่างมากต่องานกราฟิก ทำให้ภาพหรือสิ่งต่าง ๆ ที่สร้างสรรค์ขึ้นมามี ความสดใสสวยงามและน่าสนใจ การใช้สีและแสงในการสื่อความหมายในงานกราฟกิ ผู้สร้างสรรค์ควร ศกึ ษารายละเอียดเพื่อใหม้ ีความรู้ความเข้าใจในการนำไปประกอบในงานกราฟิก จะชว่ ยส่งผลให้งานน้ัน สามารถตอบสนองได้ตรงตามจุดประสงค์มากที่สุด ซึ่งสีในธรรมชาติและสีที่สร้างขึ้น จะมีรูปแบบการ ผเู้ รียบเรียง นางนติ ยา เสาหงษ์ ครูชำนาญการ วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวทิ ยาศาสตร์ (ชลบรุ ี)

หน่วยที่ 3 ศิลปะกบั คอมพวิ เตอรก์ ราฟิก ห น้ า | 19 มองเห็นของสที แ่ี ตกตา่ งกัน ซึ่งรปู แบบการมองเหน็ สีท่ีใชใ้ นงานด้านกราฟกิ ท่วั ไปน้นั มีอยู่ด้วยกนั 4 ระบบ คอื 1. ระบบสีแบบ RGB ตามหลกั การแสดงสีของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ 2. ระบบสีแบบ CMYK ตามหลักการแสดงสีของเคร่อื งพิมพ์ 3. ระบบสแี บบ HSB ตามหลกั การมองเหน็ สขี องสายตามนุษย์ 4. ระบบสีแบบ Lab ตามมาตรฐานของ CIE ซึง่ ไมข่ นึ้ อยูก่ ับอปุ กรณใ์ ดๆ 5.1 ระบบสแี บบ RGB ตามหลักการแสดงสขี องเครือ่ งคอมพวิ เตอร์ เปน็ ระบบสที ่ีประกอบดว้ ยแมส่ ี 3 สีคือ สีแดง เขียว และสนี ้ำเงนิ เมอ่ื นำมาผสมกนั ทำให้เกดิ สี บนจอคอมพิวเตอร์มากถงึ 16.7 ลา้ นสี ซึ่งใกลเ้ คยี งกับสีที่ตามองเหน็ ปกติ สที ไ่ี ดจ้ ากการผสมสีข้ึนอยู่กับ ความเข้มของสี โดยถ้าสีมีความเข้มข้นมาก เมื่อนำมาผสมกันจะทำใหเ้ กดิ เป็นสีขาว จึงเรียกระบบสีนี้วา่ แบบ Additive หรอื การผสมสแี บบบวก ดงั ตวั อย่างภาพที่ 3.8 ภาพท่ี 3.8 แสดงระบบสีแบบ RGB ท่มี า : นติ ยา เสาหงษ,์ 2561. 5.2 ระบบสีแบบ CMYK ตามหลกั การแสดงสีของเครือ่ งพิมพ์ เป็นระบบสีที่ใช้กับเครอ่ื งพิมพ์ทพี่ ิมพ์ออกทางกระดาษหรือวัสดุผวิ เรียบอนื่ ๆ ซงึ่ ประกอบด้วยสี หลกั 4 สีคือ สฟี ้า สมี ่วงแดง สเี หลอื งและสดี ำไม่ดำสนทิ เนื่องจากหมึกพิมพม์ ีความไม่บริสทุ ธ์ิ จงึ เปน็ การ ผสมสีแบบลบ (Subtractive) หลักการเกิดสีของระบบนี้ คือ หมึกสีหนึ่งจะดูดกลืนแสงจากสีหนึ่งแล้ว สะท้อนกลับออกมาเป็นสีต่าง ๆ เช่น สีฟ้าดูดกลืนแสงของสีม่วงแล้วสะท้อนออกมาเป็นสีน้ำเงิน ซึ่งจะ สงั เกตไดว้ า่ สที ส่ี ะทอ้ นออกมาจะเปน็ สีหลกั ของระบบ RGB การเกิดสีในระบบนจ้ี ึงตรงข้ามกับการเกิดสีใน ระบบ RGB CMYK จะใชห้ ลกั การเลือกสีรูปแบบเดียวกบั RGB แต่วา่ คา่ สจี ะถกู ตดั ออกไปเป็นจำนวนมาก ทำ ให้มีค่าสีอยู่เพียงประมาณพันกว่าสีเท่านั้น โดยที่ค่าสีของ CMYK จะตัดค่าสีที่ตามองไม่เห็นหรือไม่ สามารถแยกแยะออกด้วยสายตาของมนุษย์ เพราะความใกล้เคียงกันมากเกินไปของสี เช่น ในกรณีของ ผเู้ รยี บเรียง นางนิตยา เสาหงษ์ ครูชำนาญการ วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยฐี านวทิ ยาศาสตร์ (ชลบุรี)

หน่วยที่ 3 ศิลปะกับคอมพิวเตอรก์ ราฟิก ห น้ า | 20 ใบไมท้ ่ีอาจจะมองเห็นวา่ เปน็ สเี ขียว แตถ่ า้ จะให้ระบุสีในใบไมเ้ ดียวกันใหใ้ กลเ้ คียงทสี่ ุด อาจจะได้คำตอบท่ี เป็น สีเขียว, เขียวแก่, เขียวแก่กว่า, เขียวอ่อน, เขียวอมเหลือง ฯลฯ อย่างหาข้อสรุปไม่ได้ เพราะการ มองเห็นสีปกติมักจะมองรูปแบบสีหลัก ๆ เท่านั้น ดังนั้นสีโหมด CMYK จึงจะตัดค่าสีที่ห่างกันไม่มาก ออกไป ดงั ตวั อย่างภาพท่ี 3.9 ภาพท่ี 3.9 แสดงระบบสีแบบ CMYK ทม่ี า : นติ ยา เสาหงษ,์ 2561. 5.3 ระบบสีแบบ HSB ตามหลกั การมองเหน็ สขี องสายตามนษุ ย์ เป็นระบบสีที่ใกล้เคยี งกับการมองเหน็ และการรับรขู้ องมนษุ ยม์ ากท่สี ดุ แบ่งเปน็ 3 สว่ น คอื 5.3.1 Hue คอื สีตา่ ง ๆ ที่สะทอ้ นออกมาจากวัตถแุ ล้วเขา้ ส่สู ายตา ซง่ึ มักเรียกสีตามชอ่ื สี เชน่ สีเขยี ว สแี ดง สีเหลอื ง เป็นต้น 5.3.2 Saturation คือ ความสดของสีโดยค่าความสดของสีจะเริ่มท่ี 0 ถึง 100 ถ้ากำหนด Saturation ที่ 0 สีจะมคี วามสดน้อย แตถ่ ้ากำหนดที่ 100 สจี ะมคี วามสดมาก 5.3.3 Brightness คอื ระดบั ความสว่างของสี โดยคา่ ความสว่างของสีจะเร่ิมที่ 0 ถงึ 100 ถ้ากำหนดที่ 0 ความสว่างจะน้อยซึ่งจะเป็นสีดำ แต่ถ้ากำหนดที่ 100 สีจะมีความสว่างมากที่สุด ดัง ตัวอยา่ งภาพที่ 3.10 ภาพท่ี 3.10 แสดงระบบสีแบบ HSB ท่ีมา : นิตยา เสาหงษ,์ 2561. ผเู้ รยี บเรียง นางนติ ยา เสาหงษ์ ครูชำนาญการ วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวทิ ยาศาสตร์ (ชลบรุ ี)

หน่วยที่ 3 ศลิ ปะกับคอมพวิ เตอรก์ ราฟิก ห น้ า | 21 5.4 ระบบสีแบบ Lab ตามมาตรฐานของ CIE ซึ่งไม่ข้ึนอยู่กบั อุปกรณ์ใด ๆ เป็นค่าสีที่ถูกกำหนดขึ้นให้เป็นมาตรฐานการวัดสีทุกรูปแบบ ครอบคลุมทุกสีใน RGB และ CMYK และใช้กับสีทเ่ี กิดจากอุปกรณ์ทุกอย่าง ไม่วา่ จะเป็นจอคอมพิวเตอร์ เคร่อื งพิมพ์ เครื่องสแกนเนอร์ ฯลฯ จึงเป็นระบบสีที่ไม่ขึ้นกับอุปกรณ์ใด ๆ (Device Independent) เป็นโหมดสีที่มีความเหมือนจริง มากทส่ี ดุ โดยแบ่งออกเป็น 3 ส่วนคอื สว่ นท่ี 1 คอื “L” หรอื Luminance เป็นการกำหนดความสวา่ งซง่ึ มคี ่าต้ังแต่ 0 ถึง 100 ถา้ กำหนดที่ 0 จะกลายเป็นสีดำ แต่ถ้ากำหนดที่ 100 จะกลายเปน็ สขี าว สว่ นที่ 2 คือ “A” เปน็ ค่าของสีทไี่ ล่จากสีเขียวไปสีแดง สว่ นท่ี 3 คอื “B” เปน็ คา่ ของสีท่ีไล่จากสนี ้ำเงนิ ไปสเี หลือง ดังตัวอยา่ งภาพที่ 3.11 ภาพที่ 3.11 แสดงสแี บบ LAB ทีม่ า : นิตยา เสาหงษ,์ 2561. นอกจากระบบสีท่กี ล่าวมาขา้ งต้นทัง้ 4 ระบบแล้ว ยงั มีระบบสีทถี่ กู กำหนดขน้ึ พิเศษ เปน็ ระบบสี ถูกสร้างข้ึนมาในงานคอมพวิ เตอรก์ ราฟกิ และอยนู่ อกเหนือจากโมเดลสีทว่ั ไป ดังน้ี 1. Bitmap Mode โหมดสที ่ีมีการเก็บข้อมลู สีเพียง 1 Bit ตอ่ Pixel ซ่ึงจะทำให้รูปในโหมดนมี้ ีเพียง สีขาวหรอื ดำ เท่านั้นและไม่สามารถไล่เฉดสีได้ ทำให้ภาพขาดความละเอียดและไม่สามารถตกแต่งใด ๆ ได้ ข้อดีของ โหมดภาพแบบนี้ คือ ภาพทไ่ี ดจ้ ากโหมดนี้จะมีขนาดที่เลก็ มาก สามารถใช้สร้างภาพลายเสน้ หรือโลโก้ท่ี ไมต่ อ้ งการสีสันได้ ดังตวั อย่างภาพท่ี 3.12 ผเู้ รยี บเรยี ง นางนติ ยา เสาหงษ์ ครูชำนาญการ วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยฐี านวทิ ยาศาสตร์ (ชลบรุ ี)

หนว่ ยท่ี 3 ศลิ ปะกบั คอมพวิ เตอรก์ ราฟิก ห น้ า | 22 ภาพท่ี 3.12 แสดงสแี บบ Bitmap Mode ที่มา : นิตยา เสาหงษ,์ 2561. 2. Grayscale Mode ประกอบด้วยสีท้ังหมด 256 สีโดยไล่สีจากสีขาว สีเทาไปเรื่อยจนท้ายสุดคือสีดำ ใช้พื้นที่ในการ เกบ็ ข้อมูล 8 บติ (28 = 2 x 2 x 2 x 2 x 2 x 2 x 2 x 2 = 256 ส)ี ดังตัวอย่างภาพที่ 3.13 ภาพท่ี 3.13 แสดงสแี บบ Grayscale Mode ท่ีมา : นติ ยา เสาหงษ์, 2561. 3. Duotone Mode เป็นโหมดที่เกิดจากการใช้สีเพียงบางสีมาผสมกันให้เกดิ เป็นภาพ มักจะเห็นการนำไปใช้ในงาน พมิ พ์ท่ีต้องการใชภ้ าพ 2 สี หรอื Channel สเี พียงบาง Channel เทา่ นัน้ ดังตัวอยา่ งภาพท่ี 3.14 ภาพท่ี 3.14 แสดงสีแบบ Duotone Mode ที่มา : นติ ยา เสาหงษ,์ 2561. ผเู้ รียบเรียง นางนิตยา เสาหงษ์ ครชู ำนาญการ วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาเทคโนโลยีฐานวทิ ยาศาสตร์ (ชลบรุ ี)

หนว่ ยท่ี 3 ศิลปะกับคอมพวิ เตอร์กราฟิก ห น้ า | 23 4. Indexed Color เนื่องจากสีทั้งหมดอาจมีถึง 16.7 ล้านสี แต่ในภาพบางภาพอาจไม่ได้ใช้สีทั้ง 16.7 ล้านสี และ ความจำเปน็ ในการประหยัดเนอ้ื ท่ี ในการเก็บข้อมูลน้นั เวลาดาวน์โหลดมาใช้งานจะได้เรว็ เชน่ ภาพที่ใช้ งานกบั เวบ็ ไซต์ต่าง ๆ โปรแกรมกราฟิก (Photoshop) จงึ มีการคำนวณเลือกเฉพาะสี ที่ใช้ และสร้างเป็น โหมดสขี ้ึนมาเพียง 256 สี เรยี กว่า Index color Mode ดังตัวอยา่ งภาพท่ี 3.15 ภาพที่ 3.15 แสดงสีแบบ Indexed Color ที่มา : นติ ยา เสาหงษ,์ 2561. 5. Multichannel Mode เป็นโหมดสีที่ถกู แสดงด้วย Channel ตง้ั แต่ 2 Channel ขึน้ ไป แยก Channel ไดห้ ลาย Channel เปน็ โหมดสที ี่ใชป้ ระโยชนม์ ากสำหรบั งานพมิ พ์ ดงั ตวั อย่างภาพที่ 3.16 ภาพที่ 3.16 แสดงสแี บบ Multichannel Mode ทม่ี า : นิตยา เสาหงษ,์ 2561. สามารถสรุปได้ว่า เทคนคิ การนำสีไปใช้ในงานกราฟกิ มีอยูห่ ลายวิธี แตว่ ัตถปุ ระสงคห์ ลักคือ การ ใชส้ ีเพ่มิ ความโดดเดน่ ให้กับจุดเดน่ ในภาพและใช้สีตกแตง่ สว่ นอ่นื ๆ ของภาพเพ่ือให้ได้ภาพรวมออกมา ตามท่ตี ้องการ ผเู้ รียบเรยี ง นางนติ ยา เสาหงษ์ ครชู ำนาญการ วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาเทคโนโลยีฐานวทิ ยาศาสตร์ (ชลบรุ ี)

หน่วยที่ 3 ศิลปะกับคอมพิวเตอรก์ ราฟกิ ห น้ า | 24 6. หลกั การออกแบบงานกราฟิกดว้ ยเทคโนโลยี โปรแกรมสำหรับงานกราฟกิ ถือเป็นโปรแกรมที่สำคัญมากของผู้ทีท่ ำงานเกี่ยวกบั ภาพถ่าย เช่น นักออกแบบดีไซน์ นักสรา้ งโฆษณา สถาปนคิ และอาชพี อน่ื ๆ เพราะการจะสร้างชิ้นงานหน่ึงชน้ิ ใหม้ คี วาม สวยงาม เหมือนจริง น่าสนใจ ดึงดูดลูกค้า จำต้องมีการออกแบบ การคิด การวิเคราะห์ที่ดี และส่วน สำคัญที่จะทำให้งานออกแบบกราฟิกน่าสนใจ คือโปรแกรมกราฟฟิกประเภทต่าง ๆ ซึ่งโปรแกรมที่ใช้ สำหรับสรา้ งงานกราฟฟิก มดี งั น้ี คอื 6.1 โปรแกรม Adobe Photoshop สำหรับโปรแกรมน้ใี นปัจจุบนั ถอื เปน็ หนง่ึ ในโปรแกรมคลาสสกิ ท่ีเกอื บทุกเคร่ืองจำเป็นต้องติดตั้ง ไว้ เพราะ Photoshop เป็นโปรแกรมในการออกแบบ การแต่งภาพ การใสเ่ อฟเฟกต์ยอดนยิ ม ด้วยความ ทใ่ี ช้งานงา่ ยและมีเครอื่ งมือในการใช้งานมากมาย สามารถสรา้ งงานไดห้ ลากหลาย โดยสว่ นใหญ่จะใช้ใน การตัดต่อภาพ การแต่งภาพให้สวยขึ้น คมชัดขึ้น ขาวขึ้น ในปัจจุบันโปรแกรม Adobe Photoshop มี ออกมาหลายรุน่ และยงั คงพฒั นาต่อไปอย่างต่อเนื่อง ดงั ตัวอย่างภาพท่ี 3.17 ภาพท่ี 3.17 แสดงหน้าจอโปรแกรม Adobe Photoshop ที่มา : นติ ยา เสาหงษ์, 2561. ผเู้ รียบเรียง นางนติ ยา เสาหงษ์ ครูชำนาญการ วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาเทคโนโลยีฐานวทิ ยาศาสตร์ (ชลบุรี)

หนว่ ยท่ี 3 ศิลปะกับคอมพิวเตอรก์ ราฟิก ห น้ า | 25 6.2 โปรแกรม Adobe Illustrator เปน็ โปรแกรมออกแบบโลโก้ ออกแบบภาพ เสริม เตมิ แต่งภาพ ระดับมอื อาชพี มีฟังก์ช่ันคล้าย กับโปรแกรม Photoshop แตม่ กี ารทำงานท่ีเหนือชั้นกว่าในการออกแบบ เป็นโปรแกรมท่ีออกแบบภาพ ได้ดเี ย่ียมโปรแกรมหนง่ึ ดงั ตัวอยา่ งภาพที่ 3.18 ภาพท่ี 3.18 แสดงหนา้ จอโปรแกรม Adobe Illustrator ทมี่ า : นติ ยา เสาหงษ์, 2561. 6.3 โปรแกรม Adobe InDesign โปรแกรมน้ีใช้ในการออกแบบวารสาร นิตยสาร หนงั สืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ อยูใ่ นตระกูล Adobe เหมือนกนั ดังตัวอยา่ งภาพท่ี 3.19 ภาพท่ี 3.19 แสดงหนา้ จอโปรแกรม Adobe InDesign ทมี่ า : นิตยา เสาหงษ,์ 2561. ผเู้ รียบเรยี ง นางนิตยา เสาหงษ์ ครชู ำนาญการ วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาเทคโนโลยีฐานวทิ ยาศาสตร์ (ชลบรุ ี)

หนว่ ยท่ี 3 ศิลปะกับคอมพวิ เตอรก์ ราฟิก ห น้ า | 26 6.4 โปรแกรม Sweet Home 3D โปรแกรมที่สำหรับการออกแบบบ้าน ที่มีลักษณะการใช้งานง่ายๆ และไม่ยุ่งยากเลย โดยจะมี อุปกรณ์เฟอร์นเิ จอร์ให้ได้เลือกจำนวนมากมาย และยงั สามารถท่ีจะนำอุปกรณ์เฟอรน์ ิเจอร์ใหม่ ๆ เข้ามา เพ่ิมไดต้ ลอด ซงึ่ โปรแกรมรองรับไฟล์การ Import ไดห้ ลายแบบ ดงั ตัวอยา่ งภาพท่ี 3.20 ภาพท่ี 3.20 แสดงหนา้ จอโปรแกรม Sweet Home 3D ทม่ี า : นิตยา เสาหงษ,์ 2561. 6.5 โปรแกรม GoogleSketchUpWEN เป็นอีกโปรแกรมหนึ่งในการใช้ออกแบบแปลนบ้าน ออกแบบโครงสร้างการก่อสร้าง เหมาะ สำหรับนักสถาปนิกในการออกแบบ ดังตวั อย่างภาพที่ 3.21 ภาพท่ี 3.21 แสดงหนา้ จอโปรแกรม GoogleSketchUpWEN ทีม่ า : นติ ยา เสาหงษ,์ 2561. ผเู้ รียบเรียง นางนิตยา เสาหงษ์ ครูชำนาญการ วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาเทคโนโลยฐี านวทิ ยาศาสตร์ (ชลบุรี)

หน่วยท่ี 3 ศลิ ปะกบั คอมพิวเตอร์กราฟิก ห น้ า | 27 6.6 โปรแกรม PhotoScape โปรแกรมตดั ต่อภาพ เปล่ียนแปลงภาพ เพม่ิ แสงเงา ใสก่ รอบ เพ่มิ ขอ้ ความ สญั ลักษณ์ ลดขนาด ไฟล์ภาพ ออกแบบโลโก้อย่างง่าย เรียกได้ว่าเป็นหนึ่งในโปรแกรมที่นิยมใช้งาน เพราะใช้ง่าย ไม่ จำเป็นต้องมีพื้นฐานหรือศึกษาโปรแกรม ด้วยโปรแกรมไมไ่ ด้ซับซ้อนเหมอื นกบั โปรแกรมออกแบบอื่น ๆ ตดิ ตั้งแลว้ ลองใชง้ านได้เลย ดังตัวอย่างภาพท่ี 3.22 ภาพท่ี 3.22 แสดงหน้าจอโปรแกรม PhotoScapeSetup ท่มี า : นติ ยา เสาหงษ์, 2561. 7. การประยุกตใ์ ช้งานคอมพิวเตอร์กราฟิก ในยคุ ปัจจบุ นั มีการพัฒนาทางดา้ นเทคโนโลยีอยา่ งไมห่ ยุดย้ัง ทำให้การสือ่ สารมสี ีสนั และชวี ติ ชีวา มากขนึ้ โดยการใชภ้ าพกราฟิกมาประยุกต์ร่วมกับงานด้านต่าง ๆ เพ่อื ให้งานดสู วยงามและดึงดูดใจให้น่า ใช้งานมากย่งิ ข้ึน ซง่ึ งานกราฟกิ สามารถนำไปประยุกตใ์ ชก้ ับงานดา้ นต่าง ๆ ดงั น้ีคือ 7.1 งานออกแบบส่อื สงิ่ พิมพ์ (Print Design) งานออกแบบส่งิ พิมพ์ถอื วา่ เป็นพ้ืนฐานของงานกราฟิกดา้ นอื่น ๆ เพราะเป็นงานกราฟิกเร่ิมแรกที่ มปี ระวตั ิศาสตร์อันยาวนาน ความสำคัญในการออกแบบสง่ิ พมิ พก์ ็คอื การออกแบบเพ่ือเพ่มิ ประสิทธิภาพ ในการสื่อสารให้เนื้อหาที่นำมาพิมพ์ การออกแบบสิ่งพิมพ์เป็นการดำเนินการเพื่อให้เกิดผลลัพธ์ต่าง ๆ เช่น ดึงดูดใจให้ผู้พบเห็นเกิดความสนใจในสิง่ พิมพ์ ถ่ายทอดข้อมูลที่ต้องการจะสื่อสารอย่างชดั เจนและ เหมาะสมกับผู้รับสื่อและสร้างความประทับใจ ทำให้ข้อมูลที่สื่อสารเป็นที่จดจำ ซึ่งหลักของของการ ออกแบบสงิ่ พมิ พ์ ตอ้ งเนน้ ความสมดุลของการวดั วางภาพ การใช้สแี ละแบบของตวั อักษรท่ีโดดเด่น โดยผู้ ผเู้ รยี บเรยี ง นางนติ ยา เสาหงษ์ ครชู ำนาญการ วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาเทคโนโลยีฐานวทิ ยาศาสตร์ (ชลบรุ ี)

หน่วยท่ี 3 ศิลปะกับคอมพวิ เตอรก์ ราฟิก ห น้ า | 28 ที่มีความสำคัญที่สุดในการออกแบบสิ่งพิมพ์เรียกว่าผู้กำกับศิลป์ (Art Director) หรือบางครั้งใน สำนักพิมพเ์ รียกวา่ บรรณาธกิ ารศิลป์ (Art Editor) ดงั ตัวอยา่ งภาพท่ี 3.23 ภาพที่ 3.23 แสดงการออกแบบสือ่ สง่ิ พมิ พ์ ที่มา : กัญญารตั น์ ประยูรเจรญิ , ออนไลน,์ 2563 7.2 งานออกแบบตัวอกั ษร (Type Design) งานออกแบบตวั อักษรกำลังเปน็ ท่ีกล่าวถึงกันมากในปัจจุบนั นกั ออกแบบตวั อักษรจะถูกเรียกว่า “ไทปด์ ไี ซเนอร์” (Type Designer) ซึ่งปจั จบุ ันในเมืองไทย อาชีพ “ไทปด์ ไี ซเนอร์” (Type Designer) มี จำนวนไม่มากนักถึงแม้ว่าหลักสูตรการศึกษาทางด้านการออกแบบกราฟิกจะมีวิชาที่เกี่ยวข้องกับการ ออกแบบตัวอักษร แต่ต้องยอมรับว่ายังไมถ่ ึงกับละเอียดมากนัก เพราะฉะนั้นสำหรบั ผูท้ ี่สนใจจะเป็นนัก ออกแบบตัวอักษรก็อาจจะต้องพยายามด้วยตัวเองที่จะเรียนรู้ตัวอักษร ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยศาสตร์แห่งการใช้ตัวอักษร สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับงานต่าง ๆ ได้มากมาย ตั้งแต่งานเอกสาร ทัว่ ไป งานสง่ิ พมิ พ์ โปสเตอร์ สอ่ื โฆษณา เว็บไซต์ ตลอดจนการแสดงผลบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ ตอ้ งคำนึง เสมอว่าตวั อกั ษรเป็นเสมือนภาพ ตอ้ งออกแบบให้มีความเด่นชดั โดยใช้องค์ประกอบของทศั นธาตุในเร่ือง รูปร่าง รูปทรงและพื้นผิว เน้นความสะดุดตา ให้ความรู้สึกที่สอดคล้องกับเนื้อหา มีสีสันสะดุดตา มี หลักการใช้สที ี่เดน่ มคี วามสดเขม้ ของสี ดงั ตัวอย่างภาพท่ี 3.24 ภาพที่ 3.24 แสดงการออกแบบตวั อกั ษร ท่มี า : กญั ญารตั น์ ประยูรเจริญ, ออนไลน,์ 2563 ผเู้ รยี บเรยี ง นางนิตยา เสาหงษ์ ครชู ำนาญการ วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาเทคโนโลยีฐานวทิ ยาศาสตร์ (ชลบรุ ี)

หน่วยท่ี 3 ศิลปะกับคอมพิวเตอรก์ ราฟิก ห น้ า | 29 7.3 งานอินฟอร์เมชันดไี ซน์ (Information Design) งานอินฟอร์เมชันดีไซน์มพี น้ื ฐานทางประวตั ศิ าสตรม์ าจากการเขยี นแผนทห่ี รือการวางผัง รวมท้ัง การทำกราฟงา่ ย ๆ ท่จี ะต้องสรา้ งภาษาที่เปน็ สากลในการอา่ นแบบใหอ้ อก ตอ่ มาเมอื่ มนุษยใ์ นยุคปัจจุบัน ซึ่งมขี ้อมูลจำนวนมาก มนุษย์ก็ต้องการท่ีจะทราบข้อมลู หรอื สถิติบางอย่างแบบมีข้อสรุป ฉะนั้นจึงมกี าร ย่อข้อมูลจำนวนมากนั้นให้อยู่ในรูปแบบที่เข้าใจง่ายและน่าสนใจ เพราะโดยธรรมชาติของมนุษย์น้นั จะ มองส่ิงต่าง ๆ เป็นองคร์ วม ดังนน้ั หากในสิ่งพิมพท์ ม่ี ภี าพและขอ้ ความอยู่รวมกัน มนุษย์จะให้ความสนใจ ไปที่ภาพก่อน แล้วค่อยใชเ้ วลาที่เหลอื ในการอ่านข้อความ โดยอัตราส่วนการใชพ้ ื้นท่ีสำหรับข้อมูลท่วั ไป มกั แบง่ เป็น ข้อความ 20% ,กราฟกิ เช่น รูปภาพ แผนภมู ิ (Chart) สญั ลกั ษณ์ (Symbol) 40% และท่ีว่าง 40% ซึ่งการออกแบบใช้กราฟิกเพื่อการสื่อสารและกระตุ้นการมองเห็นของผู้ชมโดยใช้หลักการจัด องค์ประกอบศิลป์ในการเล่าเรื่องเป็นสำคัญ เช่น หลักการใช้เส้น รูปร่าง รูปทรง สีและพื้นที่ว่าง ดัง ตัวอยา่ งภาพที่ 3.25 ภาพที่ 3.25 แสดงการออกแบบงานอินฟอร์เมชนั ดีไซน์ ท่ีมา : กญั ญารัตน์ ประยูรเจรญิ , ออนไลน์, 2563 7.4 งานอนิ เตอรแ์ อ็คทฟี กราฟิก (Interactive Graphic) งานอินเตอร์แอ็คทีฟมีพื้นฐานมาจากงานศิลปะที่เรียกกันว่าอินสตอเลชัน (Installation Art) และบวกด้วยทักษะในการออกแบบกราฟิก คือใช้กราฟิกให้มีปฏิสัมพันธ์กับผู้ดู ใช้องค์ประกอบศิลป์ เกย่ี วกับพื้นผวิ สี แสงเงา ทำให้ภาพเป็นลกั ษณะ 3 มติ ิ เช่น งานออกแบบการเปิดเทศกาลต่าง ๆ งานจัด นิทรรศการ งานการแสดงข้อมูลด้วยกราฟิก งานออกแบบทางอินเทอร์เน็ต งานอินเตอร์เฟสบนหน้า จอคอมพวิ เตอรห์ รอื โทรศพั ท์มอื ถือ ดงั ตวั อย่างภาพที่ 3.26 ภาพท่ี 3.26 แสดงการออกแบบงานอนิ เตอร์แอ็คทฟี กราฟกิ ทม่ี า : จุฑาวรรณ วรงค์, ออนไลน์, 2563 ผเู้ รียบเรยี ง นางนติ ยา เสาหงษ์ ครชู ำนาญการ วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาเทคโนโลยฐี านวทิ ยาศาสตร์ (ชลบรุ ี)

หน่วยที่ 3 ศิลปะกับคอมพิวเตอร์กราฟิก ห น้ า | 30 7.5 งานออกแบบเวบ็ ไซต์ (Website Design) งานออกแบบเวบ็ ไซต์เปน็ งานออกแบบกราฟิกอีกสาขาหนึ่งท่ีได้รับความนิยมแพร่หลายมากใน ปัจจุบัน นักออกแบบเว็บไซต์ที่ดมี ักจะทำงานด้วยการนำองค์ประกอบต่าง ๆ มาผสมผสานให้เกิดความ สวยงามและก่อใหเ้ กิดประโยชน์ต่อการใช้งานอย่างลงตัว หลกั การออกแบบเวบ็ ไซตท์ ่ีดปี ระกอบไปดว้ ย 2 ส่วนคือ การออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์ และการออกแบบหน้าตาของเว็บไซต์ นอกจากนี้การออกแบบ เว็บไซต์ยังต้องคำนึงถึงหลักขององค์ประกอบศิลป์ในด้านการออกแบบหน้าเว็บไซต์ให้มีจุดสนใจ การ เลอื กใช้สีพนื้ หลัง จติ วิทยาการใชส้ ที มี่ องเหน็ แลว้ มผี ลตอ่ อารมณแ์ ละความรสู้ กึ ดังตวั อย่างภาพที่ 3.27 ภาพท่ี 3.27 แสดงการออกแบบเวบ็ ไซต์ ที่มา : มารีอา นามวงศ์, ออนไลน,์ 2563 7.6 งานออกแบบมลั ติมเี ดีย (Multimedia) ปัจจุบันความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ช่วยให้นักออกแบบมัลติมีเดียสามารถประยุกตส์ ื่อต่าง ๆ ให้มาอยู่รวมกันได้บนระบบคอมพวิ เตอร์ โดยที่ผู้ใช้งานจะสามารถโต้ตอบกบั ระบบคอมพิวเตอร์ได้ด้วย วธิ ีการตา่ ง ๆ มลั ติมีเดียคอื การใช้สือ่ มากกว่า 1 ส่ือร่วมกนั นำเสนอข้อมูลข่าวสาร โดยมีจุดมุ่งหมายให้ผู้ รีบสื่อสามารถรับรู้ข่าวสารได้มากกว่า 1 ช่องทางผ่านการควบคุมการใช้และโต้ตอบด้วยระบบ คอมพิวเตอร์ ทั้งคอมพิวเตอร์ส่วนบคุ คล หรอื คอมพวิ เตอรท์ ่ีมีลักษณะเปน็ เครือข่าย ปจั จบุ นั มีการพัฒนา รูปแบบของมัลติมีเดียให้สอดคล้องกับการเรียนรู้ สื่อประเภทน้ีไม่ได้เป็นเพียงรูปแบบของบทเรียนแบบ โปรแกรมที่ให้เพียง เนื้อหา คำถามและคำตอบ แต่ได้รับการออกแบบให้เปิดกว้างสำหรับการสำรวจ กระตุน้ ใหผ้ ู้เรียนได้คิดคน้ สืบค้นมากขนึ้ เทคโนโลยเี หลา่ นไ้ี ด้พฒั นาขึ้นพร้อมกับการพฒั นาฮาร์ดแวร์ เช่น ระบบจอสัมผัสท่ีใช้เกมส์หรอื โฆษณา เป็นต้น งานมลั ตมิ ีเดยี และงานแอนิเมชั่นจะมีความคาบเกี่ยวกันอยู่ เพราะเป็นงานที่ได้ผลลัพธ์ออกมาเป็นภาพเคลื่อนไหวทั้งคู่ เพียงแต่จะแตกต่างกันตรงจุดประสงค์และ วิธีการทำงาน เช่น มัลติมีเดียจะมุ่งเน้นไปที่การตอบสนองกับผู้ใช้งาน โดยแอนิเมช่ันจะมุ่งเน้นไปที่การ เลา่ เร่อื งราว งานมัลตมิ ีเดียทีด่ คี วรจะประกอบไปดว้ ยหลักการในการออกแบบดังต่อไปน้ี 7.6.1 งานกราฟิกสะท้อนบคุ ลิกของงานเปน็ อย่างดแี ละมีลูกเล่นทีน่ ่าสนใจ 7.6.2 เน้ือหาสาระสำคัญที่งา่ ยตอ่ ความเขา้ ใจและโครงสรา้ งทดี่ ีมผี ลต่อการรบั รู้ ผเู้ รียบเรียง นางนิตยา เสาหงษ์ ครูชำนาญการ วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาเทคโนโลยีฐานวทิ ยาศาสตร์ (ชลบุรี)

หนว่ ยท่ี 3 ศลิ ปะกับคอมพิวเตอร์กราฟกิ ห น้ า | 31 7.6.3 ใช้ส่วนประกอบขององค์ประกอบศิลปแ์ ละหลักการจัดองค์ประกอบภาพมาใช้ในการ ออกแบบเพื่อใหง้ านสวยงาม ดึงดูดความสนใจแก่ผ้พู บเหน็ ดงั ตวั อย่างภาพท่ี 3.28 ภาพที่ 3.28 แสดงการออกแบบงานมลั ติมเี ดีย ทม่ี า : ฐาปนี เพ็งสุข, ออนไลน์, 2563 7.7 งานแอนเิ มชั่น (Animation) พื้นฐานของงานแอนิเมช่ันก็คือ การเล่าเรื่องด้วยกราฟิกที่เคลื่อนไหวได้ โดยอาจเป็นกราฟิกท่ี สร้างขน้ึ หรอื เป็นการถ่ายหนังจริง ๆ หรือผสมกันกไ็ ด้ โดยหลักการแลว้ ไม่ว่าจะสรา้ งภาพหรือเฟรมด้วยวิธี ใดก็ตามเมื่อนำภาพดังกล่าวมาฉายต่อกันดว้ ยความเรว็ ต้ังแต่ 16 เฟรมต่อวินาทีขึ้นไป จะเห็นเหมือนวา่ ภาพดังกล่าวเคลื่อนไหวไดต้ อ่ เน่ืองกัน ทั้งนี้เน่อื งจากการเห็นภาพติดตา การออกแบบเน้นการจัดวางวัตถุ และการจัดองคป์ ระกอบของภาพตามหลักองค์ประกอบศิลป์ ดงั ตัวอยา่ งภาพที่ 3.29 ภาพท่ี 3.29 แสดงการออกแบบงานแอนิเมชั่น ท่มี า : ดวงพร ไม้ประเสริฐ, ออนไลน,์ 2563 7.8 งานโฆษณา งานโฆษณาเป็นการประกาศสินค้าหรือบรกิ ารใหป้ ระชาชนโดยทว่ั ไปทราบ เปน็ เครื่องมอื ส่ือสาร ทางการตลาดเพื่อบอกเล่าให้ผูบ้ ริโภครู้ถึงคุณค่าและความแตกต่าง รู้จักและกอ่ ให้เกิดพฤติกรรมการซอื้ สินค้าหรือใช้บริการนั้น ในอดีตการเริ่มต้นของการโฆษณาจะเป็นลักษณะของการรอ้ งประกาศเชิญชวน ปจั จบุ นั การโฆษณาทำได้ตามส่ือต่าง ๆ เชน่ ส่ือส่ิงพิมพ์ สือ่ โทรทัศน์ ส่อื วทิ ยุ เป็นต้น หลักการออกแบบ งานโฆษณาตามหลักการขององค์ประกอบศิลป์ ต้องคำนึงถึงรูปร่างของงานพิมพ์ จุดสนใจของงานพมิ พ์ ผเู้ รยี บเรียง นางนติ ยา เสาหงษ์ ครชู ำนาญการ วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาเทคโนโลยีฐานวทิ ยาศาสตร์ (ชลบรุ ี)

หนว่ ยท่ี 3 ศลิ ปะกบั คอมพวิ เตอร์กราฟกิ ห น้ า | 32 การจัดบรเิ วณว่างสำหรบั รองรบั รูปภาพ ตัวอกั ษร การใช้ทฤษฏีสีเพอ่ื สรา้ งความสนใจของงาน ดังตัวอย่าง ภาพท่ี 3.30 ภาพท่ี 3.30 แสดงการออกแบบงานโฆษณา ทม่ี า : วรรณธนา จริ มหาศาล, ออนไลน,์ 2563 7.9 งานภาพยนตร์ ปัจจุบันภาพยนตรม์ ักใช้คอมพวิ เตอร์กราฟิกในการช่วยตอบสนองการสร้างภาพที่ไม่มีขดี จำกัด ภาพยนตร์คือ ภาพนิง่ หลาย ๆ ภาพมาเรยี งตอ่ กันอยา่ งตอ่ เน่ืองใช้หลักการท่ีเรียกวา่ การเห็นภาพตดิ ตา (Persistence of vision) และเมอ่ื นำเอาภาพนิง่ เหล่าน้นั มาฉายดูทีละภาพด้วยอัตราความเร็วในการฉาย ต่อภาพเท่า ๆ กัน สายตามนุษย์จะยังคงรักษาภาพไวท้ ี่จอประสาทตาเปน็ ช่วงระยะส้นั ๆ ประมาณ 1 สว่ น 3 วินาที ถ้าหากภายในระยะเวลาดงั กล่าวมีอกี ภาพแทรกเข้ามาแทนที่ สมองของคนจะเช่ือมโยงสองภาพ เข้าด้วยกัน ในกรณีที่ภาพแต่ละภาพท่ีมองเหน็ เป็นภาพที่แสดงใหเ้ ห็นถึงความสอดคล้องในลักษณะของ การเคล่ือนไหว เมอ่ื นำมาเรียงตอ่ กนั ในระยะเวลากระชน้ั ชิดภาพน่ิงเหล่านั้นจะกลายเปน็ ภาพเคลื่อนไหว ทต่ี อ่ เน่ืองกันเปน็ ธรรมชาติ ปจั จุบันความเร็วท่ีใช้ในการถ่ายทำคือ 24 เฟรมตอ่ 1 วินาที ดงั ตัวอย่างภาพ ท่ี 3.31 ภาพที่ 3.31 แสดงการออกแบบงานภาพยนตร์ ทมี่ า : Pinterest, ออนไลน,์ 2563 ผเู้ รียบเรยี ง นางนติ ยา เสาหงษ์ ครชู ำนาญการ วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาเทคโนโลยีฐานวทิ ยาศาสตร์ (ชลบรุ ี)

หนว่ ยที่ 3 ศิลปะกบั คอมพวิ เตอร์กราฟิก ห น้ า | 33 สรปุ สาระสำคัญประจำหน่วยท่ี 3 ศลิ ปะกบั งานดา้ นคอมพิวเตอรก์ ราฟกิ มปี ระโยชนม์ ากทง้ั ในระบบการศึกษา การอบรม การวจิ ัย และการจำลองการทำงาน เชน่ จำลองการขบั รถ การขับเครอ่ื งบนิ เกมส์คอมพวิ เตอรห์ รอื วิดโี อเกมส์ ก็ใช้ หลักการทำเคลื่อนไหวจึงมีประโยชน์มากทั้งในระบบการศึกษา การอบรม การวิจัยและการจำลองการ ทำงาน เช่น จำลองการขับรถ การขับเครื่องบิน เกมส์คอมพิวเตอร์หรือวิดีโอเกมส์ ก็ใช้หลักการทำ ภาพเคลื่อนไหวในคอมพวิ เตอรก์ ราฟิก การจัดภาพหรือองค์ประกอบของภาพ ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Composition หมายถึง การ นำเอาทัศนธาตตุ ่าง ๆ รวมเข้าด้วยกัน กำหนดการจดั วางตำแหนง่ ท่ีเหมาะสมหรือตามความตอ้ งการ ซึ่ง ส่งิ ต่าง ๆ ทกี่ ล่าวมานมี้ นษุ ย์ได้ทำขึน้ เพือ่ สนองความต้องการทางดา้ นจิตใจ คุณคา่ ของงานศิลปะ แบ่งได้ เป็น 2 ด้าน คือ การจัดภาพใหม้ ีคุณค่าในดา้ นความงาม (Aesthetic Value) และการจัดภาพให้มีคุณคา่ ในด้านเรอื่ งราว (Content Value) รปู แบบของการจดั องค์ประกอบของภาพ มี 3 รปู แบบได้แก่ 1. การจัดองค์ประกอบแบบทางเดียว Unity 2. การจัดองคป์ ระกอบแบบสมดุล (Balance) 3. การจดั องคป์ ระกอบแบบเนน้ จุดสนใจ (Point of interest) งานออกแบบงานกราฟิก คือ งานศิลปะแขนงหนึ่งในงานประยุกต์ศิลป์และงานพาณิชย์ศิลป์ เนน้ เนื้อหาในด้านการส่ือสารเปน็ สำคัญ สามารถสอ่ื ความหมายที่ต้องการบอกถงึ ผู้ชม ไมจ่ ำกัดว่าจะเป็น ภาพวาด ภาพเชงิ สญั ลักษณ์ รวมถงึ ภาพถา่ ย งานออกแบบกราฟิกจึงนับเปน็ งานศิลปะท่ีมีเทคนิคในการ สร้างสรรค์ได้หลากหลาย ในอดีตงานออกแบบกราฟกิ สว่ นใหญ่ออกแบบโดยการวาดภาพเป็นหลัก หรือ อาจใช้ผสมผสานกันร่วมกบั งานภาพถา่ ยเพือ่ ส่อื สารในสิ่งท่ีจะบอกเล่าผ่านงานออกแบบ ประเภทของงานออกแบบกราฟกิ ประกอบดว้ ย 1. งานกราฟฟิกบนสือ่ โฆษณาสิง่ พิมพ์ 2. การออกแบบเคร่ืองหมายและสญั ลักษณ์ 3. งานกราฟิกบรรจุภณั ฑ์ องคป์ ระกอบของงานออกแบบงานกราฟกิ เป็นสว่ นสำคัญทจี่ ะสรา้ งสรรค์ความสุนทรยี ภาพบน งานออกแบบ มีองค์ประกอบอยู่ 2 ส่วน คือ อกั ษรและตัวพิมพ์ และภาพและสว่ นประกอบตกแตง่ ภาพ ผเู้ รียบเรียง นางนติ ยา เสาหงษ์ ครชู ำนาญการ วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาเทคโนโลยฐี านวทิ ยาศาสตร์ (ชลบรุ ี)

หนว่ ยท่ี 3 ศลิ ปะกบั คอมพิวเตอรก์ ราฟิก ห น้ า | 34 กราฟิก (Graphic) หมายถึง งานทตี่ ้องการแสดงความจรงิ หรอื ความคิดผ่านการส่ือความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายได้ ถูกตอ้ งตรงตามทีผ่ ู้สอ่ื สารตอ้ งการ โดยปกติแลว้ งานทางด้านกราฟิกจะแสดงผลให้เหน็ ในลกั ษณะของ ภาพที่เรียกว่า ภาพกราฟิก 2 ประเภท ได้แก่ ภาพกราฟิกแบบ 2 มิติ (2 Dimension: 2D) และ ภาพกราฟิกแบบ 3 มติ ิ (3 Dimension: 3D) หลักการทำงานของภาพกราฟิก คือการทำงานกับภาพท่ีเกิดบนจอภาพคอมพิวเตอร์ เกิดจาก การทำงานโหมดสี RGB ซ่ึงประกอบดว้ ยสแี ดง (Red) สีเขยี ว (Green) และสีน้ำเงิน (Blue) โดยใช้หลกั ยิง ประจุไฟฟ้าให้เกิดการเปล่งแสงของสีทั้ง 3 สีมาผสมกันทำให้เกิดเป็นจุดสีสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ที่เรียกว่า พกิ เซล (Pixel) ซ่งึ มาจากคำวา่ Picture กบั Element โดยพกิ เซลจะมีหลากหลายสี เมอ่ื นำมาวางต่อกัน จะเกิดเป็นรูปภาพซึ่งภาพที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์มี 2 ประเภท คือ แบบ Raster กับ Vector และ ประเภทของไฟลภ์ าพกราฟกิ ท่ีนิยมใช้โดยทวั่ ไป คือ JPEG GIF PNG BMP TIF PSD สที ใ่ี ชใ้ นงานดา้ นกราฟกิ มอี ยู่ดว้ ยกนั 4 ระบบ คอื 1. ระบบสแี บบ RGB ตามหลกั การแสดงสีของเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ 2. ระบบสีแบบ CMYK ตามหลกั การแสดงสขี องเครื่องพมิ พ์ 3. ระบบสีแบบ HSB ตามหลกั การมองเห็นสขี องสายตามนุษย์ 4. ระบบสแี บบ Lab ตามมาตรฐานของ CIE ซ่งึ ไมข่ นึ้ อยกู่ ับอปุ กรณ์ใดๆ โปรแกรมทีใ่ ชส้ ำหรับสร้างงานกราฟฟกิ มดี งั น้ี 1. โปรแกรม Adobe Photoshop 2. โปรแกรม Adobe Illustrator 3. โปรแกรม Adobe InDesign 4. โปรแกรม Sweet Home 3D 5. โปรแกรม GoogleSketchUpWEN 6. โปรแกรม PhotoScapeSetup งานกราฟิกสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้กับงานด้านตา่ ง ๆ ดงั น้ีคือ 1. งานออกแบบส่ือสิ่งพมิ พ์ (Print Design) 2. งานออกแบบตวั อกั ษร (Type Design) 3. งานอนิ ฟอร์เมชันดีไซน์ (Information Design) 4. งานอินเตอร์แอค็ ทีฟกราฟิก (Interactive Graphic) 5. งานออกแบบเวบ็ ไซต์ (Website Design) 6. งานออกแบบมัลติมีเดีย (Multimedia) 7.งานแอนเิ มชัน (Animation) 7. งานโฆษณา 8. งานภาพยนตร์ ผเู้ รยี บเรียง นางนิตยา เสาหงษ์ ครูชำนาญการ วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาเทคโนโลยีฐานวทิ ยาศาสตร์ (ชลบุรี)