มส การหมั้น 1-51 กจิ กรรม 1.3.2 1. นายสมชายทำการหม้ันนางสาวสนธยาด้วยแหวนเพชร 1 วง โดยกำหนดทำการสมรสกันในวันที่ 25 มิถนุ ายน พ.ศ. 2554 นางสาวส นธยาจ ึงไดว้ า่ จ า้ งชา่ งตัดเส้ือให้ตัดช ุดเจา้ สาวเป็นเงิน 2,000 บาท ไปต ดิ ตอ่ เชา่ สโมสรช าวสวนเพอ่ื ใชเ้ ปน็ ท จ่ี ดั ง านก นิ เลยี้ งว นั ส มรสโดยว างม ดั จำไวเ้ ปน็ เงนิ 3,000 บาท และไปเทยี่ วเตรก่ บั น าย สายันตล์ ำพงั สองตอ่ ส อง ท้งั ยนิ ยอมใหม้ ีก ารถ กู เนอ้ื ต อ้ งต ัวก ันบ้างต ามสมควร ในว นั ที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 นายส ายันตไ์ด้จดทะเบียนส มรสก ับนางสาวนิทรา เช่นน้ี นางสาวส มชายจ ะร บิ แ หวนเพชรแ ละเรยี กร อ้ งใหน้ ายส าย นั ตร์ บั ผ ดิ ช ดใชค้ า่ ท ดแทนค วามเสยี ห ายท นั ที โดยไม่ต อ้ งรอใหถ้ งึ วนั ที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2554 จะไดห้ รือไม่ เพยี งใด 2. นายส มบตั ทิ ำส ญั ญาห มน้ั น างสาวม ยรุ ดี ว้ ยท องแ ทง่ ห นกั 10 บาท กำหนดท ำการส มรสก นั ภ ายใน 3 เดอื น หลงั จ ากห มนั้ แ ลว้ น ายส มบตั ไิ ดใ้ ชจ้ า่ ยเงนิ เปน็ ค า่ ป รบั ปรงุ ซ อ่ มแซมบ า้ นเรอื นเพอื่ ใชเ้ ปน็ เรอื นห อ ซอ้ื เครอ่ื ง- เรอื นแ ละท นี่ อนห มอนม งุ้ ต ามท จี่ ำเปน็ เพอื่ เตรยี มก ารส มรสเปน็ เงนิ ร วมท ง้ั ส น้ิ 30,000 บาท ครนั้ ถ งึ ก ำหนดเวลา ทำการสมรส นางสาวม ยรุ ไี มย่ อมส มรสกับนายสมบัตโิดยอา้ งว ่าหมดรกั น ายสมบัตแิ ลว้ ดงั น้ี นายสมบัติจะมีสิทธิเรียกร้องทองแท่งหนัก 10 บาทคืน และเรียกร้องค่าทดแทนจำนวน 30,000 บาท จากน างสาวม ยุรไีด้หรอื ไม่ แนวต อบกิจกรรม 1.3.2 1. นายสมชายผิดสัญญาหมั้นท่ีทำไว้กับนางสาวสนธยาแล้วตั้งแต่เม่ือวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 นางสาวส นธยาจ ึงมสี ทิ ธิเรยี กร้องใหช้ ดใช้ค่าทดแทนความเสียหายให้แกต่ นได้ทันที โดยไมต่ อ้ งร อให้ถงึ ว นั ท่ี 25 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2554 นางสาวส นธยาจ งึ ม สี ทิ ธเิ รยี กร อ้ งใหช้ ดใชค้ า่ ท ดแทนค า่ ต ดั เสอ้ื ช ดุ เจา้ ส าว เพราะเปน็ ค า่ ใชจ้ า่ ย ในก ารเตรียมก ารสมรส แต่คา่ ว างม ัดจำสโมสรจัดงานเลีย้ งว นั สมรส ไมใ่ ชค่ ่าใช้จ่ายในก ารเตรยี มการสมรส ตาม มาตรา 1440 (2) จึงเรยี กไม่ได้ นอกจากนี้นางสาวสนธยายังมีสทิ ธิอย่างสมบูรณ์ในแหวนเพชรซ่งึ เป็นของหม้ัน ตามม าตรา 1437 วรรคสอง และเรยี กค า่ ทดแทนความเสยี หายตอ่ ก ายได้อีกด ้วย ตามมาตรา 1440 (1) 2. นายส มบตั เิ รยี กข องห มน้ั ท องแ ทง่ ห นกั 10 บาทค นื ได้ ตามม าตรา 1439 เนอื่ งจากฝ า่ ยห ญงิ ผ ดิ ส ญั ญา หมนั้ จึงตอ้ งคืนทองแท่งซงึ่ เป็นของหมนั้ แก่นายสมบัติชายคู่หม้ัน และสามารถเรียกค่าทดแทนจำนวน 30,000 บาทซึ่งเงินค่าปรับปรุงซ่อมแซมบ้านเรือนเพ่ือใช้เป็นเรือนหอค่าเคร่ืองเรือนและท่ีนอนหมอนมุ้ง โดยค่าใช้จ่าย ดงั กลา่ วถือเป็นค่าใชจ้ า่ ยในก ารเตร ียมการสมรสต ามมาตรา 1440 (2) มสธ มสธ มสธ มสธ มส
มส 1-52 กฎหมายแพ่ง 3: ครอบครัว มรดก มสธ ตอนท ่ี 1.4มสธ การส นิ้ สุดของส ัญญาห มนั้ มสธ โปรดอ่านห ัวเรื่อง แนวคิด และวัตถุประสงค์ข องตอนที่ 1.4 แล้วจ ึงศ ึกษาร ายล ะเอียดต่อไป หัวเร่อื ง 1.4.1 เหตุแ ห่งก ารส ิ้นส ุดข องสัญญาห มั้น 1.4.2 การเรียกค่าทดแทนในกรณีเลิกส ัญญาหมั้น 1.4.3 การเรียกค ่าท ดแทนจากผู้ล ่วงเกินคู่หมั้นทางป ระเวณี 1.4.4 สิทธิเรียกค ่าทดแทน และอายุความ แนวคิด 1. สัญญาหมั้นอาจมีการตกลงเลิกสัญญากันได้เหมือนกับสัญญาอื่นทั่วๆ ไป นอกจากนี้หากมีเหตุ สำคัญอันเกิดแก่ตัวคู่หมั้นฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งทำให้คู่หมั้นอีกฝ่ายหนึ่งไม่สมควรที่จะทำการสมรส ด้วย คู่หมั้นอีกฝ่ายหนึ่งมีสิทธิบอกเลิกสัญญาหมั้นเสียได้ และถ้าการบอกเลิกสัญญาหมั้นเป็น เพราะการกระทำชั่วอย่างร้ายแรง ก็ยังมีสิทธิเรียกค่าทดแทนเสมือนหนึ่งว่าเป็นผู้ผิดสัญญาหมั้น ด้วยก ็ได้ 2. การท ีค่ ูห่ มั้นถ ึงแกค่ วามต ายท ำใหส้ ัญญาห มั้นร ะงับส ิ้นไป และไมถ่ ือว่าค ูห่ มั้นท ีต่ ายผ ิดส ัญญาห มั้น ส่วนของหมั้นนั้น ไม่ว ่าช ายห รือหญิงต าย หญิงไม่ต้องค ืนของห มั้นให้แก่ฝ่ายช าย 3. ใ นกรณีที่บุคคลอื่นมาร่วมประเวณี หรือข่มขืนกระทำชำเรา หรือพยายามข่มขืนกระทำชำเรา คู่หมั้นของตน โดยรู้ถึงการหมั้นแล้วก็เท่ากับว่าผู้กระทำล่วงละเมิดสิทธิของคู่หมั้น คู่หมั้นจึงมี สิทธเรียกค ่าทดแทนจากผู้ก ระทำได้ 4. จำนวนค ่าท ดแทนค วามเสียห ายอ ันเนื่องม าจ ากก ารผ ิดส ัญญาห มั้นก ด็ ี การเลิกส ัญญาห มั้นก ด็ ี ศาล มีดุลพินิจท ี่จะกำหนดให้ตามควรแก่พฤติการณ์ สิทธิในการเรียกค ่าทดแทนในบางกรณีเป็นสิทธิ เฉพาะตัว ไม่อ าจโอนก ันได้ และจ ะต้องฟ้องคดีภายใน 6 เดือน มิฉะนั้นคดีขาดอ ายุความ วตั ถุประสงค์ เมื่อศ ึกษาต อนที่ 1.4 จบแล้ว นักศึกษาส ามารถ 1. อธิบายแ ละวินิจฉัยป ัญหาเกี่ยวกับเหตุแห่งก ารส ิ้นสุดข องสัญญาหมั้นได้ 2. อธิบายแ ละว ินิจฉัยป ัญหาเกี่ยวก ับการเรียกค ่าทดแทนในกรณีเลิกส ัญญาหมั้นได้ 3. อธิบายและวินิจฉัยปัญหาในการที่ชายหรือหญิงคู่หมั้นจะเรียกค ่าทดแทนจ ากผู้ซึ่งล่วงเกินคู่หมั้น ของต นทางประเวณีได้ 4. ว ินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการกำหนดจำนวนค่าเสียหายที่เกี่ยวกับสัญญาหมั้น การโอนสิทธิเรียก ค่าทดแทนดังก ล่าว และอายุค วามในการฟ ้องคดีได้ มสธ มส
มส การหมนั้ 1-53 เรอ่ื งท ่ี 1.4.1 เหตุแห่งการส ิน้ สดุ ข องส ญั ญาห ม้ัน มสธ มสธ ภายหลังจากที่การหมั้นเกิดขึ้นแล้ว สัญญาหมั้นอาจสิ้นสุดลงได้เช่นเดียวกัน ในบางกรณีการสิ้นสุดของ การหมั้นอ าจม าจากค วามยินยอมพร้อมใจของท ั้งช ายและห ญิงท ี่เป็นคู่หมั้น แต่ในบางก รณีก็อ าจจ ะเป็นการส ิ้นสุดลงมสธ โดยเหตุท ี่กฎหมายกำหนดไว้ ดังที่บ ัญญัติไว้ใน ปพพ. มาตรา 1441 ถึง มาตรา 1443 มาตรา 1441 “ถ้าค ู่ห มัน้ ฝ่ายหนึง่ ต ายกอ่ นสมรส อีกฝ ่ายหน่งึ จะเรยี กร ้องค่าทดแทนม ิได้ สว่ นของห มัน้ หรอื สินสอดน ้ัน ไม่ว่าชายห รอื ห ญงิ ต าย หญิงห รอื ฝ ่ายหญงิ ไม่ต้องคนื ให้แกฝ่ า่ ยชาย” มาตรา 1442 “ในก รณมี เี หตสุ ำคญั อ นั เกดิ แ กห่ ญงิ ค หู่ มนั้ ท ำใหช้ ายไมส่ มควรส มรสก บั ห ญงิ น น้ั ชายม สี ทิ ธบิ อก เลกิ สัญญาหมนั้ ได้ และให้หญิงค นื ของห ม้ันแกช่ าย” มาตรา 1443 “ในก รณมี เี หตสุ ำคญั อ นั เกดิ แ กช่ ายค หู่ มน้ั ท ำใหห้ ญงิ ไมส่ มควรส มรสก บั ช ายน น้ั หญงิ ม สี ทิ ธบิ อก เลิกสญั ญาห มนั้ ได้โดยม ิตอ้ งคืนข องห มน้ั แ ก่ช าย” ดังนั้น สัญญาหมั้นจ ึงอ าจส ิ้นส ุดลงต ามได้ด้วยเหตุที่ก ฎหมายก ำหนดไว้ 3 ประการ คือ 1. คสู่ ัญญาหมัน้ ท้ังส องฝ ่ายตกลงยินยอมเลิกส ัญญา สัญญาห มั้นเป็นส ัญญาท ี่เกิดข ึ้นภายใต้เจตนาข องช ายแ ละห ญิงเพื่อท ี่จ ะผูกพันก ันในเบื้องต ้นเพื่อท ี่จ ะนำไป สู่การสมรส ซึ่งส ัญญาห มั้นก็เหมือนส ัญญาอ ื่นๆ ทั่วไปท ี่เกิดจากความยินยอมพ ร้อมใจของช ายและหญิงทั้งสองฝ ่าย ในกรณีการเลิกสัญญาหมั้นก็เช่นเดียวกัน เมื่อคู่สัญญาหมั้นไม่ประสงค์ที่จะทำการสมรสต่อกัน คู่สัญญาก็อาจเลิก สัญญากันได้โดยตกลงยินยอมกันท ั้งส องฝ่าย การตกลงเลิกสัญญาหมั้นก ันนี้ อาจจะตกลงก ันด ้วยวาจา โดยไม่ต้อง ทำเป็นหนังสือมีพยานลงลายมือชื่อรับรองก็ได้ แค่เพียงคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายมีเจตนาถูกต้องตรงกันที่จะเลิกสัญญา หมั้น สัญญาหมั้นก็จะสิ้นสุดลง ภายหลังจากที่เลิกสัญญาหมั้นกันแล้วฝ่ายหญิงมีหน้าที่จะต้องคืนของหมั้น และสินสอดให้แก่ฝ่ายชาย ทั้งนี้เพราะตามหลักในเรื่องการเลิกสัญญาตาม ปพพ. มาตรา 391 นั้น เมื่อเลิกสัญญา กันแล้ว คู่กรณีต้องกลับคืนสู่ฐานะเดิมเหมือนหนึ่งไม่เคยทำสัญญาต่อกันเลย และคู่สัญญาจะเรียกค่าทดแทนอะไร จากกันไ ม่ได้ อย่างไรก็ดีการเลิกสัญญาหมั้นจะต้องเป็นการเห็นพ้องต้องกันทั้งสองฝ่าย หากเป็นกรณีที่ฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด บอกเลิกส ัญญาห มั้นเพียงล ำพังโดยทีไ่ม่มเีหตทุ ีจ่ ะอ ้างก ฎหมายได้ กรณเีช่นน ีฝ้ ่ายท ีบ่ อกเลิกจ ะเป็นผ ูท้ ีผ่ ิดส ัญญาห มั้น และน ำไปส ู่ความร ับผ ิดต ามที่บัญญัติไว้ใน ปพพ. มาตรา 1439 และม าตรา 1440 2. ค่หู มั้นถ ึงแก่ค วามต าย (มาตรา 1441) การท ี่ชายห รือห ญิงค ู่หมั้นฝ ่ายใดฝ ่ายหนึ่งถ ึงแก่ค วามต ายก ่อนที่จ ะได้ทำการสมรสก ัน เป็นเหตุทำให้สัญญา หมั้นระงับสิ้นลงโดยสภาพ เนื่องจากความตายทำให้สภาพบุคคลสิ้นสุดลงซึ่งส่งผลให้ไม่สามารถมีการสมรสเกิดขึ้น ในอนาคตได้อย่างแน่แท้ กฎหมายจึงกำหนดให้กรณีการตายนี้มิใช่เป็นการผิดสัญญาหมั้น มาตรา 1441 จึงบัญญัติ ให้ คู่หมั้นอีกฝ่ายหนึ่งจะเรียกเอาค่าทดแทนจากกันไม่ได้ สำหรับของหมั้นและสินสอดนั้นเนื่องจากกรรมสิทธิ์ได้ ตกไปเป็นข องห ญิงแ ละบ ดิ าม ารดา ผูร้ ับบ ุตรบ ุญธรรมห รือผ ูป้ กครองข องห ญิงไปแ ล้ว ตั้งแตเ่มื่อไดส้ ง่ ม อบท รัพย์สนิ ให้ ไป เมื่อการตายข องช ายหรือหญิงท ี่เกิดมีขึ้นม ิได้ถ ือว่าเป็นการท ี่ฝ ่ายใดผ ิดสัญญาหมั้นแล้ว ฝ่ายหญิงจ ึงไม่จ ำต ้องคืน มสธ มส
มส 1-54 กฎหมายแพ่ง 3: ครอบครัว มรดก มสธ ของห มั้นและส ินสอดให้ฝ่ายชาย ทั้งยังเป็นการส อดคล้องก ับป ระเพณีโบราณข องไทยเราที่เมื่อช ายคู่หมั้นถ ึงแก่ค วามมสธ ตาย หญิงคู่ห มั้นจะเก็บของห มั้นไว้ด ูต่างหน้าชายด้วย60 มสธ การที่กฎหมายบัญญัติให้หญิงหรือฝ่ายหญิงไม่ต้องคืนของหมั้นและสินสอด ไม่ว่าชายตายหรือหญิงตายนี้ เป็นบทบัญญัติที่เด็ดขาดโดยไม่คำนึงว่าความตายที่เกิดขึ้นนั้นเป็นเพราะความผิดของฝ่ายใดหรือไม่ แม้หลังจากที่ มีการหมั้นแล้วหญิงรู้สึกรังเกียจชายคู่หมั้นจึงฆ่าตัวตายเพื่อจะไม่ต้องสมรสกับชายคู่หมั้นก็ดี หรือหญิงคู่หมั้นหรือ บิดามารดาของหญิงคู่หมั้นจงใจฆ่าชายคู่หมั้นเพื่อที่จะไม่ต้องให้มีการสมรสเกิดขึ้นก็ได้ ในทั้งสองกรณีเช่นว่านี้ ฝ่ายหญิงก็ไม่ต้องคืนของหมั้นและสินสอดให้แก่ฝ่ายชายเช่นเดียวกันด้วย ในตอนที่พิจารณาเรื่องนี้ที่รัฐสภามีผู้ให้ ข้อสังเกตว่าการที่หญิงถึงแก่ความตายน่าจะต้องมีการคืนสินสอดให้แก่ฝ่ายชาย เพราะชายไม่ได้สมรสกับหญิงโดย ไม่ใช่ค วามผิดของชายด้วย แต่อีกฝ ่ายห นึ่งให้เหตุผลว่าที่หญิงถึงแก่ความต ายน ี้ก็ม ิใช่ความผ ิดของหญิงเช่นเดียวกัน ฝ่ายห ญิงต ้องเศร้าโศกเสียใจท ี่ห ญิงมาเสียชีวิตไปแล้วย ังจ ะต ้องม าเสียใจที่ถ ูกฝ่ายชายเรียกส ินสอดค ืนอีก แทนที่จะ ยังคงความสัมพันธ์ฐานะผู้สนิทสนมคุ้นเคยกันต่อไปตามเดิม และในทางเป็นจริงคงไม่มีหญิงใดที่จะฆ่าตัวตายเพื่อ หนีการสมรสเป็นแน่ จนในที่สุดจึงยอมรับในหลักการนี้ การตายที่จะเป็นเหตุให้สัญญาหมั้นระงับสิ้นลงนี้ หมายถึง การตายโดยธรรมชาติ ไม่หมายความรวมถึงการสาบสูญด้วย แต่หมายถึงการตายทุกกรณีไม่ว่าจะเกิดมาจากเหตุ ใดๆ เช่น หญิงคู่ห มั้นเกิดไปรักใคร่ชอบพอกับชายอ ื่น แต่ช ายอ ื่นน ั้นไม่ยอมสมรสด ้วย หญิงผ ิดหวังเสียใจเลยฆ ่าต ัว ตายเช่นนี้ สัญญาหมั้นเป็นอันระงับสิ้นลง และชายคู่หมั้นก็จะเรียกค่าทดแทนจากฝ่ายหญิงไม่ได้ เนื่องจากมิได้ผิด สัญญาหมั้นต ามมาตรา 1439 นอกจากนั้นแล้วในกรณีที่ชายและหญิงที่เป็นคู่หมั้นถึงแก่ความตายพร้อมกัน เช่น ชายและหญิงเดินทาง ไปเที่ยวด้วยกันแล้วประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์เสียชีวิตพร้อมกันทั้งคู่ แม้กฎหมายไม่ได้บัญญัติถึงกรณีที่ชายและ หญิงคู่ห มั้นถึงแก่ความตายพ ร้อมกันไว้อ ย่างช ัดเจนว่าจะต ้องค ืนของห มั้นหรือไม่ แต่กรณีด ังกล่าวจ ะเห็นได้ว่าการที่ กฎหมายกำหนดให้ฝ่ายหญิงไม่ต้องคืนของหมั้นไม่ว่าจะเป็นฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งตายก่อน ก็ย่อมที่จะครอบคลุมถึงกรณี ที่ทั้งส องฝ่ายถึงแก่ค วามต ายพร้อมก ันด ้วย61 ในกรณีที่มีคู่หมั้นฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งถึงแก่ความตายก่อนการสมรส กฎหมายบัญญัติไว้อย่างชัดเจนว่าไม่ต้อง คืนสินสอดและของหมั้น แต่ในทางตรงกันข้าม หากว่าเป็นทรัพย์สินอื่นที่ไม่ใช่สินสอดและของหมั้น กรณีเช่นนี้ ทรัพย์สินดังกล่าวต้องมีการส่งคืนให้แก่ฝ่ายชาย เช่น การเอาโฉนดที่ดินผูกโบว์ส่งให้ฝ่ายหญิงไว้ในวันหมั้น กรณี เช่นน ี้โฉนดท ี่ดินด ังก ล่าวไม่ใชข่ องห มั้นเพราะก ารท ี่จ ะเป็นข องห มั้นไดต้ ้องม ีก ารส ่งม อบให้ห ญิงในข ณะท ำส ัญญาห มั้น การจะโอนอสังหาริมทรัพย์กฎหมายกำหนดให้ต้องทำเป็นหนังสือและจดทะเบียนจึงจะมีผลสมบูรณ์ตามกฎหมาย ดังนั้นการส่งมอบโฉนดที่ดินดังกล่าวจึงไม่เป็นของหมั้น หากภายหลังชายหรือหญิงคู่หมั้นถึงแก่ความตาย ก็ต้อง ส่งมอบโฉนดท ี่ดินด ังก ล่าวกลับสู่ฝ ่ายชาย ฎ. 1089/2492 ฝ่ายห ญิงต กลงเรียกท องห มั้นหนัก 12 บาท ฝ่ายชายได้มอบท องห นัก 6 บาท ส่วนอ ีก 6 บาท ได้มอบโฉนดที่ดินให้ยึดถือไว้แทน โดยตีราคาเนื้อที่นาในโฉนดที่ดิน เท่ากับทองหนัก 6 บาท เมื่อชายตายโดยยัง ไม่ได้จดทะเบียนสมรส หญิงก็ได้แต่เก็บทอง 6 บาทไว้แล้วนั้น ตามมาตรา 1440 (ปัจจุบัน มาตรา 1441) ส่วนทอง อีก 6 บาทที่ยังไม่ได้มอบจึงไม่ใช่ของหมั้น หญิงจะเก็บเอาไว้ไม่ได้เพราะสัญญาหมั้นเลิกกันเพราะชายถึงแก่ ความต าย โฉนดท ี่ฝ ่ายชายว างไว้เป็นประกัน จึงไม่มีหนี้จะป ระกัน หญิงก็ยึดโฉนดไว้ไม่ได้ 60 ฎ. 1089/2492 61 ชาติชาย อัครวิบูลย์ เรื่องเดียวกัน น.113 มสธ มส
มส การหมั้น 1-55 มสธ 3. มีเหตสุ ำคญั อนั เกดิ แ กห่ ญิงค ูห่ มนั้ ห รือช ายคหู่ มัน้มสธ เมื่อได้ทำสัญญาหมั้นกันแล้วต่อมาภายหลังปรากฏว่ามีเหตุสำคัญอันเกิดแก่คู่หมั้นฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งทำให้มสธ อีกฝ่ายหนึ่งไม่สมควรสมรสด้วย คู่หมั้นอีกฝ่ายหนึ่งมีสิทธิบอกเลิกสัญญาหมั้นได้ เหตุสำคัญอันเกิดแก่คู่หมั้นนี้ หมายถึง เหตุที่จะกระทบกระเทือนถึงการสมรสที่จะมีต่อไประหว่างชายและหญิงคู่หมั้น อันจะก่อความไม่สงบขึ้น ในชีวิตสมรส เหตุสำคัญที่เกิดขึ้นจะเกิดจากอะไร หรือใครเป็นผู้ก่อก็ไม่สำคัญ จะเกิดจากธรรมชาติ อุบัติเหตุ จาก บคุ คลภ ายนอก หรอื จ ากค หู่ มัน้ เองก ไ็ ด้ โดยห ลกั แ ลว้ เหตอุ นั จ ะอ า้ งเอาม าเปน็ เหตฟุ อ้ งหยา่ เมือ่ ท ำการส มรสก นั แ ลว้ หาก เกดิ เหตนุ ัน้ ในร ะหวา่ งก ารห มัน้ ก ถ็ อื ไดว้ า่ เปน็ เหตสุ ำคญั ท จี่ ะบ อกเลกิ ส ญั ญาห มัน้ ก นั ไดด้ ว้ ย เชน่ เหตฟุ อ้ งหยา่ ต ามม าตรา 1516 (1) การท ภี่ รยิ าม ชี ู้ สามฟี อ้ งห ยา่ ไดเ้ มือ่ น ำม าป รบั ก บั ส ถานะข องช ายห ญงิ ร ะหวา่ งห มัน้ การท หี่ ญงิ น อกใจช ายคหู่ มัน้ ยอมเสียต ัวกับชายอ ื่น ก็นับว ่าเป็นเหตุสำคัญท ี่ช ายจะบ อกเลิกส ัญญาหมั้นได้ หรือเหตุฟ ้องหย่าตามม าตรา 1516 (10) ที่สามีหรือภริยามีสภาพแห่งกายไม่สามารถร่วมประเวณีได้ตลอดกาลนั้น หากปรากฏว่าชายคู่หมั้นมีสภาพแห่งกาย ที่ไม่สามารถร่วมประเวณีได้ตลอดกาล ก็ถือว่ามีเหตุสำคัญอันเกิดแก่ชายคู่หมั้น ทำให้หญิงคู่หมั้นมีสิทธิเลิกสัญญา หมั้นได้ เป็นต้น เหตุอื่นนอกเหนือจากเหตุหย่าตามมาตรา 1516 ก็อาจถือเป็นเหตุสำคัญได้ เช่น ชายทำสัญญาจะ นำของหมั้นมามอบให้ แต่กลับไม่นำมามอบให้ตามที่ตกลงกัน หญิงมีสิทธิที่จะปฏิเสธไม่ยอมทำการสมรสด้วยโดย บอกเลิกสัญญาหมั้นได้ ซึ่งเท่ากับว่าม ีเหตุสำคัญอันเกิดแก่ชายค ู่หมั้นนั่นเอง62 การบอกเลิกสัญญาหมั้นเพราะมีเหตุสำคัญอันเกิดแก่หญิงคู่หมั้นหรือชายคู่หมั้นนั้น โดยหลักแล้วไม่ว่า ฝ่ายชายหรือฝ่ายหญิง จะบอกเลิกสัญญาก็ตามจะเรียกค่าทดแทนจากกันไม่ได้ เช่น ชายหญิงทำสัญญาหมั้นกัน ต่อมาชายเกิดวิกลจริตไม่มีทางรักษาให้หายได้ ถือได้ว่ามีเหตุสำคัญอันเกิดแก่ชายคู่หมั้น หญิงคู่หมั้นมีสิทธิบอก เลิกสัญญาหมั้นได้ แต่หญิงคู่หมั้นจะเรียกค่าทดแทนอะไรจากชายคู่หมั้นไม่ได้ เป็นต้น อย่างไรก็ดี หากเหตุ สำคัญท ี่เกิดแ ก่ค ู่หมั้นนี้เป็นเพราะก ารกร ะท ำชั่วอย่างร้ายแรงข องคู่หมั้นฝ่ายนั้นที่ก ระทำล งภ ายหลังก ารห มั้น มาตรา 1444 บัญญัติข้อยกเว้นไว้ว่า คู่หมั้นผู้กระทำชั่วอย่างร้ายแรง ต้องรับผิดใช้ค่าทดแทนเสมือนเป็นผู้ผิดสัญญาหมั้น ตัวอย่างเช่น ภายหลังการหมั้นแล้ว หญิงคู่หมั้นยินยอมให้ชายอื่นร่วมประเวณีถือได้ว่ามีเหตุสำคัญอันเกิดจากหญิง คู่หมั้น ชายคู่หมั้นมีสิทธิบอกเลิกสัญญาหมั้นได้ และเหตุดังกล่าวถือได้ว่าเป็นการกระทำชั่วอย่างร้ายแรงของหญิง คู่ห มั้น ชายค ู่หมั้นจึงม ีสิทธิเรียกค ่าทดแทนจากหญิงคู่ห มั้นได้อีกด้วย อย่างไรก็ตามเหตุสำคัญที่จะทำให้สามารถบอกเลิกสัญญาหมั้นนั้นอาจเกิดก่อนหรือหลังทำสัญญาหมั้น ก็ได้ โดยพฤติการณ์ที่เกิดขึ้นจะเป็นเหตุสำคัญหรือไม่ ให้ใช้ความคิดเห็นของคนธรรมดาทั่วไปมาพิจารณา เว้นเสีย แต่ว่า คู่หมั้นฝ่ายหนึ่งได้ถือเอาเหตุใดเหตุหนึ่งเป็นสาระสำคัญและได้แสดงให้อีกฝ่ายทราบแล้วก่อนที่จะทำสัญญา ห มั้น เช่น สังคมไทยม องว่าความบ ริสุทธิ์ของชายไม่ใช่ส ิ่งส ำคัญอันเป็นส าระข องการหมั้น แต่หากฝ ่ายหญิงได้แสดง ออกอย่างชัดเจนให้ชายทราบตั้งแต่ก่อนทำการหมั้นแล้วว่า ถือเรื่องดังกล่าวเป็นสิ่งสำคัญ ดังนี้ การที่ฝ่ายชายเคยมี เพศส ัมพันธ์กับห ญิงอ ื่นม าก่อนจึงเป็นเหตุสำคัญให้บ อกเลิกสัญญาหมั้นได้ เหตุสำคัญที่ทำให้เกิดสิทธิในการบอกเลิกสัญญาหมั้นได้นั้น เหตุสำคัญดังกล่าวต้องเกิดกับตัวของคู่หมั้น เอง หากเป็นเหตุสำคัญที่เกิดกับบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องกับคู่หมั้นแต่ไม่ใช่ตัวคู่หมั้น เช่น บิดา มารดาของคู่หมั้นเป็น ผู้จำหน่ายยาเสพติดรายใหญ่ ดังนี้ อีกฝ่ายหนึ่งไม่อ าจท ี่จ ะยกเหตุส ำคัญม าบอ กเลิกส ัญญาหมั้นได้ เพราะ ไม่ใช่เหตุ สำคัญที่เกิดจ ากต ัวข องค ู่ห มั้นแต่อ ย่างใด 62 ฎ. 1089/2492 มสธ มส
มส 1-56 กฎหมายแพ่ง 3: ครอบครัว มรดก มสธ การเลิกส ัญญาหมั้นโดยมีเหตุสำคัญอันเกิดจากต ัวค ู่หมั้น สามารถแบ่งอ อกได้เป็นสองกรณี กล่าวคือมสธ (1) ชายบอกเลิกสัญญาหม้ันโดยมีเหตุสำคัญอันเกิดแก่หญิงคู่หมั้น (มาตรา 1442) ในกรณีที่มีเหตุสำคัญ เกิดก ับหญิงค ู่ห มั้นท ำให้ช ายไม่สมควรส มรสด ้วย กฎหมายให้สิทธิช ายท ี่จะบอกเลิกส ัญญาห มั้นได้ และห ญิงค ู่หมั้นมสธ ก็จะต ้องคืนของห มั้นให้แ ก่ชายด้วย เช่น หญิงคู่หมั้นเกิดวิกลจริตย ินยอมให้ชายอื่นร ่วมป ระเวณีในร ะหว่างการหมั้น หน้าถูกน้ำร้อนลวกจนเสียโฉม ได้รับอันตรายสาหัสจนต้องถูกตัดแขนทั้งสองข้าง หรือเป็นโรคติดต่ออย่างร้ายแรง เหล่านี้ ถือได้ว่ามีเหตุสำคัญอันเกิดแก่หญิงคู่หมั้น แต่การที่หญิงไม่ยอมให้ชายคู่หมั้นร่วมประเวณีด้วย ชายจะถือ เป็นเหตุสำคัญอันเกิดแก่หญิงคู่หมั้นไม่ได้ เพราะหญิงยังไม่มีหน้าที่ที่จะต้องอยู่กินด้วยกันฉันสามีภริยากับชาย อย่างไรก็ดีความบริสุทธิ์ของหญิงคู่หมั้น ถือว่ามีความสำคัญสำหรับการหมั้น ชายคู่หมั้นมีสิทธิที่จะสันนิษฐานไว้ ก่อนว่าหญิงคู่หมั้นยังคงเป็นพรหมจารี (chaste) เว้นแต่จะได้ทราบข้อความจริงเป็นอย่างอื่น ฉะนั้นหากภายหลัง การหมั้น ถ้าชายคู่หมั้นได้ทราบว่าหญิงคู่หมั้นไม่บริสุทธิ์ ไม่ว่าเหตุดังกล่าวจะได้เกิดขึ้นก่อนหรือหลังการหมั้น ชาย คู่ห มั้นก็ม ีส ิทธิบ อกเลิกส ัญญาหมั้นเสียได้ อุทาหรณ์ ฎ. 640/2494 ชายห ญิงท ำพ ิธีแ ต่งงานก ันต ามป ระเพณี แต่ห ญิงไม่ย อมห ลับน อนร ่วมป ระเวณีก ับช ายฉ ันส ามี ภริยาโดยแยกไปนอนเสียคนละห้องกับชาย อยู่มาประมาณ 10 วัน มารดาของหญิงบอกให้ชายพาหญิงเข้าห้องเอา เอง ชายจึงเข้าไปจ ับเอวหญิงอ อกม าจ ากห้องท ี่ห ญิงนอน หญิงฉ วยแจกันตีศรีษะชายแ ตก โลหิตอ อกแจกันหักแ ล้วยัง ใชแ้ จกันต ชี ายถ ูกโหนกแ ก้มเป็นบ าดแผลต ้องเย็บถ ึง 7 เข็ม ชายจ ึงก ลับบ ้านแ ละไมย่ อมจ ดท ะเบียนส มรสก ับห ญิง ดังนี้ ถือว่าก ารกร ะท ำข องห ญิงเป็นเหตุผลส ำคัญอ ันพ อทีจ่ ะท ำใหช้ ายป ฏิเสธไม่ย อมส มรสด ้วยห ญิงต าม ปพพ.มาตรา 1441 (ปัจจุบัน มาตรา 1442) ได้ ชายจึงม ีสิทธิเรียกของห มั้นคืนจากหญิงได้ ฎ. 1235/2506 ชายคู่หมั้นตั้งรังเกียจหญิงคู่หมั้น โดยหญิงคู่หมั้นนั่งซ้อนท้ายรถจักรยานซึ่งชายอื่นขี่เพื่อ ไปดูภาพยนตร์ในเวลากลางคืน มีเพื่อนไปด้วยกันรวม 7 คน แล้วชาวบ้านคิดเดาและลือกันว่าหญิงนั้นมีความ สัมพันธ์ทางชู้สาวกับชายที่ขี่จักรยานนั้น การที่หญิงคู่หมั้นกระทำเพียงเท่านี้ แล้วต่อมาหญิงนั้นไม่ยอมสมรสกับ ชายค ู่หมั้น ก็จ ะถือว่าเพราะมีเหตุผลสำคัญอันเกิดแต่ห ญิงน ั้นหาได้ไม่ หญิงนั้นจึงมิต้องค ืนข องหมั้นเพราะเหตุเช่นนี้ ชายค ู่ห มั้นห มิ่นประมาทหญิงคู่ห มั้นซึ่งเป็นการร ้ายแ รงตามความหมายในมาตรา 1500 (2) (ปัจจุบันตรงกับ มาตรา 1516 (3))แห่ง ปพพ.ย่อมเป็นเหตุผลอันสำคัญอันเกิดแต่ชายคู่หมั้นซึ่งหญิงคู่หมั้นจะไม่ยอมสมรสกับชาย นั้นโดยมิต้องคืนของหมั้นได้ ฎ. 1036/2524 โจทก์เป็นโรคจิตประสาทอย่างอ ่อน มีอาการเปลี่ยนแปลงทางอ ารมณ์ สามารถร ักษาให้ห าย ได้ และผู้ที่เป็นโรคนี้สามารถแต่งงานได้ จำเลยเคยพาโจทก์ออกไปเที่ยวนอกบ้านทั้งในเวลาก่อนและหลังหมั้นและ กว่าโจทก์จำเลยจะแต่งงานกันก็เป็นเวลาภายหลังหมั้นถึง 5 เดือนเศษ เมื่อจำเลยแต่งงานและอยู่กินกับโจทก์เป็น เวลา 3 เดือนเศษแล้วจำเลยปฏิเสธไม่ยอมไปจดทะเบียนสมรสกับโจทก์ ดังนี้ ถือไม่ได้ว่าเหตุที่ไม่มีการสมรสนั้น มีเหตุผลสำคัญอันเกิดแต่โจทก์ โจทก์จ ึงไม่ต้องคืนของหมั้น ในกรณีที่หญิงมีพฤติการณ์อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้นในทางที่ไม่เหมาะสม แต่พฤติการณ์ดังกล่าวไม่ถึงกับ เป็นเหตุสำคัญ เช่น หญิงตบหน้าชายคู่หมั้น เนื่องจากโกรธที่ชายหลบหนีไม่มาช่วยกันทำงาน กรณีเช่นนี้ฝ่ายชาย ไม่มีส ิทธิในก ารบ อกเลิกส ัญญาห มั้น หากฝ่ายช ายป ฏิเสธก ารสมรส ฝ่ายช ายจ ะเป็นผ ู้ผิดสัญญาห มั้นเสียเอง ฎ. 6385/2551 การท ี่โจทก์ท ี่ 2 ตกลงหมั้นหมายก ับจำเลยท ี่ 2 นั้น แสดงว ่าโจทก์ที่ 2 ประสงค์จ ะใช้ชีวิตคู่ ร่วมกับจำเลยที่ 2 และในฐานะคู่หมั้นโจทก์ที่ 2 ซึ่งเป็นฝ่ายหญิงย่อมต้องคาดหวังในตัวจำเลยที่ 2 ว่าจะเป็นผู้ที่ สามารถนำครอบครัวที่จะเกิดขึ้นในอนาคตไปสู่ความเจริญและมั่นคง การที่โจทก์ที่ 2 พยายามปลุกจำเลยที่ 2 ให้ต ื่นเพื่อไปช ่วยร ดน้ำข ้าวโพดอ ันเป็นง านท ี่อ ยู่ในว ิสัยท ี่จ ำเลยท ี่ 2 ช่วยเหลือได้ แต่จ ำเลยท ี่ 2 กลับอ ิดออด ซ้ำย ังห ลบ มสธ มส
มส การหมั้น 1-57 มสธ เข้าไปในห้อง เมื่อโจทก์ที่ 2 ตามเข้าไปก็ก ระโดดหนีอ อกทางป ระตูห ลังบ้าน แสดงให้เห็นว่าจ ำเลยท ี่ 2 หาได้เอาใจใส่มสธ ช่วยเหลือคู่หมั้นของตนตามที่ควรจะเป็น จึงย่อมเป็นธรรมดาที่โจทก์ 2 จะรู้สึกไม่พอใจและแสดงออกซึ่งความรู้สึก ไม่พอใจดังกล่าว ส่วนการที่โจทก์ที่ 2 ใช้มีดงัดกลอนประตูห้องรวมทั้งการวิ่งไล่ตามและตบหน้าจำเลยที่ 2 แม้จะมสธ เป็นเรื่องที่ไม่เหมาะสมและเกินเลยไปบ้างแต่ก็เชื่อว่าเป็นเรื่องของอารมณ์ชั่ววูบเท่านั้น หาใช่เป็นนิสัยที่แท้จริงของ โจทก์ท ี่ 2 ไม่ ทั้งนี้โจทก์ที่ 2 และจ ำเลยท ี่ 2 รู้จักกันมาต ั้งแต่ท ั้งส องฝ ่ายย ังเป็นเด็กย่อมต ้องท ราบนิสัยใจคอข องก ัน และกันเป็นอย่างดี หากโจทก์ที่ 2 มีค วามประพฤติไม่ดี จำเลยที่ 2 คงไม่ไปข อห มั้นโจทก์ที่ 2 เป็นแน่ หลังจากเกิด เหตุจำเลยที่ 2 ยังไปบ้านโจทก์ที่ 2 จำเลยที่ 1 พยายามไกล่เกลี่ยให้จำเลยที่ 2 สมรสกับโจทก์ที่ 2 แสดงว่าจำเลย ทั้งสองไม่ถือเอาเรื่องดังกล่าวเป็นสาระสำคัญและโกรธเคืองโจทก์ที่ 2 การกระทำของโจทก์ที่ 2 ดังกล่าวจึงยังไม่ใช่ เหตุสำคัญแก่คู่หมั้นอันทำให้ชายไม่สมควรสมรสกับหญิงนั้น เมื่อจำเลยที่ 2 ไม่ยอมสมรสกับโจทก์ที่ 2 จึงถือว่า จำเลยทั้งสองฝ่ายผิดสัญญาหมั้น โจทก์ทั้งสองจึงไม่ต้องคืนของหมั้นและมีสิทธิเรียกร้องให้จำเลยทั้งสองชำระ ค่าใช้จ่ายอันส มควรในการเตรีย มการส มรสได้ต าม ปพพ. มาตรา 1440(2) และสาเหตุที่จำเลยท ี่ 2 ไม่ยอมสมรสก ับ โจทก์ที่ 2 นั้น เนื่องจากจ ำเลยทั้งส องอ้างว ่าม ีเหตุสำคัญอันเกิดแก่โจทก์ที่ 2 ดังนั้นก ำหนดวันสมรสจึงไม่ใช่ข้อสำคัญ ที่จะนำมาพิจารณาว่าฝ่ายใดเป็นฝ่ายผิดสัญญาหมั้น จึงไม่จำต้องวินิฉัยว่าการหมั้นได้กำหนดวันสมรสไว้ล่วงหน้า หรือไ ม่ (2) หญิงบอกเลิกสัญญาหมั้นโดยมีเหตุสำคัญอันเกิดแก่ชายคู่หมั้น (มาตรา 1443) ในกรณีมีเหตุสำคัญ อันเกิดแก่ช ายคู่ห มั้นทำให้ห ญิงไม่สมควรส มรสก ับช ายนั้น มาตรา 1443 ให้สิทธิแก่หญิงค ู่หมั้นท ี่จะบ อกเลิกส ัญญา หมั้นได้โดยมิตัองคืนของหมั้นแก่ชาย กรณีเหตุสำคัญอันเกิดแก่ชายคู่หมั้นเป็นไปในทำนองเดียวกับกรณีมีเหตุ สำคัญอันเกิดแก่หญิงคู่หมั้นดังได้กล่าวมาแล้ว เช่น ชายไร้สมรรถภาพทางเพศ เป็นคนวิกลจริต หรือเป็นคนพิการ แต่สำหรับการที่ชายคู่หมั้นไปร่วมประเวณีกับหญิงอื่น ตามธรรมเนียมประเพณีของไทย ไม่ถือว่าเป็นเรื่องชั่วช้า น่าละอาย จึงไม่ถือเป็นเหตุที่หญิงจะไม่ยอมทำการสมรส แต่ถ้าชายไปเป็นชู้กับภริยาคนอื่นหรือไปข่มขืนกระทำ ชำเราหญิงอ ื่น ถือกันว ่าเป็นสิ่งที่น ่าอ ับอาย หญิงค ู่หมั้นม ีสิทธิไม่ยอมส มรสด ้วยได้ อย่างไรก็ด ี แม้เหตุสำคัญอันเกิด แก่ชายคู่หมั้นเกิดขึ้นเพราะความผิดของหญิงคู่หมั้นเอง หญิงคู่หมั้นก็ยังมีสิทธิบอกเลิกสัญญาหมั้นเสียได้ โดยไม่ ถือว่าหญิงเป็นฝ่ายผิดสัญญาหมั้น เช่น หญิงคู่หมั้นขับรถยนต์ไปกับชายคู่หมั้น แต่ขับรถโดยประมาทเลินเล่อ รถยนต์คว่ำ ทำให้ชายคู่หมั้นตาบอดทั้งสองข้าง หญิงคู่หมั้นก็ยังมีสิทธิบอกเลิกสัญญาหมั้นกับชายคู่หมั้นที่พิการ นี้ได้ อุทาหรณ์ ฎ. 234/2508 การที่ชายคู่หมั้นเลี้ยงหญิงโสเภณีไว้เป็นภริยาอยู่ในบ้านเป็นการกระทำอันเป็นปฏิปักษ์ต่อ จิตใจคู่หมั้นอย่างร้ายแรง จึงเป็นเหตุผลสำคัญอันเกิดแก่ชายคู่หมั้น หญิงคู่หมั้นจึงมีสิทธิขอถอนหมั้นและมีสิทธิจะ ไม่ต ้องคืนข องห มั้น ฎ. 3731/2533 การที่โจทก์ได้หญิงรับใช้ในบ้านเป็นภริยามาเป็นเวลานานถือได้ว่าโจทก์อุปการะเลี้ยงด ูและ ยกย่องหญิงอื่นฉันส ามีภ ริยาอยู่ จึงเป็นเหตุสำคัญเกิดแ ก่โจทก์ทำให้จำเลยซ ึ่งเป็นค ู่หมั้นไม่สมควรสมรสด ้วย จำเลย จึงมีสิทธิบอกเลิกส ัญญาหมั้นได้ โดยไม่ต ้องคืนของหมั้นแก่โจทก์ ในก รณีท ี่หญิงจะอ ้างเหตุสำคัญเพื่อบ อกเลิกสัญญาหมั้นโดยยกเหตุว ่าช ายค ู่หมั้นผิดปกติท างจ ิตน ั้น อาการ ดังกล่าวต้องมีลักษณะที่รุนแรงอันกระทบกระเทือนถึงการสมรสของชายและหญิง หากไม่สามารถแสดงให้ศาลเห็น ได้ ฝ่ายหญิงก็ไม่อาจยกเหตุนั้นมาอ้างว่าเป็นเหตุสำคัญที่เกิดกับชายมาเพื่อใช้สิทธิในการบอกเลิกสัญญาหมั้นตาม ปพพ.มาตรา 1443 ได้ มสธ มส
มส 1-58 กฎหมายแพ่ง 3: ครอบครัว มรดก มสธ ฎ.483/2533 จำเลยที่ 3 ไม่ยอมจดทะเบียนสมรสกับโจทก์ที่ 1 อ้างว่าโจทก์ที่ 1 มีสติไม่สมบูรณ์เหมือนมสธ คนธรรมดาและคล้ายกับปัญญาอ่อนแต่พฤติการณ์ยังไม่พอฟังว่าโจทก์ที่ 1 เป็นเช่นนั้นอันจะเป็นข้ออ้างที่มีเหตุ สำคัญในการไม่ยอมจ ดทะเบียนสมรส จำเลยจึงเป็นฝ ่ายผ ิดสัญญาหมั้น จำเลยท ั้งส ามตกลงร ับหมั้นจากฝ ่ายโจทก์พร้อมทั้งรับของหมั้นไว้เรียบร้อยแล้ว แม้จำเลยท ี่ 1 ที่ 2 ได้มอบ ของหมั้นทั้งหมดให้แก่จำเลยที่ 3 เมื่อจำเลยที่ 3 ไม่ยอมจดทะเบียนสมรสกับโจทก์ที่ 1 อันเป็นการผิดสัญญาหมั้น จำเลยทั้งสามซึ่งร ับของหมั้นไว้ก็ต ้องร ่วมกันค ืนข องห มั้นแก่ฝ ่ายโจทก์ กจิ กรรม 1.4.1 1. สัญญาหมน้ั จ ะร ะงับส นิ้ ล งดว้ ยเหตุใดบ้าง 2. นายแดงทำการหม้ันกับนางสาวขาว โดยมีนายสมชายเป็นพยานในสัญญาหมั้น หลังจากหม้ันแล้ว นายแ ดงไดไ้ ปเรยี นต อ่ ต า่ งป ระเทศ นายส มชายถ อื โอกาสม าเกย้ี วพ าราส นี างสาวข าว จนน างสาวข าวใจออ่ นย นิ ยอม ใหน้ ายส มชายก อดจ บู ล บู คลำถ งึ ก บั น อนเปลอื ยก ายอ ยดู่ ว้ ยก นั แตย่ งั ไมถ่ งึ ข นั้ ร ว่ มป ระเวณกี นั เมอ่ื น ายแ ดงก ลบั ม า จากต า่ งป ระเทศทราบเรื่องมีค วามประสงค์ทจ่ี ะปฏเิ สธไมย่ อมทำการสมรสก บั นางสาวขาวเช่นนี้ จงแ นะนำนาย แดงว่าจ ะม ีช อ่ งทางก ระทำไดต้ ามความป ระสงคห์ รอื ไม่ 3. ร.ท.สมยศ ทำการหมนั้ ก บั น างสาวสมศรี แล้วเดินทางไปร าชการสนามท เี่ ขาชอ่ งช ้าง ระหว่างอ อก ลาดตระเวน ร.ท.สมยศได้เหยียบก ับระเบิดข าขาดท ้ังส องข า้ ง นางสาวสมศรมี ีความร งั เกยี จไม่ตอ้ งการสมรสก ับ ร.ท.สมยศ ดังนี้นางสาวส มศรีจะบ อกเลิกส ัญญาหม้ันกบั ร.ท.สมยศ ไดห้ รือไม่ แนวตอบกิจกรรม 1.4.1 1. สญั ญาห ม้นั ร ะงับส น้ิ ล งด้วยเหตุ 3 ประการ คือ (1) คู่หมั้นท งั้ สองฝ่ายตกลงย นิ ยอมเลกิ สญั ญา (2) ชายค ู่หมัน้ ห รอื หญงิ ค หู่ ม้ันถ งึ แก่ค วามต าย และ (3) มเีหตสุ ำคัญอ ันเกิดแ กห่ ญิงค หู่ มน้ั หรอื ช ายคูห่ มัน้ 2. แนะนำน ายแ ดงว า่ การท น่ี างสาวข าวย นิ ยอมใหส้ มชายก อดจ บู ล บู คลำถ งึ ก บั น อนเปลอื ยก ายด ว้ ยก นั น้ี ถือได้ว่ามเี หตสุ ำคญั อ ันเกิดแกห่ ญงิ ค หู่ มั้น นายแดงค หู่ มั้นจึงมีสิทธบิ อกเลกิ ส ญั ญาหมนั้ ได้ ตาม ปพพ. มาตรา 1442 3. การท่ี ร.ท.สมยศ เป็นคนพกิ าร ขาขาดทั้งสองข้าง ถือได้ว่ามีเหตุสำคญั เกดิ แก่ชายคู่หม้ัน นางสาว สมศรีคู่หม้นั จ งึ มสี ทิ ธิบอกเลกิ ส ญั ญาห ม้ันได้ ตามปพพ. มาตรา 1443 มสธ มสธ มส
มส การหม้นั 1-59 เร่ืองที่ 1.4.2 การเรียกค า่ ท ดแทนในกรณเี ลกิ ส ญั ญาหมน้ั มสธ มสธ การเลิกสัญญาหมั้นหรือการถอนหมั้นมิใช่เป็นเรื่องผิดสัญญาหมั้น ฉะนั้นโดยหลักการแล้วคู่กรณีจะเรียก ค่าทดแทนจ ากกันไม่ได้ เช่น ชายหมั้นหญิงแ ล้วต ่อมาห ญิงคู่หมั้นเกิดตาบอดท ั้งส องข้าง ถือได้ว่ามีเหตุส ำคัญอันเกิดมสธ แก่หญิงคู่หมั้น ชายมีสิทธิบอกเลิกสัญญาหมั้นได้และมีสิทธิเพียงแต่จะเรียกของหมั้นคืนตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 1442 เท่านั้น ชายจะเรียกค่าทดแทนอย่างอื่นๆ จากหญิงอีกไม่ได้ หลักการเช่นว่านี้ยึดถือกันมาตั้งแต่ใช้ ปพพ. บรรพ 5 พ.ศ. 2478 เป็นต้นมา ครั้นเมื่อม ีการปรับปรุงแก้ไข บรรพ 5 ใน พ.ศ. 2519 กฎหมายได้เพิ่มเติมข ้อย กเว้น ตามม าตรา 1444 เพื่อเปิดโอกาสให้ช ายคู่หมั้นห รือหญิงคู่หมั้น มีสิทธิเรียกค ่าทดแทนก รณีเลิกส ัญญหมั้นได้ มาตรา 1444 “ถ้าเหตุอันทำให้คู่หมั้นบอกเลิกสัญญาหมั้น เป็นเพราะการกระทำชั่วอย่างร้ายแรงของคู่หม้ัน อีกฝ่ายหนึ่งซึ่งได้กระทำภายหลังการหมั้น คู่หมั้นผู้กระทำช่ัวอย่างร้ายแรงนั้นต้องรับผิดใช้ค่าทดแทนแก่คู่หมั้นผู้ใช้ สิทธิบอกเลกิ ส ัญญาห มน้ั เสมือนเปน็ ผผู้ ิดสัญญาหม้นั ” ถ้าการเลิกส ัญญาหมั้นน ั้นเป็นเพราะก ารกร ะทำช ั่วอ ย่างร ้ายแรงของค ู่ห มั้นภ ายหลังก ารหมั้น ความป ระพฤติ ที่ถือว่าเป็นการก ระทำชั่วอย่างร้ายแ รง หมายถึงค วามป ระพฤติป ฏิบัติท ี่ฝ่าฝืนศีลธ รรมห รือจารีตประเพณีซึ่งวิญญูชน รู้สึกได้ว่าเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง โดยความประพฤติชั่วร้ายแรงที่กระทำขึ้น อาจจะเป็นกรณีที่คู่หมั้นฝ่ายหนึ่งกระทำต่อ ตนเอง กระทำต่อคู่หมั้นอีกฝ่ายหนึ่ง หรือ กระทำต่อบุคคลที่สามก็ได้ ทั้งนี้โดยไม่คำนึงว่าจะเป็นความผิดทางอาญา หรือไม่ ตัวอย่างเช่น ไปปล้นทรัพย์ห รือฆ่าค นตาย ติดเฮโรอีน ชอบเล่นก ารพนันเป็นอาจิณ เป็นช ู้กับภ ริยาผู้อื่น ชอบ กระทำชำเราต่อเพศเดียวกัน หรือชำเราด้วยสัตว์เดียรัจฉาน เหล่านี้น่าจะถือว่าเป็นการประพฤติชั่วอย่างร้ายแรงได้ อย่างไรก็ดีการยุ่งเกี่ยวกับสุรา นารี พาชี กีฬาบัตร ชั่วครั้งชั่วคราวหรือโดยอัธยาศัยในการสมาคม น่าจะไม่ถือว่า เป็นการก ระทำช ั่ว แต่การกร ะทำชั่วนี้อาจจ ะเป็นความผ ิดท างอาญาหรือไม่ก็ได้ ซึ่งก็ต้องพ ิจารณาเป็นเรื่องๆ ไป เช่น การที่หญิงคู่หมั้นสมัครใจไปร่วมประเวณีกับชายอื่นแม้จะไม่เป็นความผิดทางอาญา ก็ชื่อได้ว่าเป็นการกระทำชั่ว อย่างร้ายแรง เป็นต้น การกระทำชั่วอย่างร้ายแรงที่จะเป็นเหตุให้ต้องรับผิดใช้ค่าทดแทนนี้จะต้องเกิดขึ้นภายหลังการหมั้น หาก เกิดข ึ้นก ่อนท ำสัญญาหมั้นจ ะเรียกค่าทดแทนไม่ได้ เช่น ชายค ู่หมั้นไปป ล้นธ นาคารเพื่อนำเงินสดม าห มั้นหญิง ต่อมา เมื่อห ญิงร ู้เรื่อง หญิงค ู่ห มั้นม ีส ิทธิเพียงแ ต่จ ะบ อกเลิกส ัญญาห มั้น โดยอ ้างว ่าม ีเหตุส ำคัญอ ันเกิดแ ก่ช ายค ู่ห มั้นเท่านั้น จะเรียกค่าทดแทนไม่ได้ เป็นต้น ค่าทดแทนที่จะเรียกเอาแก่กันนี้ มาตรา 1444 บัญญัติให้คู่หมั้นฝ่ายที่กระทำชั่ว อย่างร้ายแรงต้องร ับผิดเสมือนเป็นผู้ผ ิดสัญญาห มั้น โดยต้องรับผ ิดใช้ค่าท ดแทนตามมาตรา 1440 ที่มีอยู่ 3 ประการ คือ (1) ค่าทดแทนความเสียหายต่อกายหรือชื่อเสียง (2) ค่าทดแทนความเสียหายในการเตรียมการสมรส และ (3) ค่าทดแทนความเสียหายในการจัดการทรัพย์สินหรืออาชีพด้วยการคาดหมายว่าจะได้มีการสมรส เช่น เมื่อหมั้น กันแล้วหญิงคู่หมั้นสมัครใจไปร่วมประเวณีกับชายอื่น ถือได้ว่าหญิงคู่หมั้นกระทำชั่วอย่างร้ายแรง ชายคู่หมั้นย่อม มีสิทธิที่จะไม่ยอมสมรสกับหญิงคู่หมั้น และบอกเลิกสัญญาหมั้นโดยถือว่ามีเหตุสำคัญอันเกิดแก่หญิงคู่หมั้น เรียก ของหมั้นค ืน และเรียกค่าทดแทนทั้ง 3 ประการต ามที่มาตรา 1440 บัญญัติไว้ได้ด้วย การท ี่ค ู่ห มั้นฝ่ายท ี่ม ีสิทธิได้ค ่าท ดแทนต าม ปพพ. มาตรา 1444 หากต ้องการท ี่จะได้ร ับค่าท ดแทนดังก ล่าว คู่หมั้นฝ่ายนั้นมีหน้าที่ที่จะต้องบอกเลิกสัญญาหมั้นเสียก่อน แล้วค่อยใช้สิทธิเรียกค่าทดแทน จะทำการเรียก ค่าทดแทนโดยที่ไม่บอกเลิกสัญญาหมั้นไม่ได้ เนื่องจากการที่ไม่บอกเลิกสัญญาหมั้น เป็นการแสดงให้เห็นว่าคู่หมั้น มสธ มส
มส 1-60 กฎหมายแพ่ง 3: ครอบครัว มรดก ไม่ถือว่าการกระทำดังกล่าวเป็นเรื่องใหญ่โต หรือ อาจจะเป็นการแสดงให้เห็นถึงการยกโทษต่อการกระทำดังกล่าว แล้วก็ได้ เช่น นางสาวแดงทราบว่านายขาวคู่หมั้นตนไปกระทำชำเราเด็กผู้ชาย การกระทำดังกล่าวเป็นการกระทำชั่ว อย่างร้ายแรง แต่เนื่องจากนางสาวแดงรักนายขาวเป็นอย่างมาก ยังคงมีความต้องการที่จะสมรสกับนายขาวอยู่ จึงตัดสินใจไม่บอกเลิกสัญญาหมั้น ดังนี้ นางสาวแดงจึงไม่อาจที่จะเรียกค่าทดแทนเนื่องจากการกระทำชั่วอย่าง ร ้ายแรงของน ายข าวชายค ู่หมั้นได้ กิจกรรม 1.4.2 1. ชายห ญงิ ท ำส ญั ญาห มนั้ ก นั ตอ่ ม าห ญงิ เกดิ ว กิ ลจรติ ชายจ ะบ อกเลกิ ส ญั ญาห มนั้ แ ละเรยี กค า่ ท ดแทน จากหญิงได้หรือไม่ 2. นางสาวล ลนาร กั ใครช่ อบพอก บั น ายเดอ๋ แตเ่มอ่ื น ายไพโรจนม์ าต ดิ พนั น างสาวล ลนา นาวส าวล ลนา กลบั ร บั ห มน้ั น ายไพโรจนด์ ว้ ยเหว นเพชร 1 วง นายเดอ๋ แ มจ้ ะร วู้ า่ น างสาวล ลนาม คี หู่ มน้ั แ ลว้ ก ย็ งั พ ยายามม าม คี วาม สัมพันธ์ทางชู้สาวเช่นเดิม โดยมารับนางสาวลลนาไปค้างคืนที่อ่ืนและมีการกอดจูบลูบคลำกันเป็นประจำ โดย นางสาวล ลนาก ย็ นิ ยอมด ว้ ย นายไพโรจนร์ เู้ รอ่ื งเขา้ จะม ที างบ อกเลกิ ส ญั ญาห มนั้ แ ละเรยี กค า่ ท ดแทนจ ากน างสาว ลลนา รวมท ้ังเรยี กข องหมนั้ คืนได้บ า้ งหรือไม่ แนวตอบก จิ กรรม 1.4.2 1. หญิงคู่หม้ันเกิดวิกลจริต ชายคู่หม้ันมีสิทธิบอกเลิกสัญญาหมั้นได้ เพราะถือว่ามีเหตุสำคัญอันเกิด แก่ห ญิงคู่ห ม้ัน ตามม าตรา 1442 แตก่ รณีนไ้ีมใ่ ช่เป็นการกระทำชั่วอยา่ งร า้ ยแรง ชายคหู่ ม้ันจงึ จะเรียกค ่าทดแทน จากห ญงิ ค ูห่ ม้นั ไมไ่ ด้ กรณีไม่ตอ้ งด้วยม าตรา 1444 2. นายไพโรจน์ มสี ทิ ธบิ อกเลกิ ส ญั ญาห มนั้ โดยถ อื วา่ ม เี หตสุ ำคญั อ นั เกดิ แ กห่ ญงิ ค หู่ มน้ั แ ละเรยี กแ หวน หม้นั คนื ได้ ตามม าตรา 1442 และก ารกระท ำของน างสาวลลนาถอื ว่าเป็นการกระทำช่วั อยา่ งร ้ายแรง จงึ ต ้องร ับ ผิดช ดใช้คา่ ท ดแทนแ ก่นายไพโรจน์เสมอื นวา่ ตนเป็นผผู้ ิดสญั ญาหม้ัน ตามม าตรา 1444 ด้วย มสธ มสธ มสธ มสธ มส
มส การหม้นั 1-61 เรอื่ งท่ี 1.4.3 การเรียกค่าท ดแทนจากผ้ลู ่วงเกนิ ค ู่หม้ันทางป ระเวณี มสธ มสธ การผิดสัญญาหมั้นหรือการบอกเลิกสัญญาหมั้นเพราะเหตุสำคัญที่เกิดแก่ตัวคู่หมั้นที่นำไปสู่การรับผิดใน ค่าทดแทนนั้น โดยปกติจะเป็นการกระทำของคู่หมั้น เช่น การที่ชายไม่ยอมสมรสกับหญิงทำให้หญิงเกิดความมสธ เสียหายในชื่อเสียง หรือการที่หญิงคู่หมั้นติดยาเสพติดภายหลังจากการหมั้นซึ่งเป็นการกระทำชั่วร้ายแรง การ กระทำดังกล่าวส่งผลให้ตัวคู่หมั้นที่กระทำผิดอาจจะต้องจ่ายค่าทดแทน ซึ่งเห็นได้ว่าผู้ที่ต้องรับผิดคือตัวคู่หมั้นเอง อย่างไรก็ตาม กฎหมายได้บัญญัติถึงความรับผิดในเรื่องค่าทดแทนที่มีผลให้บุคคลภายนอกที่ไม่ใช่คู่หมั้นต้อง จ่ายค่าทดแทนไว้ใน 2 กรณี กล่าวค ือ (1)ในกรณีการท ี่บุคคลอื่นได้ร ่วมประเวณีก ับค ู่ห มั้น ตาม ปพพ.มาตรา 1445 และ (2) ในก รณีท ี่การที่บ ุคคลอื่นอ ื่นข่มขืนกระทำชำเราค ู่หมั้น ตามปพพ.มาตรา 1445 และม าตรา 1446 1. การท ีบ่ ุคคลอืน่ ร ่วมประเวณีกบั ค ่หู ม้นั มาตรา 1445 “ชายหรือหญิงคู่หม้ันอาจเรียกค่าทดแทนจากผู้ซ่ึงได้ร่วมประเวณีกับคู่หมั้นของตนโดยรู้หรือ ควรจะร ้ถู ึงก ารหม้นั เมือ่ ไดบ้ อกเลิกสญั ญาหมน้ั แ ล้วตามม าตรา 1442 หรอื มาตรา 1443 แล้วแ ต่กรณี” หลักก ารของม าตรา 1445 มีสาระสำคัญอยู่ 3 ประการ กล่าวคือ (1) มีการร่วมประเวณีระหว่างบุคคลอื่นกับคู่หม้ัน เดิมกฎหมายบัญญัติให้สิทธิชายคู่หมั้นมีสิทธิที่จะเรียก ค่าทดแทนจากชายอื่นที่ได้ล่วงเกินหญิงคู่หมั้นทางประเวณี ทั้งนี้สืบเนื่องมาจากหลักการที่กฎหมายยอมรับว่าชาย คู่หมั้นมีสิทธิในตัวหญิงคู่หมั้นที่จะไม่ให้ชายอื่นมาล่วงเกินทางประเวณี กฎหมายลักษณะผัวเมียเรียกการที่ชายอื่น มาร ่วมป ระเวณีก ับหญิงค ู่ห มั้นว ่าเป็นช ู้เหนือข ันหมากแ ละต ้องม ีก ารป รับไหมแ ก่ช ายช ู้ อย่างไรก ็ดีภ ายห ลังจ ากท ี่ม ีก าร แก้ไขเพิ่มเติม ปพพ. ได้เพิ่มเติมความค ุ้มครองค ู่หมั้นซึ่งแต่เดิมจ ะให้สิทธิเฉพาะฝ ่ายช ายในการฟ ้องช ายอ ื่นที่มาเป็น ชู้กับหญิงคู่หมั้นตน มาเป็นการให้สิทธิคู่หมั้นทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิงในการเรียกค่าทดแทนจากชายอื่นหรือหญิง อื่นที่มาล่วงเกินทางประเวณีกับคู่หมั้นตน อันเป็นการสอดคล้องหลักการตามรัฐธรรมนูญที่ให้สิทธิชายและหญิง อ ย่างเท่าเทียมก ัน ซึ่งเป็นไปตามหลักก ารให้ค วามคุ้มครองศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิเสรีภาพและค วามเสมอภาค โดยไม่เลือกปฏิบัติอันเป็นการไม่เป็นธรรมต่อบุคคลแตกต่างกันในทางเพศจึงส่งเสริมให้มีการบัญญัติความ เท่าเทียมกันแห่งสิทธิของชายและหญิง ซึ่งปรากฏขึ้นชัดเจนเป็นครั้งแรกในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517 และสืบสานต่อมาในฉ บับ 2540 จนถึงปัจจุบัน พุทธศักราช 2550 มาตรา 30 ที่ว่า “บุคคลย่อม เสมอกันในกฎหมาย และได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายเท่าเทียมกัน ชายและหญิงมีสิทธิเท่าเทียมกัน” ประกอบ กับมีแรงก ระตุ้นจ ากอ งค์กรพ ิทักษ์สตรี จนเป็นเหตุให้มีการแ ก้ไข ปพพ. (ฉบับท ี่ 16) พ.ศ. 2550 ในส่วนท ี่เกี่ยวกับ มาตรา 1445 และมาตรา 1446 ด้วยแ ละมีผ ลใช้บังคับนับแ ต่ว ันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2550 ดังน ั้น ในปัจจุบันหากว่า มีหญิงอื่นมาร่วมประเวณีกับชายคู่หมั้น หญิงคู่หมั้นมีสิทธิในการบอกเลิกสัญญาและเรียกค่าทดแทนจากหญิงที่มา ร่วมป ระเวณีกับชายค ู่ห มั้นได้เช่นกัน สำหรับค วามหมายข องคำว่า “การร่วมป ระเวณี” นั้น ผู้เขียนเห็นว่าจะมีความหมายจำกัดอ ยู่ที่การร ่วมเพศ กันระหว่างชายกับหญิงตามวิธีตามธรรมชาติ คือ ชายเอาของลับของตนสอดเข้าไปในช่องคลอดของหญิงไม่ว่ามาก น้อยแค่ไหนและจะสำเร็จความใคร่หรือไม่ก็ได้ การกระทำแก่ร่างกายหญิงโดยวิธีอื่น เช่น การสำเร็จความใคร่ทาง ปากหรือทวารหนัก หาใช่เป็นการร่วมประเวณีไม่ เป็นแต่เพียงการล่วงเกินในทำนองชู้สาวซึ่งชายคู่หมั้นยังไม่มีสิทธิ มสธ มส
มส 1-62 กฎหมายแพ่ง 3: ครอบครัว มรดก มสธ เรียกค่าทดแทนจากชายอื่นนั้น หรือกรณีที่หญิงคู่หมั้นยอมให้ชายอื่นเอาวัตถุอื่นใดสอดใส่ในช่องคลอดก็ไม่ใช่มสธ ความหมายของคำว่าร่วมประเวณีเช่นกัน นอกจากนั้นเมื่อความหมายของคำว่าร่วมประเวณีจำกัดอยู่ที่การร่วมเพศ ระหว่างชายกับหญิงเท่านั้น ดังนั้นผู้เขียนจึงมีความเห็นว่าการร่วมเพศระหว่างชายคู่หมั้นกับชายอื่น หรือการมสธ ร่วมเพศระหว่างหญิงคู่หมั้นกับหญิงอื่นก็ไม่อยู่ในข่ายที่จะเรียกค่าทดแทนตามมาตรา 1445 ได้แต่อย่างใด แม้ว่า จะมีก ารผ่าตัดแปลงเพศแ ล้วก็ตาม (ซึ่งส ่วนน ี้ต ่างจากคำว ่า “กระทำช ำเรา” ตาม ปอ. มาตรา 276 วรรคส อง) (2) ผู้ซ่ึงร่วมประเวณีรู้หรือควรรู้ว่าบุคคลที่ตนร่วมประเวณีด้วยนั้นได้หมั้นแล้ว เงื่อนไขสำคัญที่จะทำให้ ผู้ร่วมประเวณีกับคู่หมั้นต้องรับผิดชดใช้ค่าทดแทนได้นั้น จะต้องมีข้อเท็จจริงปรากฏว่าคู่หมั้นได้ยินยอมร่วม ป ระเวณกี ับบ ุคคลอ ื่นโดยบ ุคคลอ ื่นท ี่ร ่วมป ระเวณีน ั้นจ ะต ้องร ู้ห รือค วรจ ะร ู้ว ่าบ ุคคลท ี่ต นร ่วมป ระเวณีด ้วยน ั้นได้ห มั้น แล้ว แต่ไม่จำเป็นจะต้องรู้ถึงขนาดที่ว่าได้หมั้นกับใคร เนื่องจากการที่จะลงโทษให้บุคคลใดต้องชำระค่าทดแทนให้ คู่หมั้นข องคนที่ต นร่วมประเวณีด ้วย บุคคลนั้นก็ต้องเป็นบ ุคคลที่ส มควรจะถ ูกลงโทษ กล่าวค ือ รู้อยู่แล้วว่าคนท ี่ต น ไปร่วมประเวณีด้วยได้หมั้นหมายกับคนอื่นไว้แล้ว แต่ก็ยังเจตนาที่จะกระทำลงไป คนประเภทนี้จึงสมควรที่ถูก ลงโทษ แต่หากในทางตรงกันข้าม หากบุคคลหนึ่งไปร่วมประเวณีกับคนที่มีคู่หมั้นแล้ว โดยที่คนนั้นไม่รู้เรื่องอะไรที่ เกี่ยวกับการหมั้นเลย หรืออาจจะเป็นเพราะเชื่อโดยสุจริตว่าคนที่ตนร่วมประเวณีด้วยไม่ได้หมั้นหมายอยู่กับใคร เนื่องจากผู้ที่ตนร่วมประเวณีด้วยนั้นแสดงข้อความอันเป็นเท็จ กรณีเช่นนี้เห็นว่าบุคคลที่ร่วมประเวณีนั้นไม่ได้มี เจตนาจะยุ่งเกี่ยวก ับค นที่ม ีค ู่ห มั้นแล้ว คนประเภทนี้จึงไม่ควรถูกล งโทษให้จ ่ายค ่าทดแทน นอกจากกฎหมายจะกำหนดให้บุคคลที่ร่วมประเวณีโดยรู้ว่าคนที่ตนร่วมประเวณีด้วยนั้นมีคู่หมั้นแล้วต้อง จ่ายค่าทดแทน กฎหมายยังขยายความถึงบุคคลที่อยู่ในฐานะที่ “ควรจะรู้” อีกด้วย เช่น กรณีที่ชายที่ร่วมประเวณี กับหญิงคู่หมั้นอ้างว่าตนไม่ได้รู้ถึงการหมั้น แต่จากข้อเท็จจริงเห็นได้ว่าบ้านของชายคนนั้นอยู่ติดกับบ้านที่จัดงาน หมั้นอย่างเอิกเกริก มีการป่าวประกาศและแจกบัตรเชิญให้ทุกๆ บ้านในละแวกนั้นรวมถึงบ้านชายคนดังกล่าวด้วย กรณีเช่นนี้ชายค นดังก ล่าวอยู่ในฐานะควรจะร ู้ว่าค นที่ตนร่วมประเวณีด้วยน ั้นได้หมั้นแล้ว สำหรับการพิจารณาว่ารู้หรือควรรู้ว่าผู้ที่ตนร่วมประเวณีด้วยนั้นมีคู่หมั้นหรือไม่ ให้พิจารณาในช่วงเวลา ก่อนหรือขณะร่วมประเวณี หากว่าผู้กระทำรู้อยู่แล้วก่อนหรือในขณะที่ร่วมประเวณีว่าคนที่ตนร่วมประเวณีด้วยนั้น มีคู่หมั้นอยู่แล้ว ดังนี้จะต้องรับผิดชดใช้ค่าทดแทน แต่หากเป็นกรณีที่บุคคลดังกล่าวมาทราบภายหลังจากที่มีการ ร่วมประเวณีแล้วว่าคนที่ตนร่วมประเวณีด้วยนั้นมีคู่หมั้น ในกรณีนี้จะถือว่าบุคคลดังกล่าวรู้ไม่ได้ จึงไม่อาจเรียก ค่าท ดแทนได้ การท ี่จ ะเรียกค่าทดแทนได้ตามมาตรา 1445 นั้น การร ่วมประเวณีท ี่เกิดข ึ้นต้องม าจากก ารยินยอมพร้อมใจ ของคู่หมั้นกับบุคลลอื่น ซึ่งก็คือการสมัครใจร่วมประเวณีนั่นเอง เพราะหากว่าเป็นการที่ถูกบังคับให้ร่วมประเวณี หรือการร่วมประเวณีโดยไม่สมัครใจจะเข้าข่ายเป็นการข่มขืนกระทำชำเราซึ่งจะมีหลักเกณฑ์ในการเรียกค่าทดแทน ท ี่ต ่างออกไปด ังท ี่จ ะอธิบายต ่อไปในมาตรา 1446 (3) คู่หม้ันฝ่ายท่ีเสียหายได้บอกเลิกสัญญาหม้ันแล้ว คู่หมั้นอาจเรียกค่าทดแทนจากบุคคลอื่นซึ่งได้ร่วม ประเวณีกับคู่หมั้นของตนโดยรู้หรือควรจะรู้ว่าได้มีการหมั้นแล้วได้ก็ต่อเมื่อคู่หมั้นได้บอกเลิกสัญญาหมั้นตาม มาตรา 1442 แล้ว คู่หมั้นที่จะใช้สิทธิเรียกค่าทดแทนจากบุคคลอื่นที่ร่วมประเวณีกับคู่หมั้นตนจะต้องบอกเลิก ส ัญญาหมั้นก ับหญิงต ามมาตรา 1442 โดยถือว่ามีเหตุส ำคัญอันเกิดแ ก่หญิงคู่หมั้น แล้วจ ึงจะมีส ิทธิเรียกค่าทดแทน จากชายอื่นตามมาตรา 1445 นี้ และยังอาจเรียกค่าทดแทนจากหญิงคู่หมั้นโดยอ้างเหตุว่าเป็นการกระทำชั่วอย่าง ร้ายแรงตามมาตรา 1444 ดังที่กล่าวมาแล้วได้อีกด้วย อย่างไรก็ดีหากคู่หมั้นเพียงยินยอมให้บุคคลอื่นกอดจูบ ลูบคลำในทางชู้สาว คู่หมั้นอีกฝ่ายจะเรียกค่าทดแทนจากบุคคลอื่นไม่ได้ โดยจะเรียกค่าทดแทนได้แต่เฉพาะจาก ค ู่หมั้นข องตนท ี่ย ินยอมให้ม ีการกร ะทำดังก ล่าวซึ่งถ ือว่าเป็นการก ระทำชั่วอ ย่างร้ายแรงเท่านั้น มสธ มส
มส การหม้ัน 1-63 มสธ ในกรณีที่คู่หมั้นฝ่ายหนึ่งไปร่วมประเวณีก ับบ ุคคลอ ื่น โดยที่ค ู่หมั้นอ ีกฝ ่ายหนึ่งรู้เห็นเป็นใจด ้วย เช่น หญิงมสธ คู่หมั้นจัดหาหญิงอื่นมาให้ร่วมประเวณีกับชายคู่หมั้น กรณีเช่นนี้ หญิงคู่หมั้นไม่อาจที่จะบอกเลิกสัญญาหมั้นแล้ว เรียกค ่าทดแทนจ ากหญิงอ ื่นนั้น เนื่องจากต นเองได้ให้ความย ินยอมในการร ่วมประเวณีดังก ล่าวแ ล้วมสธ 2. การท ี่ผูอ้ ื่นข ม่ ขืนหรอื พยายามข ม่ ขืนก ระทำชำเราค ู่หม้ัน มาตรา 1446 “ชายหรือหญิงคู่หมั้นอาจเรียกค่าทดแทนจากผู้ซึ่งได้ข่มขืนกระทำชำเราหรือพยายามข่มขืน กระทำช ำเราคหู่ มนั้ ของต นโดยร หู้ รอื ค วรจะรูถ้ งึ การห มัน้ น ้นั ไดโ้ ดยไม่จ ำต อ้ งบ อกเลกิ สญั ญาหม้ัน” สาระสำคัญข องมาตรา 1446 สามารถแบ่งอ อกได้เป็น 3 ประการ กล่าวค ือ (1) มีการข่มขืนกระทำชำเราหรือพยายามข่มขืนกระทำชำเราคู่หม้ัน มาตรา 1446 ได้ให้การคุ้มครองชาย หรือหญิงคู่หมั้นให้สามารถเรียกค่าทดแทนจากผู้ซึ่งข่มขืนกระทำชำเราหรือพยายามข่มขืนกระทำชำเราคู่หมั้นของ ตนได้ ซึ่งความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเราที่บัญญัติไว้ใน ปอ. มาตรา 276 วรรคแรก บัญญัติว่า “ผู้ใดข่มขืนกระทำ ชำเราผู้อื่นโดยขู่เข็ญด้วยประการใดๆ โดยใช้กำลังประทุษร้ายโดยผู้อ่ืนนั้นอยู่ในภาวะที่ไม่สามารถขัดขืนได้ หรือ โดยทำให้ผู้อ่ืนน้ันเข้าใจผิดว่าตนเป็นบุคคลอื่นต้องระวางโทษ” บทบัญญัติดังกล่าวได้อธิบายถึงการข่มขืนว่าเป็น การกระทำชำเราโดยที่ฝ่ายหนึ่งไม่สมัครใจด้วย โดยอาจจะถูกบีบบังคับขู่เข็ญ ใช้กำลังประทุษร้าย หรืออาจจะอยู่ ในสภาพที่ไม่อาจขัดขืนได้ รวมทั้งกรณีที่เป็นการกระทำชำเราโดยทำให้ผู้ถูกกระทำเข้าใจผิดว่าผู้กระทำเป็นบุคคล อื่นที่ต นจะย ินยอมให้กระทำชำเรา เช่น คนรักหรือคู่หมั้น ภายหลังจากที่มีการแก้ไข ปอ. มาตรา 276 บทบัญญัติดังกล่าวได้มีการขยายขอบเขตของผู้ที่ถูกข่มขืน กระทำชำเราที่จากเดิมครอบคลุมเฉพาะฝ่ายหญิง กล่าวคือ หญิงเท่านั้นที่จะถูกข่มขืนกระทำชำเราได้ โดยชาย ไม่อาจที่จะถูกข่มขืนกระทำชำเราได้แต่อย่างใด แต่เมื่อมีการแก้ไข ปอ.แล้ว ขอบเขตของผู้ถูกกระทำก็ขยายรวมทั้ง ชายและหญิง ซึ่งก็คือ ชายและหญิงอาจถูกข่มขืนกระทำชำเราได้ทั้งคู่ โดยอาจเป็นการที่ชายข่มขืนหญิง หญิงข่มขืน ชาย ชายข่มขืนชาย หรือหญิงข่มขืนหญิงก็ได้ ดังนั้นหากกรณีที่หญิงคู่หมั้นถูกข่มขืนกระทำชำเรา ชายคู่หมั้น สามารถที่จะเรียกค่าทดแทนจากผู้กระทำได้ หรือในทางกลับกัน หากมีคนมาข่มขืนกระทำชำเราชายคู่หมั้น หญิง คู่หมั้นก็สามารถเรียกค ่าท ดแทนได้จ ากผ ู้ก ระทำได้ด้วยเช่นกัน การข่มขืนก ระทำช ำเรา มีความหมายอยู่ใน ปอ. มาตรา 276 วรรคส อง ซึ่งได้บัญญัติว่า “การกระทำชำเรา ตามวรรคหนึ่ง หมายความว่าการกระทำเพ่ือสนองความใคร่ของผู้กระทำโดยการใช้อวัยวะเพศของผู้กระทำ ก ระทำก บั อ วยั วะเพศ ทวารห นกั หรอื ช อ่ งป ากข องผ อู้ น่ื หรอื ก ารใชส้ ง่ิ อ นื่ ใดก ระทำก บั อ วยั วะเพศห รอื ท วารห นกั ข องผ ู้ อนื่ ” จากบทบัญญัติด ังก ล่าวเห็นได้ว่าการก ระทำชำเราจ ะม ีความห มายกว้างก ว่าคำว ่าร่วมประเวณี เนื่องจากห มายถึง การที่ผู้กระทำใช้อวัยวะเพศกับอวัยวะเพศ ช่องทวารหนัก หรือช่องปาก และยังรวมถึงการที่ใช้สิ่งอื่นใดกับอวัยวะ เพศหรือช่องทวารหนักของผู้ถูกกระทำอีกด้วย ดังนั้น หากชายคู่หมั้นถูกชายอื่นบังคับโดยเอาอวัยวะเพศหรือวัตถุ อื่นใดสอดใส่เข้าในทวารหนัก กรณีดังกล่าวก็อยู่ในความหมายของการข่มขืนกระทำชำเรา ซึ่งเปิดโอกาสให้หญิง คู่หมั้นเรียกค ่าทดแทนจากช ายผู้ข ่มขืนกระทำชำเราได้ อย่างไรก็ดี การล่วงเกินคู่หมั้นในทำนองชู้สาวโดยไม่มีเจตนากระทำชำเรา เช่น การกอดจูบลูบคลำอันเป็น การกระทำเพียงแค่อนาจารเท่านั้น ก็ยังไม่ถึงขั้นพยายามข่มขืนกระทำชำเรา คู่หมั้นจะเรียกค่าทดแทนจากผู้กระทำ ไม่ได้ เพราะกฎหมายถือว่าย ังไม่เป็นการล ะเมิดสิทธิของค ู่หมั้น (2) ผู้กระทำต้องรู้หรือควรรู้ว่าผู้ถูกกระทำมีคู่หมั้นอยู่แล้ว การข่มขืนกระทำชำเรานั้น ผู้กระทำมีโทษใน ทางอาญาและความรับผิดในทางแพ่งต่อผู้ถูกกระทำตามหลักเรื่องละเมิดใน ปพพ.มาตรา 420 อย่างไรก็ดี ปพพ. มาตรา 1446 ได้บัญญัติให้ ผู้กระทำจะต้องรับผิดจ่ายค่าทดแทนให้แก่ชายหรือหญิงซึ่งเป็นคู่หมั้นของผู้ที่ถูกข่มขืน มสธ มส
มส 1-64 กฎหมายแพ่ง 3: ครอบครัว มรดก มสธ กระทำชำเราด้วย หากว่าผู้ที่ข่มขืนกระทำชำเรารู้หรือควรรู้ถึงการหมั้น โดยความรู้หรือไม่รู้ถึงการหมั้นดังกล่าวเป็นมสธ ตัวช ีว้ ่าผ ูท้ ีข่ ่มขืนก ระทำช ำเราค วรต ้องร ับผ ิดต ่อช ายห รือห ญิงผ ูเ้ป็นค ูห่ มั้นข องผ ูถ้ ูกข ่มขืนก ระทำช ำเราห รือไม่ เนื่องจาก หากรู้แล้วว่าคนที่ตนข่มขืนกระทำชำเรามีคู่หมั้นอยู่ ก็ย่อมแสดงให้เห็นว่าสามารถเล็งเห็นถึงความผิดที่ทำลงไปนั้น ว่านอกจากจะเกิดความเสียหายในต ัวผู้ถ ูกข ่มขืนก ระทำช ำเราแ ล้ว ยังอ าจก ่อให้เกิดความเสียหายต่อคู่หมั้นข องผู้นั้น อีกด ้วย จึงส มควรท ี่จ ะต ้องจ ่ายค ่าท ดแทนให้แ ก่ช ายห รือห ญิงท ี่ค ู่ห มั้นถ ูกข ่มขืนก ระทำช ำเราน ั้นโดยถ ือเป็นการล ะเมิด สิทธิของช ายหรือห ญิงค ู่ห มั้นข องผู้ถ ูกข ่มขืนกระทำช ำเราโดยตรง (3) ชายห รอื ห ญงิ ค หู่ มน้ั ม สี ทิ ธเิ รยี กค า่ ท ดแทนจ ากผ กู้ ระทำก บั ค หู่ มน้ั ข องต นโดยไ มต่ อ้ งบ อกเลกิ ส ญั ญาห มน้ั การเรียกค่าทดแทนตามมาตรานี้ชายคู่หมั้นไม่จำเป็นต้องบอกเลิกสัญญาหมั้นก่อน ทั้งนี้เพราะกรณีนี้ไม่ใช่เป็นเรื่อง ที่คู่หมั้นยินยอมให้ร่วมประเวณี แต่เป็นเพราะบุคคลอื่นได้ใช้กำลังประทุษร้ายหรือขู่เข็ญด้วยประการใดๆ และไม่ใช่ เป็นเรื่องการที่ค ู่หมั้นประพฤติชั่วอย่างร้ายแ รงแต่ป ระการใดด ้วย คู่ห มั้นจ ึงจะเรียกค่าท ดแทนจากคู่หมั้นผ ู้ถ ูกข่มขืน กระทำชำเราตามม าตรา 1444 ด้วยไม่ได้ อย่างไรก ็ด ีห ากช ายห รือห ญิงค ู่ห มั้นเห็นว ่าการท ี่ค ู่ห มั้นข องต นถ ูกข ่มขืนก ระทำช ำเราเป็นเรื่องส ำคัญถ ึงข นาด ที่ตนไม่สมควรจะสมรสกับคู่หมั้นของตน ก็สามารถที่จะอ้างว่าเป็นเหตุสำคัญเพื่อที่จะบอกเลิกสัญญาหมั้นได้ เพียง แต่จะเรียกค่าทดแทนจากคู่หมั้นที่ถูกข่มขืนกระทำชำเราไม่ได้เพราะการที่คู่หมั้นนั้นถูกข่มขืนกระทำชำเราไม่ได้เป็น เพราะก ารประพฤติชั่วอ ย่างร ้ายแรงข องผู้ถ ูกข ่มขืนกระทำช ำเรา อทุ าหรณ์ ฎ. 1685/2516 จำเลยเข้าไปกอดหญิงผู้เสียหายและพูดขอกระทำชำเรา ผู้เสียหายร้องขึ้น จำเลยเอามือ ปิดปากผู้เสียหาย กดผู้เสียหายนอนลงที่พื้นเรือนแล้วขึ้นคร่อมเอาหัวเข่ากดต้นขาไว้ ขณะนั้นผู้เสียหายนอนหงาย นุ่งก ระโจมอกอ ยู่ จำเลยก ้มลงก ัดที่แก้มแ ละถ ลกผ ้าซิ่นขึ้นจากด ้านล ่าง ผู้เสียห ายด ิ้นอ ย่างแ รงจ นห ลุดแ ล้วว ิ่งร ้องไห้ ลงเรือนไป เช่นนี้ การกระทำของจำเลยยังไม่อยู่ในวิสัยที่จำเลยจะกระทำชำเราผู้เสียหายได้ การกระทำของจำเลย จึงไม่เป็นค วามผิดฐานพ ยายามข่มขืนกระทำชำเรา คงเป็นค วามผิดฐานกระทำอ นาจาร ฎ. 1436/2523 จำเลยอายุ 30 ปี ผู้เสียหายเป็นเด็กหญิงอายุ 8 ขวบ จำเลยใส่อวัยวะเพศในอวัยวะเพศ ของผู้เสียหาย ผู้เสียหายบาดเจ็บร้องขึ้น จำเลยใช้อวัยวะถูอยู่ภายนอกจนสำเร็จความใคร่ เป็นการแสดงเจตนาที่ จำเลยจะชำเรา ทำตลอดแล้วแต่ไม่บรรลุผล เพราะอวัยวะเพศของจำเลยไม่อาจล่วงล้ำเข้าไปได้ เป็นความผิดฐาน พยายามข่มขืนกระทำชำเรา ไม่ใช่เพียงแ ต่ทำอ นาจาร ในการกำหนดจำนวนค่าทดแทนให้ผู้อื่นที่มาล่วงเกินคู่หมั้นทางประเวณีตามมาตรา 1445 และ 1446 เพื่อ ชดใช้ให้แก่คู่หมั้นนั้น คู่หมั้นจะพึงได้รับจำนวนใดย่อมแล้วแต่ฐานะและชื่อเสียงของคู่หมั้น ประกอบกับพฤติการณ์ ความร้ายแรงของการล่วงเกินคู่หมั้นทางประเวณี โดยศาลจะเป็นผู้กำหนดตามจำนวนที่เห็นสมควร และถ้าหาก คู่หมั้นยินยอมให้ผู้อื่นร่วมประเวณีกับคู่หมั้นของตนหรือรู้เห็นเป็นใจ ให้ผู้อื่นข่มขืนกระทำชำเราคู่หมั้นตนเองย่อม ถือไม่ได้ว่าผู้อื่นละเมิดสิทธิของคู่หมั้น คู่หมั้นจะเรียกค่าทดแทนจากชายอื่นตามมาตรา 1445 และมาตรา 1446 ไม่ไ ด้ มสธ มสธ มส
มส การหมน้ั 1-65 กิจกรรม 1.4.3มสธ มสธ นายแดงทำการหมั้นนางสาวขาวด้วยทองหมั้นหนัก 10 บาท โดยมีนายดำเป็นพยานในสัญญาหม้ัน หลงั จ ากหมน้ั แ ลว้ น ายแ ดงไดไ้ ปเรยี นต อ่ ต า่ งป ระเทศ นายด ำถ อื โอกาสม าเกยี้ วพ าราส นี างสาวข าว จนน างสาวข าวมสธ ใจออ่ นย นิ ยอมใหน้ ายด ำก อดจ บู ล บู คลำถ งึ ก บั น อนเปลอื ยก ายอ ยดู่ ว้ ยก นั แ ตย่ งั ไมถ่ งึ ข นั้ ร ว่ มป ระเวณี เมอื่ น ายแ ดง กลับมาจากต่างประเทศทราบเร่ือง มีความประสงค์ที่จะเรียกทองหมั้นคืน และเรียกค่าทดแทนจากนายดำและ นางสาวข าว รวมทัง้ ป ฏิเสธไม่ยอมท ำการส มรสด ้วยกบั นางสาวข าว เช่นน้ี จงแนะนำน ายแ ดงว ่าจะมชี ่องทางทจ่ี ะก ระทำไดต้ ามความประสงคห์ รอื ไม่เพียงใด แนวต อบกจิ กรรม 1.4.3 แนะนำน ายแ ดงว า่ การท นี่ างสาวข าวย นิ ยอมใหน้ ายด ำก อดจ บู ล บู คลำถ งึ ก บั น อนเปลอื ยก ายด ว้ ยก นั น ้ี ถอื ไดว้ ่าม เี หตสุ ำคญั อ นั เกิดแ กห่ ญงิ ค หู่ มน้ั นายแ ดงค หู่ มน้ั จ ึงม สี ิทธบิ อกเลิกส ญั ญาห มนั้ แ ละเรียกท องห มนั้ ห นัก 10 บาทค นื ได้ ตามม าตรา 1442 และก ารกร ะท ำข องน างสาวข าวด งั ก ลา่ วเปน็ การก ระทำช ว่ั อ ยา่ งร า้ ยแ รง นางสาวข าว จึงต้องรบั ผดิ ใช้ค่าทดแทนให้แก่นายแดง ตามม าตรา 1444 ซ่ึงเรยี กคา่ ท ดแทนได้ ตามมาตรา 1440 ส่วนน ายด ำแมจ้ ะรู้วา่ น างสาวขาวม คี ่หู ม้ันคือน ายแดงก ต็ าม แต่เน่อื งจากนายดำย งั ม ิได้รว่ มประเวณกี บั นางสาวขาว เป็นแต่เพียงล่วงเกินในทำนองชู้สาวเท่าน้ัน นายดำจึงยังไม่ต้องรับผิดชดใช้ค่าทดแทนให้แก่นาย แดง ตามม าตรา 1445 เรอ่ื งท ี่ 1.4.4 สิทธเิ รียกคา่ ทดแทนและอ ายุค วาม ในกรณีที่มีสิทธิในค่าทดแทนเกิดขึ้นตามกฎหมายแล้ว ปพพ.ได้วางหลักเกณฑ์ไว้ในมาตรา 1447 ถึง มาตรา 1447/2 มาตรา 1447 “ค่าทดแทนอันจะพึงชดใชแ้ กก่ ันตามห มวดนใี้ ห้ศาลว ินิจฉยั ต ามค วรแก่พฤติการณ์ สทิ ธเิ รยี กร อ้ งค า่ ท ดแทนต ามห มวดน ้ี นอกจากค า่ ท ดแทนต ามม าตรา 1440 (2) ไมอ่ าจโอนก นั ได้ และไมต่ กทอด ไปถงึ ท ายาท เวน้ แ ตส่ ทิ ธิน้นั จ ะไดร้ ับส ภาพก ันไว้เป็นห นงั สือ หรอื ผู้เสยี หายได้เรมิ่ ฟอ้ งค ดตี ามสิทธินน้ั แลว้ ” มาตรา 1447/1 “สิทธิเรียกร้องค่าทดแทนตามมาตรา 1439 ให้มีอายุความหกเดือนนับแต่วันที่ผิดสัญญา หมนั้ สิทธิเรียกร้องค่าทดแทนตามมาตรา 1444 ให้มีอายุความหกเดือนนับแต่วันรู้หรือควรรู้ถึงการกระทำช่ัว อยา่ งรา้ ยแรง อันเปน็ เหตุให้บอกเลิกสญั ญาหมัน้ แต่ต ้องไม่เกนิ หา้ ปีนบั แ ต่วันก ระทำก ารด งั ก ล่าว สิทธิเรียกร้องค่าทดแทนตามมาตรา 1445 และมาตรา 1446 ให้มีอายุความหกเดือนนับแต่วันที่ชายหรือ หญิงคู่หม้ันรู้หรือควรรู้ถึงการกระทำของผู้อ่ืนอันจะเป็นเหตุให้เรียกค่าทดแทนและรู้ตัวผู้จะพึงใช้ค่าทดแทนน้ัน แต่ ตอ้ งไมเ่ กนิ ห ้าปนี ับแ ตว่ นั ทผ่ี ้อู น่ื ไดก้ ระทำก ารดังกลา่ ว” มสธ มส
มส 1-66 กฎหมายแพ่ง 3: ครอบครัว มรดก มสธ มาตรา 1447/2 “สิทธิเรียกคนื ของห มน้ั ต ามม าตรา 1439 ใหม้ อี ายุความห กเดอื นน ับแต่วนั ที่ผ ดิ สญั ญาหมน้ัมสธ สิทธิเรยี กคนื ข องห มัน้ ตามมาตรา 1442 ใหม้ อี ายุความห กเดือนนบั แ ต่วันทไ่ี ดบ้ อกเลิกส ญั ญาหมน้ั ” ในการคำนวณค่าทดแทนอันเนื่องมาจากการผิดสัญญาหมั้น ค่าทดแทนอันเนื่องมาจากการบอกเลิกสัญญามสธ หมั้นเพราะมีเหตุสำคัญเกิดแก่ชายหรือหญิงคู่หมั้นที่เป็นการกระทำชั่วอย่างร้ายแรง หรือค่าทดแทนจากชายอื่นที่มา ล่วงประเวณีหญิงคู่หมั้นนั้น มาตรา 1447 กำหนดให้ศาลวินิจฉัยตามควรแก่พฤติการณ์ โดยศาลมีดุลพินิจที่จะ คำนึงถึงเหตุและความร้ายแรงแห่งกรณีด้วย เช่น ชายหมั้นหญิงและกำหนดจะสมรสกัน หลังจากหญิงไว้ทุกข์ให้ บิดาแล้ว 3 ปี ระหว่างนั้นหญิงตั้งครรภ์กับชาย ชายแนะนำให้หญิงทำแท้ง เมื่อหญิงทำแท้งแล้วเกิดป่วยหนักชาย หายหน้าไป และกลับไปสมรสกับหญิงอื่น หญิงได้รับความเสียหายทางร่างกายชื่อเสียงและต้องเจ็บป่วยเสียเงิน รักษาโดยชายมิได้สนใจ ชายจึงต้องใช้ค่าทดแทนความเสียหายดังกล่าวจนเต็มจำนวน จะอ้างว่าหญิงได้ของหมั้น ไปเป็นการเพียงพอแล้วไม่ได6้ 3 หรือชายหญิงทำพิธีสมรสกันตามประเพณีแล้วฝ่ายหญิงกลับไม่ยอมไปจดทะเบียน สมรส อันเป็นการผิดสัญญาหมั้น ชายย่อมมีสิทธิฟ้องเรียกของหมั้นคืนจากหญิงได้ ส่วนค่าทดแทน เช่น ค่าใช้จ่าย ที่ต้องทำตามประเพณีนั้น แม้การสมรสจะมิได้สำเร็จไปโดยชอบ แต่เมื่อชายได้หลับนอนกับหญิงตามประเพณีแล้ว ค่าใช้จ ่ายท ี่ต้องทำตามประเพณีจึงไม่ใช่ค่าเสียหายอ ันควรคิดเอาแก่ก ัน64 เป็นต้น สิทธิเรียกค่าทดแทนในหมวดเรื่องการหมั้นทั้งหมด ยกเว้นสิทธิเรียกค่าทดแทนความเสียหายเนื่องในการ เตรียมการสมรสตามมาตรา 1440 (2) เป็นสิทธิเฉพาะตัว คู่สัญญาหมั้นผู้ทรงสิทธิ ไม่อาจมีการโอนสิทธิเรียกร้อง ค่าทดแทนนี้ให้แก่ผู้อื่นได้ และหากคู่สัญญาหมั้นผู้ทรงสิทธิถึงแก่ความตายไปแล้ว สิทธิดังกล่าวก็ไม่เป็นมรดก ตกทอดไปยังทายาท เว้นแต่สิทธินั้นจะได้รับสภาพกันไว้เป็นหนังสือหรือผู้เสียหายได้เริ่มฟ้องคดีตามสิทธินั้นแล้ว ตัวอย่างเช่น หญิงผิดสัญญาหมั้นไม่ยอมสมรสกับชาย ชายมีสิทธิที่จะเรียกร้องให้หญิงใช้ค่าทดแทนความเสียหาย ต่อกายหรือชื่อเสียงข องตน มาตรา 1440 (1) ชายจ ะโอนสิทธิเรียกร้องนี้ไปให้น ายดำเพื่อไปฟ้องหญิงไม่ได้ หรือชาย ทำสัญญาหมั้นกับหญิงและได้ร่วมประเวณีกับหญิง ต่อมาชายผิดสัญญาหมั้นไม่ยอมสมรสกับหญิง หญิงจึงมีสิทธิ เรียกร้องค่าทดแทนความเสียหายต่อกายจากชายได้ แต่ก่อนที่หญิงจะฟ้องคดี หญิงได้ถึงแก่ความตายไป เช่นนี้ ทายาทของหญิงจะรับมรดกสิทธิเรียกร้องเช่นว่านี้มาฟ้องชายไม่ได้ เพราะสิทธิเรียกร้องดังกล่าวเป็นสิทธิเฉพาะตัว หรือชายทำสัญญาหมั้นกับหญิง ต่อมาหญิงคู่หมั้นได้ร่วมประเวณีกับนายแดงโดยสมัครใจ โดยนายแดงก็ทราบว่า หญิงได้หมั้นกับชาย เมื่อชายได้บอกเลิกสัญญาหมั้นกับหญิงแล้ว ชายก็มีสิทธิเรียกร้องให้นายแดงชดใช้ค่าทดแทน ให้แก่ตนได้ นายแดงจึงได้มาทำหนังสือรับสภาพหนี้กับชายว่าจะชดใช้ค่าทดแทนให้ 50,000 บาท ภายใน 3 เดือน เช่นน ี้ช ายสามารถที่จ ะโอนส ิทธิเรียกร ้องต ามหนังสือรับสภาพหนี้นี้ให้กับน ายข าวได้ เพราะเข้าข ้อยกเว้นตามที่บ ัญญัติ ไว้ในมาตรา 1447 วรรคสอง นายขาวผู้รับโอนสิทธิสามารถฟ้องคดีให้นายแดงชำระหนี้จำนวน 50,000 บาท ให้กับ ตนโดยตรงไ ด้ สำหรับอายุความในหมวดเรื่องการหมั้นนั้น กฎหมายกำหนดไว้สั้นๆ เพียง 6 เดือน เพื่อให้ผู้ทรงสิทธิได้ รีบจัดการฟ้องคดีให้แล้วเสร็จไปโดยรวดเร็วอันเป็นนโยบายของรัฐที่ไม่ประสงค์จะให้ทอดทิ้งคดีเกี่ยวกับเรื่องนี้ เอาไว้นานๆ โดยอายุความเริ่มนับตั้งแต่ขณะที่อาจบังคับสิทธิเรียกร้องได้เป็นต้นไป เรื่องอายุความในการเรียก ค่าทดแทนแ บ่งเป็น 6 กรณี ซึ่งม ีรายละเอียดดังนี้ คือ 63 ฎ. 1223/2519 64 ฎ. 1586/2494 มสธ มส
มส การหมน้ั 1-67 มสธ (1) สิทธิเรียกร้องค่าทดแทนจากคู่สัญญาหม้ันในกรณีการผิดสัญญาหม้ันตามมาตรา 1439 มีอายุความมสธ หกเดือนนับแต่วันที่ผิดสัญญาหมั้นนั้น ตามมาตรา 1447/1 เช่น ชายปฏิเสธไม่ยอมทำการสมรสกับหญิงคู่หมั้น หญิงคู่หมั้นจะต้องฟ้องเรียกค่าทดแทนความเสียหายแก่กายหรือชื่อเสียง ฯลฯ ตามมาตรา 1440 ภายในกำหนด 6มสธ เดือนนับแ ต่วันที่ชายป ฏิเสธไม่ยอมท ำการสมรสด้วยกับต น มิฉ ะนั้นคดีขาดอ ายุความ (2) สิทธิเรียกร้องค่าทดแทนจากคู่สัญญาหมั้นในกรณีการบอกเลิกสัญญาหม้ัน เพราะการกระทำชั่วอย่าง ร้ายแรงของคู่หม้ันภายหลังการหม้ันตามมาตรา 1444 มีอายุความหกเดือนนับแต่วันรู้หรือควรรู้ถึงการกระทำชั่ว อย่างร้ายแรงอ ันเป็นเหตุให้บ อกเลิกสัญญาห มั้น แต่ต ้องไม่เกินห้าปีนับแต่ว ันก ระทำก ารดังกล่าว ตามม าตรา 1447/1 วรรคสอง เช่น หลังจากหมั้นแล้ว หญิงคู่หมั้นยินยอมให้ชายอื่นร่วมประเวณีด้วยในวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2544 ชายคู่หมั้นรู้เรื่องวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2544 ชายคู่หมั้นจึงบอกเลิกสัญญาหมั้น เพราะถือว่าหญิงคู่หมั้นประพฤติ ชั่วอย่างร้ายแ รงในวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2544 เช่นนี้ ชายค ู่หมั้นจะต ้องฟ้องคดีเรียกค่าท ดแทนจ ากห ญิงต ามม าตรา 1440 โดยถือเสมือนว่าหญิงผิดสัญญาหมั้นเสียภายใน 6 เดือน นับแต่วันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2544 อันเป็นวันที่ ตนได้รู้เหตุ แต่ถ้าหากไม่รู้เหตุจนกระทั่งเวลาได้ผ่านไปแล้ว 4 ปี 10 เดือน คือมารู้เหตุเมื่อวันที่ 1 มกราคม ของปี สุดท้าย เช่นนี้ ชายคู่หมั้นมีเวลาอีกเพียง 2 เดือนโดยจะต้องฟ้องคดีภายในวันที่ 1 มีนาคมของปีที่ห้า (พ.ศ.2549) อันเป็นว ันที่ก ารกร ะทำชั่วได้เกิดขึ้น มิฉ ะนั้นค ดีขาดอายุความ (3) สิทธิเรียกร้องค่าทดแทนจากผู้ซ่ึงร่วมประเวณีกับหญิงคู่หมั้นตามมาตรา 1445 หรือที่มาข่มขืนกระทำ ชำเราคู่หม้ันตามมาตรา 1446 มีอายุความหกเดือนนับแต่วันที่ชายหรือหญิงคู่หมั้นได้รู้หรือควรรู้ถึงการกระทำของ บุคคลดังกล่าวเช่นว่านั้น และรู้ตัวผู้จะพึงใช้ค่าทดแทน แต่ทั้งนี้ต้องไม่เกินห้าปีนับแต่วันที่บุคคลดังกล่าวนั้นได้ กระทำการดังกล่าวต ามมาตรา 1447/1 วรรคสาม เช่น นายเขียวม าข่มขืนกระทำชำเราห ญิงคู่หมั้น ชายค ู่หมั้นจ ะต ้อง ฟ้องคดีเรียกค่าทดแทนจากนายเขียวภายในกำหนด 6 เดือนนับแต่วันที่ตนรู้เหตุการณ์ที่นายเขียวได้ทำการข่มขืน กระทำชำเรานั้น เป็นต้น (4) สิทธิเรียกร้องให้คืนของหม้ันจากฝ่ายหญิงในกรณีท่ีฝ่ายหญิงเป็นฝ่ายผิดสัญญาหม้ันตามมาตรา 1439 มีอายุความหกเดือนนับแต่วันที่ผิดสัญญาหมั้นตามมาตรา 1447/2 เช่น ชายหมั้นหญิงด้วยทองคำหนัก 10 บาท โดยกำหนดท ำการส มรสกันในวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2554 ต่อมาในวันท ี่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2554 หญิงค ู่หมั้นได้ท ำ การสมรสกับช ายอ ื่น เช่นนี้ ถือได้ว ่าหญิงค ู่ห มั้นผิดส ัญญาหมั้นแล้วตั้งแต่ว ันท ี่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2554 ชายจ ะต ้อง ฟ้องหญิงคู่หมั้นให้คืนทองคำหนัก 10 บาท นี้ภายใน 6 เดือนนับแต่วันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ.2554 มิฉะนั้นคดีขาด อ ายุความ (5) สิทธิเรียกร้องให้คืนของหมั้นจากฝ่ายหญิงในกรณีที่ชายบอกเลิกสัญญาหม้ันโดยมีเหตุสำคัญอันเกิด แก่หญิงคู่หม้ันตามมาตรา 1442 มีอายุความหกเดือนนับแต่วันที่ได้บอกเลิกสัญญาหมั้น ตามมาตรา 1447/2 วรรคสอง เช่น ชายหมั้นหญิงด้วยแหวนเพชร ต่อมาในวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 หญิงทำร้ายชายจนบาดเจ็บ สาหัส วันท ี่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2554 ชายจึงบอกเลิกส ัญญาห มั้นก ับหญิง เช่นน ี้ ชายจะต ้องฟ ้องเรียกแ หวนเพชรค ืน จากห ญิงภ ายใน 6 เดือน นับแต่วันท ี่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2554 มิฉะนั้นคดีขาดอ ายุความ (6) สิทธิเรียกร ้องใหค้ ืนส นิ สอดจากบิดาม ารดา ผู้รับบ ตุ รบ ญุ ธรรม หรือผปู้ กครองฝ ่ายห ญงิ ในก รณีที่ไม่มี การส มรสโดยมีเหตุสำคัญอันเกิดแ ก่หญิง หรือโดยม ีพฤติการณ์ซ ึ่งฝ่ายห ญิงต ้องรับผ ิดชอบ ทำให้ชายไม่ส มควรห รือ ไม่อ าจสมรสกับห ญิงน ั้นต ามม าตรา 1437 วรรคสาม กฎหมายม ิได้กำหนดอ ายุความไว้ จึงต ้องถืออายุความส ิบปี65 65 ฎ. 1353/2492 มสธ มส
มส 1-68 กฎหมายแพ่ง 3: ครอบครัว มรดก กจิ กรรม 1.4.4 นายส นธยาทำสญั ญาห มั้นก ับนางสาวส มห ญิงด ้วยแหวนเพชร 1 วง ตกลงจ ะทำการสมรสก นั ใน วนั ท่ี 3 มีนาคม พ.ศ. 2554 นายส นธยาไดป้ รับปรงุ บ า้ นทจ่ี ะใชเ้ ปน็ เรือนห อ ซ้อื ท น่ี อน หมอนมุ้ง และเครอ่ื งใช้ในค รวั เรอื นอ นั จ ำเปน็ เพอ่ื เตรยี มก ารส มรสเปน็ เงนิ ร วมท ง้ั ส น้ิ 35,000 บาท ครน้ั ถ งึ ก ำหนดน างสาวส มห ญงิ ไมย่ อมท ำการ สมรสกบั นายส นธยาอ้างว ่าห มดรกั เสยี แ ล้ว ในว ันที่ 14 พฤศจิกายน ปเี ดยี วกนั น้ี นายสนธยามาปรกึ ษาท ่านโดย ประสงค์จะเรยี กแ หวนเพชรค ืนแ ละเรยี กค า่ ท ดแทนจำนวน 35,000 บาท จงแ นะนำน ายส นธยา แนวต อบกิจกรรม 1.4.4 แนะนำนายสนธยาว่า นางสาวสมหญิงผิดสัญญาหมั้น ต้องรับผิดใช้ค่าทดแทนและคืนของหม้ัน ตาม มาตรา 1439 และมาตรา 1440 แต่การที่นายสนธยาจะเรียกค่าทดแทนในกรณีผิดสัญญาหมั้นนี้จะต้องใช้สิทธิ ภายใน 6 เดือน นับแต่วันที่ผิดสัญญาวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ.2554 ตามมาตรา 1447/1 ฉะนั้นเมื่อนับถึงวันท่ี 14 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2554 เกินกำหนด 6 เดอื นแล้ว นายสนธยาจงึ ไมม่ สี ทิ ธิเรียกค่าท ดแทนได้ สำหรับการเรียกแหวนเพชรของหมั้นคืนนั้น นายสนธยาก็ไม่มีสิทธิเรียกคืนได้ เพราะมาตรา 1447/2 กำหนดให้สิทธิเรยี กค ืนของหมัน้ ม อี ายคุ วาม 6 เดือน เชน่ เดียวกัน มสธ มสธ มสธ มสธ มส
Search