สรปุ ประเดน็ การอบรมหลักสตู รผ้บู ริหารสาธารสขุ ระดบั ต้น รุ่นที่ 31 กล่มุ ที่ 1 ประจาปีงบประมาณ 2565 วนั ท่ี 25 เมษายน 2565 เวลา 09.00-12.00 น. หัวข้อการบรรยาย: นโยบายสาคญั ดา้ นสาธารณสุข วทิ ยากร: นพ.วเิ ศษ สริ นิ ทรโสภณ สรปุ เนอ้ื หา /ประเด็นการอบรม - เป้าหมายการพัฒนาท่ีย่งั ยนื ประกอบดว้ ย 17 เป้าหมาย 169 เป้าประสงค์ และ 241 ตัวชี้วัด บริบท ความท้าทายของประเทศไทยที่เก่ียวข้องกับสาธารณสุขคือ การบริหารจัดการสังคมผู้สูงอายุ และพัฒนา ศักยภาพคนในประเทศ - ยุทธศาสตร์ชาติจะประกอบด้วยแผนแม่บท แผนปฏิรูปประเทศแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ และนโยบายและแผนระดับชาตวิ ่าด้วยความม่ันคงแหง่ ชาติ - ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี มีเป้าหมายการพัฒนาประเทศ ประกอบด้วย 1) ดา้ นความมน่ั คง 2) ดา้ นการ สรา้ งความสามารถในการแข่งขนั 3) ด้านการพฒั นาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์ 4) ด้านการสร้าง โอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 5) ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม และ6) ดา้ นการปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ - ระบบราชการ 4.0 ภาครฐั ท่ีเปิดกว้างและเชื่อมโยงกัน มีการสร้างนวัตกรรม เพ่ือเพม่ิ ขดี ความสามารถ มสี มรรถนะสูงและทันสมัย ปรบั เขา้ สู่ความเป็นดิจิตอล โดยยึดประชาชนเปน็ ศูนย์กลาง และมกี ารสานพลังทุก ภาคส่วน - สาหรับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีด้านสาธารณสุข เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพที่รวมพลังสังคมเพอ่ื ประชาชนสุขภาพดี มีการพัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพอย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน ส่งผลให้ประชาชน สขุ ภาพดี เจา้ หน้าทม่ี คี วามสุข ระบบสุขภาพย่งั ยืน - ยุทธศาสตร์ความเป็นเลิศ 4 ด้าน 1) PP & P excellence ป้องกันโรคและคุ้มครองส่งเสริมสุขภาพ ผู้บริโภคเป็นเลิศ 2) service excellence บริการเป็นเลิศ 3) People excellence บุคลากรเป็นเลิศ และ 4) Governance excellence บริหารเปน็ เลศิ ด้วยธรรมาภิบาล นโยบายมุง่ เน้น ของกระทรวงสาสขุ ในปี 2565 ให้ความสาคัญกับโครงการในพระราชดาริ เป็นการพัฒนางานส่งเสริมตามแนวพระราชดาริ ประกอบดว้ ย 1) ระบบสขุ ภาพปฐมภูมเิ ข้มแข็ง 2) เศรษฐกจิ สขุ ภาพ 3) สมนุ ไพรกญั ชากัญชง 4) สุขภาพดีวิถี ใหม่ 5) COVID-19 6) ระบบบริการก้าวหน้า 7) ดูแลสุขภาพแบบองค์รวม 8) ธรรมาภิบาล 9) องค์กรแห่ง ความสุข - นโยบายหลักการทางาน ประกอบด้วย 1) ภารกิจงานต้องเพียรทาให้สาเร็จไม่ใช่แค่ทาให้เสร็จ 2) ความสาเร็จของงานเนน้ ท่ีผลประกอบการดีมีประสิทธิภาพ 3) ปรับกระบวนการทางานทาน้อยไดผ้ ลมาก 4) ถือหลักปฏิบัติตามระเบียบวินัยซ่ือสัตย์สุจริต 5) ทีมงานเข้มแข็งมีความรักสามัคคีดูแลซ่ึงกันและกันดุจดั่ง ครอบครัวเดียวกนั 1
วันท่ี 25 เมษายน 2565 เวลา 13.00-16.00 น. หัวขอ้ การบรรยาย: ยุทธศาสตรช์ าติด้านสาธารณสุข วทิ ยากร: ทพญ.ขวัญจิต พงศร์ ัตนามาน สรุปเนอ้ื หา /ประเด็นการอบรม - ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี ของกระทรวงสาธารณสุข มเี ป้าหมายสาคัญ อยู่ 6 ข้อดว้ ยกัน และเปา้ หมาย หลักทเ่ี กี่ยวเนื่องกับกระทรวงสาธารณสุขคือ 1) การพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพคนโดยเน้นคนจะต้องเป็น คนดีคนเกง่ เป้าหมายรองคอื 2) การสร้างความเสมอภาคและเท่าเทยี มกันทางสังคม โดยสรา้ งความเป็นธรรม ลดความเหลอ่ื มล้าทางสังคม 3) ความม่นั คง เช่นยาเสพตดิ 4) การสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน โดยเน้น พ้ืนทีเ่ ศรษฐกจิ พิเศษ 5) การสร้างการเตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ติ ท่เี ป็นมติ รกับส่ิงแวดล้อม เนน้ ในเรือ่ งของการฟื้นฟู สร้างฐานสุขภาพและสิ่งแวดล้อม และ 6) การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจดั การภาครัฐ เพื่อให้ ภาครัฐมีความโปรง่ ใส ลดการทจุ รติ - การปฏิรปู ด้านสาธารณสุขประกอบด้วย 4 ด้าน 10 ประเดน็ 1) ด้านระบบบรหิ ารจัดการ มี 3 ประเดน็ คือ การปฏิรูประบบบริหารจัดการด้านสุขภาพ การปฏิรูประบบเทคโนโลยีและสารสนเทศสุขภาพ และการ ปฏิรูปกาลังคนด้านสุขภาพ 2) ด้านระบบบริการสาธารณสุขประกอบด้วย 4 ประเด็นคือ การปฏิรูประบบ บริการปฐมภูมิ การปฏิรูปการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรไทยเพอ่ื เศรษฐกิจ การปฏิรูประบบการแพทยฉ์ ุกเฉิน และการปฏิรูปการเสริมสร้างปอ้ งกนั และควบคุมโรค 3) ดา้ นการค้มุ ครองผู้บรโิ ภคประกอบด้วย 2 ประเด็น คือการปฏริ ูปความรอบรู้ด้านสขุ ภาพและการปฏิรูปการคุ้มครองผู้บรโิ ภค 4) ดา้ นความยงั่ ยืนและเพียงพอด้าน การเงนิ การคลงั สุขภาพประกอบดว้ ย 1 ประเด็นคอื การปฏริ ูประบบหลกั ประกนั สขุ ภาพ - จุดยืนขององค์กรเป้าหมาย เพื่อประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพย่ังยืน มีวิสยั ทศั นค์ อื เปน็ องค์กรหลักด้านสขุ ภาพท่รี วมพลงั สงั คม เพอื่ ประชาชนสขุ ภาพดี พันธกิจ พฒั นาและอธิบาย ระบบสุขภาพอย่างมสี ่วนร่วมและยง่ั ยืน ค่านยิ มองคก์ ร คอื MOPH ถา้ เปา้ หมายดีจะส่งผลใหต้ วั ช้วี ัดท้งั 8 ตวั ดตี ามไปด้วย ประกอบดว้ ย 1) อายุคาดเฉลี่ยเมอื่ แรกเกดิ ไมน่ ้อยกว่า 85 ปี 2) อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี ไมน่ ้อยกว่า 75 ปี 3) ดัชนคี วามสุขของคนทางานไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 70 4) ดชั นสี ขุ ภาวะองคก์ รไมน่ ้อยกวา่ ร้อย ละ 70 5) อตั ราการเข้าถงึ บริการแพทยแ์ ผนไทยร้อยละ 100 6) ความควบคมุ ของแพทย์และเตียงโรงพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข สัดส่วนแพทย์ 1 ต่อ 1,500 ประชากร และสัดสว่ นเตียง 2 ต่อ 1,000 ประชากร 7) สถานบริการได้รับการรับรองคุณภาพตามมาตรฐาน HA ร้อยละ 100 8) หน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาสุข ผา่ นการประเมนิ ITA ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 95 - นโยบายการดาเนินงานกระทรวงสาธารณสุขในปีงบประมาณ 2565 เนน้ โครงการราชทณั ฑป์ ันสุขของ รัชกาลที่ 10 นอกจากนี้การสร้างขวัญกาลังใจแก่บุคลากรกระทรวงสาธารณสุขคือภารกิจสาคัญ และเราต้อง อยกู่ ับ Covid-19 ใหไ้ ด้อย่างปลอดภยั - การขับเคล่อื นและพัฒนาระบบบริการสขุ ภาพสาธารณสุขใหม่ทด่ี กี ว่าเดมิ ในปี 2565 ประกอบดว้ ย 1) ใช้มาตรการสาธารณสุขขับเคลื่อนและฟ้ืนฟูเศรษฐกิจนาพาประเทศกลับสู่ภาวะปกติ 2) พัฒนาศักยภาพ สถานพยาบาลของรัฐ 3) พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพการแพทย์ปฐมภูมิด้วย 3 หมอ 4) พัฒนาการ เสรมิ สร้างศกั ยภาพ รพ. สต เปน็ ศูนยก์ ลางสาธารณสุขประจาตาบลโดยมเี ป้าก็คือชุมชนสขุ ภาพดีพง่ึ ตนเองได้ 5) พัฒนาและบูรณาการสาหรับผู้ป่วยสูงอายุ 6) เสรมิ สรา้ งศักยภาพงานบริการต่อยอด 30 บาทรักษาทุกที่ ไม่ ต้องมใี บส่งตวั 7) พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพการรักษามะเร็งรักษาทุกที่ 8) พฒั นาพชื สมนุ ไพรกญั ชา กญั ชง 2
กระทอ่ มและภมู ปิ ัญญาไทย สร้างงาน สร้างอาชพี สรา้ งรายได้ และ 9) พฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเป็น ศนู ย์ขอ้ มลู กลางสขุ ภาพประชาชน - ยุทธศาสตร์ความเป็นเลิศ 4 ด้าน 1) PP & P excellence ป้องกันโรคและคุ้มครองส่งเสริมสุขภาพ ผบู้ ริโภคเป็นเลิศ 2) service excellence บริการเปน็ เลศิ 3) People excellence บคุ ลากรเปน็ เลิศ และ 4) Governance excellence บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล นโยบายมุ่งเน้น ของกระทรวงสาสุขในปี 2565 ประกอบด้วย 1) ระบบสขุ ภาพปฐมภูมิเข้มแข็ง 2) เศรษฐกจิ สุขภาพ 3) สมนุ ไพรกญั ชากัญชง 4) สขุ ภาพดีวิถี ใหม่ 5) COVID-19 6) ระบบบริการก้าวหน้า 7) ดูแลสุขภาพแบบองค์รวม 8) ธรรมาภิบาล 9) องค์กรแห่ง ความสุข 3
วนั ที่ 26 เมษายน 2565 เวลา 09.00-16.00 น. หัวข้อการบรรยาย: การพฒั นาบุคลิกภาพ วิทยากร: ทพญ.พริ ิยา ผาติวิกรยั วงศ์ สรปุ เน้อื หา /ประเด็นการอบรม - การพัฒนาบุคลกิ ภาพ เพือ่ ให้เกิดความประทบั ใจ ตงั้ แตแ่ รกพบ - บคุ ลิกภาพก็คือลกั ษณะเดน่ ทางร่างกาย จิตใจ สติปญั ญา และพฤติกรรมต่างๆ ของแตล่ ะคนทีป่ รากฏ ออกมาใหผ้ ู้อ่ืนเหน็ - การสร้างภาพลักษณ์ เป็นการให้เกียรติผู้อื่น, เคารพตัวเอง, เปิดโอกาสใหต้ ัวเอง, ดึงดดู ส่ิงดๆี เขา้ มา หาตวั เอง, สร้างปฏสิ ัมพันธไ์ ดง้ า่ ย, ไดร้ ับความร่วมมือความช่วยเหลอื มคี วามสขุ และมสี ีสนั - บุคลกิ ภาพท่ดี กี ค็ ือ การมมี าดดี แต่งกายดี สือ่ สารดี อารมณ์ดี รูจ้ กั กาลเทศะ - บุคลิกภาพ 5 ด้าน ตอ้ งมคี วามมนั่ คงด้านอารมณ์ บุคลกิ เปดิ ตัวหรือเกบ็ ตัว เปดิ รบั ประสบการณ์ใหม่ เหน็ ตามผู้อน่ื มากหรอื น้อย และสานกึ ผดิ ชอบ - ลักษณะของบุคลิกภาพจะประกอบไปดว้ ย extrovert เป็นลักษณะของคนที่มแี นวโน้มท่ีจะสมั พนั ธ์ และเกีย่ วข้องกับสิ่งแวดล้อม สนใจที่จะสงั สรรค์ สมาคมชอบทากิจกรรม สนใจทุกอยา่ งท่ีพบเห็น introvert เป็นคนเงยี บขรมึ สมถะไมช่ อบสุงสงิ กบั ใคร ชอบคดิ อะไรลกึ ซ้ึงและมักเป็นคนคิดก่อนทา ส่วน Ambivert คน ทีม่ ลี ักษณะอยู่ตรงกลางระหว่าง introvert และ extrovert รวมกันภายในคนเดยี วข้ึนอย่กู ับสถานการณ์และ สง่ิ แวดลอ้ มอาจชอบอยเู่ งียบๆคนเดียวเพื่อใชค้ วามคิดใชส้ มองได้อยา่ งเตม็ ท่ี - บคุ ลิกภาพภายนอก เป็นสิ่งทเ่ี หน็ ได้ชดั เจนจากภายนอกของแต่ละคน สามารถท่จี ะปรับปรุงแก้ไขได้ ง่ายใช้เวลาไม่นาน มองเห็นได้จากรูปร่าง การแต่งกาย อิริยาบถ การแสดงกิริยาท่าทาง สีหน้าแววตา การ สบตา ถ้อยคา นา้ เสียงดี - ส่วนบุคลกิ ภาพภายใน เป็นความรู้และประสบการณ์ ความมนั่ ใจในตัวเอง ภาวะผูน้ าความมุ่งม่ันเอา จริง ความเมตตา ความเออื้ เฟื้อเผอื่ แผ่ ความหนักแนน่ ใจเยน็ อารมณข์ ัน - เสียงโดยธรรมชาติแล้วเวลาพูดเสยี งของคนเราจะมีการเปล่ยี นแปลง ระดับเสยี งเหมอื นเส้นกราฟที่มี ขึ้นสูงและลงต่าผู้นาเสนอควรฝึกการใช้เสียงให้มีการใช้ระดบั เสียงสูงตา่ อย่างเป็นธรรมชาติ เพื่อให้น่าสนใจ เสียง Head Tone ดึงดูดความสนใจทักทายต้ังคาถาม Mouse Tone เป็นการอธิบาย ส่วน Chest Tone แสดงถึงความมีอานาจ - เทคนคิ การใช้สายตาเลือกผู้ฟังในห้อง 4-5 คน มองทลี ะคนและล็อคสายตาพูดกับเขา 3 ถึง 5 วินาที หยดุ พูดหนั ไปมองคนอ่ืนและทาซ้า - ธรรมชาติของมนุษย์กบั การสือ่ สาร คนมสี มาธิสงู สดุ ไม่เกนิ 20 นาที 5 นาทีแรกจะมีสมาธิดกี ับการรับรู้ ข้อมูลได้มาก 10 นาทีต่อมารับรู้ได้แบบหลงๆลืมๆ เพราะสมาธิไม่อยู่กับตัวหากรู้ว่ากาลังจะเลิกจะกลับมามี สมาธิดี 5 นาทสี ุดทา้ ยถา้ แก้ปญั หาคืออย่าพยายามออกแบบการส่ือสารใหเ้ ป็นแบบทางเดียวนานเกิน 20 นาที มีการกระตุกผูฟ้ งั ทุก 10 นาที - การแต่งตัวใหด้ ูแพงคือ การเติมสที องในการแต่งตัว เสื้อเรียบกรบิ รกั ษาความสะอาด เกบ็ ชายเส้ือ พบั แขนเสือ้ ใสใ่ จแต่งหนา้ และทาผมเรียบหรดู ูดี mix & match 4
- กิริยาทา่ ทาง ส่งิ ท่ีไม่ควรปฏิบัตใิ นพื้นที่ท่ีปฏิบตั ิงานคือ เสื้อสูทไมค่ วรพาดเก้าอี้ ไมก่ องรองเท้าใต้โต๊ะ การนง่ั คยุ งานไม่เทา้ แขนคุย ไมค่ วรแตง่ ตัวทีโ่ ตะ๊ ทางาน ไมค่ วรลว้ งแคะแกะเกา และไมร่ บั ประทานอาหารบน โตะ๊ ทางาน - สุขภาพผู้มีสขุ ภาพดีจะทาให้หนา้ ตาสดชืน่ เบกิ บานแจ่มใสรา่ เริงอยูเ่ สมอ - ความสะอาดผทู้ ร่ี กั ษาความสะอาดใหห้ น้าและรา่ งกายอย่างสมา่ เสมอจะทาใหด้ ูสดใสน่าประทบั ใจ - การยิ้มคนท่มี ีใบหนา้ ยิม้ แยม้ แจม่ ใสจะแสดงออกถงึ เปน็ คนอารมณด์ ี - บุคลิกภาพภายใน เป็นสิ่งท่ีอยู่ภายในจิตใจ หรืออุปนิสัยใจคอที่มองไม่เห็น สัมผัสไม่ได้ แก้ไขไดย้ าก ความเชื่อม่นั ในตนเอง ความซื่อสตั ยส์ ุจริต ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ ความรับผดิ ชอบ - มนุษยสัมพันธ์ ไม่จาเป็นต้องรับคาเสมอไป แต่ต้องพยายามให้ดีท่ีสุดท่ีจะไม่กล่าวคาปฏิเสธอย่าง ตรงไปตรงมากับผู้ท่ีมาติดต่อ ในการติดต่อกับผู้ที่มาติดต่อท่ีเอาแต่ใจตัว ไม่ยอมเข้าใจง่ายๆ ให้อธิบายแสดง ความเสียใจหรอื น่งิ แล้วแตก่ รณีแตอ่ ย่าทะเลาะโตเ้ ถยี งหรอื ขนึ้ เสียงต้องจาไดว้ ่าไมม่ ีใครชนะในการโตเ้ ถียง - วิธีปรับตัวสาหรับบุคลิก Introvert สร้างสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม ทางานแบบหน่ึงตอ่ หน่ึงให้มากข้นึ บอกให้คนอนื่ รู้ ประชมุ ตอ้ งทราบ agenda ของการประชมุ - วิธีการปรับตัวสาหรับบุคลิก Extrovert หากิจกรรมเติมพลัง ยุ่งได้แต่ระวัง burnout หาเวลาคิด ทบทวน - Fix Mindset การท่ีเราคดิ วา่ ตัวเองดีพอแลว้ หรอื ไมส่ ามารถดีกว่านี้เป็นความคดิ ทาให้เราไมก่ ล้าท่ีจะ ออกจาก Comfort Zone ของตวั เองแบบเดิมมันดีแลว้ ทาแบบใหมก่ ก็ ลัวจะแย่ พยายามไปกไ็ ม่ดีกว่าน้ี - Growth mindset การท่ีเรามองวา่ อุปสรรคไมใ่ ช่ปัญหาแตเ่ ปน็ โอกาสท่ีทาให้เราไดล้ องส่ิงใหม่ไมว่ ่าจะ สาเร็จหรอื ไม่ก็ตามเป็นกระบวนการคิดที่ทาใหเ้ ราพยายามเอาตัวเองออกจากกรอบ เพื่อคน้ หาสง่ิ ทด่ี ีกว่าและ จะดีย่งิ ข้ึนไปเรอื่ ยๆเทา่ ท่เี ราคิดว่าเราทามันได้ - หลักการพัฒนาบุคลิกภาพ 1 ต้องตระหนักถึงความสาคัญ 2 สารวจบุคลิกภาพ และ 3 การลงมือ ปฏบิ ตั ิ - ธาตุ 4 กับจริตคน สไตล์ของคน 4 แบบ ธาตุไฟ มีความมุมานะ มีเป้าหมาย ทะเยอทะยาน กล้า ตดั สนิ ใจ ชอบแขง่ ขนั ไมพ่ ึ่งใคร ฉับไว มุง่ มน่ั เนน้ ผลลัพธ์ - คนธาตลุ ม ชอบพบปะผ้คู นสร้างแรงบนั ดาลใจมองโลกในแง่ดยี ดื หยุ่นเปิดเผยมคี วามคิดสรา้ งสรรค์โน้ม นา้ วเก่งชอบส่ือสารงา่ ยๆสบายๆ - คนธาตนุ ้า ไวว้ างใจได้รู้จักเกรงใจอดทนนกั ฟังท่ดี ี คิดถึงผู้อ่ืน เป็นมิตร สงบม่ันคง รูจ้ กั กาละเทศะ - คนธาตุดิน มีความแมน่ ยา รอบคอบ เนน้ รายละเอียดตรงไปตรงมา เปน็ เหตเุ ป็นผล ทางานเป็นระบบ มีระเบียบถ่ีถว้ น ทบทวน เนน้ คณุ ภาพ - เมื่อเจอลูกนอ้ งตา่ งสไตล์ การ Feedback ในแต่ละธาตุ ดงั นี้ - ธาตไุ ฟ อย่าออ้ มค้อมเนน้ ข้อเท็จจริงตอ้ งกลา้ พอ - ธาตนุ า้ เขยี นเป็นอกั ษร อย่าตนเองมากไป มั่นใจ - ธาตดุ ิน ชดั เจนแตน่ มุ่ นวลปญั หาคอื พฤตกิ รรมไม่ใชค่ น - ธาตุลม พดู จาดๆี ยกตวั อย่างท่ชี ัดเจน 5
วนั ที่ 27 เมษายน 2565 เวลา 09.00-12.00 น. หัวขอ้ การบรรยาย: กิจกรรมกลุ่มสมั พนั ธ์ วทิ ยากร: ผศ.ดร.พรทพิ ย์ พมิ พส์ รุ โสภณ สรปุ เนอ้ื หา /ประเด็นการอบรม - กิจกรรมกลุ่มเพ่ือละลายพฤติกรรม โดยยกตัวอย่างกิจกรรมที่สามารถนามาใช้ได้ ประโยชน์ของ กจิ กรรมนัน้ เช่น ไดค้ วามซอื่ สัตย์ ความสามัคคี ก่ที างานเป็นกลมุ่ การเข้าสงั คม เป็นต้น - กจิ กรรมกลมุ่ indoor และ outdoor เชน่ กิจกรรมแรลล่ี แคมป์ คา่ ย - ชวนคิดในเหตุการณ์สมมุติ เช่น ถ้าจะทาโครงการ 1 เรื่อง จะนึกถึงอะไรบ้าง เช่น ช่ือโครงการ กล่มุ เป้าหมาย กจิ กรรมกลมุ่ ตวั ชี้วัด งบประมาณ ผูร้ บั ผดิ ชอบ ผู้อนุมตั ิ เป็นตน้ 6
วนั ที่ 27 เมษายน 2565 เวลา 13.00-16.00 น. หวั ขอ้ การบรรยาย: การบริหารความเส่ียงดา้ นการเงิน วิทยากร: อ.เกษร บุญถนอม สรปุ เน้ือหา /ประเด็นการอบรม - พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 19 เมษายน 2561 มีผลบังคับใช้ 20 เมษายน 2561 วัตถุประสงค์ของ พ.ร.บ. วินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 มีวตั ถุประสงค์ 1) เพอ่ื ให้มีกฎหมายหลกั เกย่ี วกบั วินัยการเงนิ การคลังท่ีชัดเจน 2) เพื่อให้รัฐต้องรักษาวินัยการเงินการคลังอย่างเคร่งครัดเพื่อให้เกิดเสถยี รภาพและความมนั่ คงอยา่ ง ยัง่ ยืนต่อฐานะการเงินและการคลังของประเทศ 3) นาบทบญั ญตั ทิ ี่เก่ยี วกับวินัยการเงินการคลังทกี่ าหนดไวใ้ นกฎหมายต่าง ๆ มากาหนดไว้ในกฎหมาย ฉบับเดยี ว - วนิ ยั การเงินการคลัง รายจ่าย 1) หลักการการก่อหน้ีผูกพันหรือจ่ายเงินโดยอาศัยอานาจท่ีมีอยู่ตามกฎหมาย โดยต้องเป็นไปอย่าง โปร่งใส คุ้มค่า และประหยัด โดยพิจารณาเป้าหมาย ประโยชน์ที่ได้รับ ผลสัมฤทธ์ิ และประสิทธิภาพของ หนว่ ยงานของรฐั และตอ้ งเปน็ ไปตามรายการและวงเงินงบประมาณรายจา่ ยของหน่วยงานของรฐั นัน้ ด้วย 2) ให้ผมู้ ีอานาจอนมุ ัตกิ ารจา่ ยเงนิ มีหน้าท่ใี นการตรวจสอบการใชจ้ ่ายเงนิ ของหนว่ ยงานของรัฐให้เป็นไป ตามท่ีกาหนดไวใ้ นกฎหมายหรือกฎ หรอื ตามท่ีไดร้ บั อนุญาตใหจ้ า่ ย มาตรา 39 การเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการนา เงินส่งคลัง ใหเ้ ป็นไปตามระเบยี บทร่ี ัฐมนตรีกาหนดโดยความเหน็ ชอบของคณะรฐั มนตรี มาตรา 61 วรรคสามเว้นแตจ่ ะมกี ฎหมายกาหนดไว้เปน็ อยา่ งอืน่ เงินนอกงบประมาณเมอ่ื ได้ใชจ้ า่ ยในการ ปฏิบตั หิ น้าท่หี รอื การดาเนินงานตามวตั ถปุ ระสงคจ์ นบรรลุวตั ถปุ ระสงคแ์ หง่ การน้ันแล้ว มเี งินคงเหลอื ให้นาส่ง คลังโดยมิชักช้า ท้ังนี้การนาเงินส่งคลังให้เป็นไปตามระเบียบที่รัฐมนตรีกาหนดโดยความเห็นชอบของ คณะรัฐมนตรี - วินัยการเงินการคลงั รายจ่าย กาหนดระเบยี บโดยความเหน็ ชอบ ครม. 1) การเบกิ เงินจากคลงั 2) การรับเงิน 3) การจา่ ยเงนิ 4) การเกบ็ รกั ษาเงิน 5) การนาเงินส่งคลัง - หน่วยงานของรัฐซ่งึ มิใช่สว่ นราชการให้มีการวางหลักเกณฑ์และวิธีการ 1) การเบกิ เงิน 2) การรับเงิน 3) การจา่ ยเงนิ 4) การเก็บรกั ษาเงนิ - ระเบยี บการใชจ้ ่ายเงินทดรองราชการของส่วนราชการ 1) เป็นคา่ ใชจ้ ่ายปลีกย่อย 7
2) เป็นคา่ ใชจ้ า่ ยในการปฏิบตั ิราชการในต่างประเทศ 3) เปน็ คา่ ใช้จ่ายตามขอ้ ผกู พนั ในการกู้เงินจากตา่ งประเทศ 4) เป็นกรณีจาเป็นเร่งดว่ นที่ไม่สามารถรอการเบกิ เงินจากงบประมาณได้ - ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกเงนิ จากคลังการรับเงนิ การจา่ ยเงินการเก็บรักษาเงินและการ นาเงินสง่ คลงั พ.ศ. 2562 - พระราชบญั ญตั ิการงบประมาณ พ.ศ. 2561 มาตรา 43 วรรคสอง ในกรณีท่ไี มส่ ามารถเบิกเงนิ จากคลังได้ภายในปีงบประมาณ ให้ขยายเวลาขอ เบิกเงนิ จากคลังได้เฉพาะในกรณีท่ีหน่วยรับงบประมาณได้ก่อหนี้ผูกพันไว้ก่อนส้ินปีงบประมาณ และไดม้ ีการ กันเงนิ ไวต้ ามระเบยี บเก่ยี วกับการเบิกจา่ ยเงินจากคลังแลว้ วรรคสาม การขยายเวลาขอเบิกเงินจากคลังตามวรรคสอง ใหข้ ยายออกไปได้อกี ไม่เกินหกเดอื นของ ปีงบประมาณถดั ไป เว้นแต่มีความจาเป็นตอ้ งขอเบิกเงินจากคลังภายหลงั เวลาดังกล่าว ใหข้ อทาความตกลงกับ กระทรวงการคลงั เพื่อขอขยายเวลาออกไปไดอ้ กี ไมเ่ กินหกเดือน - เงินงบประมาณ 1) รายการคา่ จ้างช่วั คราว สาหรับคา่ จ้างซึ่งไม่มีกาหนดจ่ายเปน็ งวดแน่นอนเป็นประจา แต่จาเป็นต้อง จ่ายให้ลูกจา้ งแต่ละวนั หรือแตล่ ะคราวเม่อื เสร็จงานทจ่ี า้ ง 2) รายการค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ 3) รายการคา่ สาธารณปู โภค เฉพาะค่าบรกิ ารไปรษณยี โ์ ทรเลข 4) งบกลาง เฉพาะทีจ่ า่ ยเบกิ เงินสวสั ดกิ ารเก่ียวกบั การศกึ ษาบตุ ร เงินเพม่ิ คา่ ครองชพี ชวั่ คราว 5) งบรายจ่ายอนื่ ๆ ทจ่ี ่ายในลักษณะเกี่ยวกับ (1) (2) (3) - เงินทดรองราชการ 1) งบบุคลากรเฉพาะค่าจ้างซงึ่ ไมม่ ีกาหนดจ่ายเป็นงวดแน่นอนเป็นประจาแต่จาเปน็ ต้องจ่ายให้ลูกจ้าง แตล่ ะวันหรือ แต่ละคราวเมือ่ เสร็จงานทจ่ี า้ ง 2) งบดาเนนิ งานยกเวน้ ค่าไฟฟา้ 3) งบกลางเฉพาะที่จ่ายเป็นเงินสวสั ดกิ ารเกย่ี วกับการศึกษาบุตรและคา่ รักษาพยาบาล 4) งบอน่ื ที่จ่ายในลักษณะเช่นเดียวกับ (1) และ(2) - หลักเกณฑแ์ ละวธิ ีปฏิบัตใิ นการจา่ ยเงิน การรับเงินและการนาเงินสง่ คลงั หรือฝากคลงั ของสว่ นราชการ ผา่ นระบบอเิ ล็กทรอนิกส์ - หลกั เกณฑ์และวิธีปฏบิ ตั ใิ นการจ่ายเงินการรับเงินและการนาเงนิ สง่ คลงั หรือฝากคลงั ของส่วนราชการ ผา่ นระบบอิเลก็ ทรอนิกส์ ว.140 ลว. 19 สิงหาคม 2563 - การนาเงินส่งคลงั หรอื ฝากคลงั ผา่ นระบบ KTB Corporate Online ว.140 ลว. 19 สงิ หาคม 2563 8
วันท่ี 28 เมษายน 2565 เวลา 09.00-12.00 น. หวั ข้อการบรรยาย: การบรหิ ารความเสีย่ งดา้ นการพัสดุ วทิ ยากร: : อาจารย์พรรณศกั ด์ิ เดชคิดและอาจารยพ์ รทิพย์ เล็กกระสัน สรุปเน้ือหา /ประเด็นการอบรม ระเบียบกระทรวงการคลงั ว่าด้วยการจดั ซื้อจัดจ้างและการบรหิ ารพัสดภุ าครัฐพ.ศ. 2560 ระเบียบนใี้ หใ้ ชบ้ ังคับตง้ั แตว่ นั ถัดจากวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษา มผี ลบังคับใชต้ ้งั แต่ 24 สงิ หาคม 2560) ใหร้ ัฐมนตรวี า่ การกระทรวงการคลังเปน็ ผู้รักษาการตามระเบยี บนี้ พระราชบัญญตั กิ ารจัดซื้อจัดจา้ งและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 เริ่มใช้บงั คับวันที่ 23 สิงหาคม 2560 เปน็ กฎหมายหลัก มีกฎหมายรอง (กฎหมายลกู ) กฎกระทรวง (8 ฉบบั ) ระเบยี บ 1 ฉบบั มผี ลใช้บังคับ ต้ังแต่วันท่ี 24 สงิ หาคม 2560 เปน็ ตน้ ไป และประกาศคณะกรรมการ ระเบยี บมี 10 หมวด ดงั น้ี 1. ขอ้ ความทั่วไป 2. การซ้ือหรือการจา้ ง 3. งานจ้างที่ปรึกษา 4. งานจา้ งออกแบบหรือควบคมุ งานก่อสร้าง 5. การทาสัญญาและหลักประกัน 6. การบริหารสญั ญาและการตรวจรบั พสั ดุ 7. การประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ านของผู้ประกอบการ 8. การท้งิ งาน 9. การบริหารพัสดุ ความหมายหวั หนา้ หน่วยงานตาม พรบ. หวั หน้าหนว่ ยงานของรัฐ หมายความว่า ผดู้ ารงตาแหน่งในหน่วยงานของรฐั ดังตอ่ ไปน้ี ราชการส่วนกลาง หมายถึง อธิบดีหรือหัวหน้าส่วนราชการที่เรียกช่ืออย่างอ่ืนที่มฐี านะเป็นนติ บิ ุคคล ราชการสว่ นภมู ภิ าค หมายถึง ผ้วู ่าราชการจงั หวัด ราชการสว่ นท้องถิน่ หมายถึง นายกองคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวัด นายกเทศมนตรี นายกองค์การบริหาร ส่วนตาบลผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นายกเมืองพัทยา หรือผู้ดารงตาแหน่งท่ีเรียกช่ืออย่างอื่นที่มีฐานะ เทยี บเทา่ รฐั วิสาหกจิ หมายถึง ผวู้ า่ การ ผู้อานวยการ กรรมการผู้จัดการใหญ่ หรอื ผู้ดารงตาแหน่งทเ่ี รียกชอื่ อย่าง อ่นื ทม่ี ีฐานะเทยี บเทา่ องค์การมหาชน หมายถงึ ผ้อู านวยการหรือผู้ดารงตาแหน่งท่ีเรียกช่อื อย่างอน่ื ที่มฐี านะเทยี บเท่า องค์กรอิสระ หมายถึง เลขาธิการคณะกรรมการการเลือกต้ัง เลขาธิการสานักงานผู้ตรวจการแผ่นดนิ เลขาธิการ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน เลขาธิการ คณะกรรมการสทิ ธมิ นุษยชนแห่งชาติ องค์กรตามรัฐธรรมนูญ หมายถึง อยั การสงู สดุ หน่วยธุรการของศาล หมายถึง เลขาธิการสานักงานศาลยุติธรรม เลขาธิการสานักงานศาลปกครอง เลขาธกิ ารสานกั งานศาลรฐั ธรรมนูญ มหาวิทยาลยั ในกากบั ของรฐั หมายถึง อธิการบดี 9
หน่วยงานสังกัดรัฐสภาหรือในกากับของรัฐสภา หมายถึง เลขาธิการวุฒิสภา เลขาธิการสภา ผแู้ ทนราษฎร เลขาธิการสถาบันพระปกเกลา้ เลขาธกิ ารสานักงานสภาพฒั นาการเมือง หน่วยงานอสิ ระของรัฐ หมายถึง เลขาธกิ ารหรือผดู้ ารงตาแหนง่ ท่เี รียกช่ืออย่างอ่ืนที่มีฐานะเทยี บเท่า หนว่ ยงานอื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวง หมายถงึ ผู้บรหิ ารสงู สดุ ของหน่วยงานตามกฎหมายจัดตั้ง หนว่ ยงานนนั้ อานาจของหวั หนา้ งานของรัฐตามระเบียบกระทรวงการคลัง 1. อานาจการดาเนินการ ประกอบดว้ ย อานาจในการใหค้ วามเหน็ ชอบ/เปล่ียนแปลงแผนจัดซื้อจัดจ้าง ประจาปี อานาจในการใหค้ วามเหน็ ชอบในการซ้ือ/จา้ ง และอานาจในการแต่งตัง้ คณะกรรมการ 2. อานาจอนมุ ตั ิสง่ั ซอ้ื สั่งจา้ ง ตามวงเงนิ แต่ละวธิ ี 3. อานาจลงนามในสญั ญา แกไ้ ขสัญญา ลดงด คา่ ปรบั ขยายระยะเวลา บอกเลกิ สัญญา การดาเนนิ การด้วยวิธีการทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์ การดาเนินการจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุตามระเบียบนี้ ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ ให้หน่วยงานของรัฐดาเนินการในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลางผ่านทางระบบจัดซ้ือจัดจา้ ง ภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Government Procurement : e -GP) ตามวิธีการท่ีกรมบัญชีกลาง กาหนดให้หน่วยงานของรัฐใช้เอกสารท่ีจดั พิมพจ์ ากระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอเิ ลก็ ทรอนิกสเ์ ปน็ เอกสาร ประกอบการดาเนนิ การจัดซ้ือจัดจา้ ง ขอ้ ยกเวน้ ไมต่ ้องดาเนนิ การในระบบ e-GP ตามหนงั สอื ว 322 ลงวันที่ 24 สงิ หาคม 2560 ประกอบดว้ ย การจัดซ้ือจัดจ้าง 1) ราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถ่ิน วงเงินต่ากว่า 5,000 บาท 2) รัฐวิสาหกจิ และหนว่ ยงานของรัฐอืน่ ไม่เกิน 100,000 บาท การจัดซอื้ จัดจา้ งตามข้อ 79 วรรค 2 จาเปน็ เรง่ ดว่ นไม่อาจ คาดหมายได้ จ้างเหมาบุคคลธรรมดาตามหนังสือ ว 82 ลงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 กรณีซ้ือน้ามัน เชอ้ื เพลิงไม่ถงึ 10,000 ลติ ร และไมม่ ีภาชนะเกบ็ รกั ษา ผ้ทู เี่ กยี่ วขอ้ งในการจดั หาพสั ดุ 1. เจา้ หน้าที่ (พัสดุ) โดยตาแหน่งหรือโดยมอบหมาย เจ้าหนา้ ทคี่ วามหมายตามพรบ. โดยตาแหน่งผู้มี หนา้ ที่เกยี่ วกับการจดั ซือ้ จดั จ้างหรือการบริหารพัสดุ หรอื โดยมอบหมายผู้ทีไ่ ด้รับมอบหมายจากผู้มีอานาจให้ ปฏบิ ัติหนา้ ที่เก่ียวกับการจดั ซ้ือจดั จ้างหรอื การบริหารพัสดขุ องหนว่ ยงานของรัฐ 2. หวั หนา้ เจา้ หน้าท่ี (พสั ด)ุ โดยตาแหนง่ หรือโดยมอบหมาย หัวหนา้ เจา้ หน้าทห่ี มายความตามระเบียบ โดยตาแหน่งผู้ดารงตาแหนง่ หัวหน้าสายงานซ่ึงปฏิบัตงิ านเก่ียวกับการจดั ซื้อจดั จ้างหรือการบริหารพัสดุของ หน่วยงานหรือโดยมอบหมายผู้ทไ่ี ดร้ บั มอบหมายจากหวั หนา้ หน่วยงานของรัฐให้เป็นหัวหน้าเจ้าหนา้ ท่ี 3. หัวหน้าหนว่ ยงานของรัฐ หัวหน้าหน่วยงานตามความหมายแห่งระเบียบนี้ อื่น ๆ ผู้บรหิ ารสงู สุดของ หน่วยงานรฐั น้ัน 4. ผู้ทม่ี อี านาจอนมุ ัติสั่งซื้อสัง่ จา้ ง หวั หนา้ หนว่ ยงานของรฐั นนั้ ผมู้ ีอานาจเหนอื ขน้ึ ไปหนง่ึ ชน้ั 5. คณะกรรมการจดั ซ้ือจดั จ้าง คณะกรรมการตรวจรบั พัสดุ ผู้ควบคุมงาน ข้ันตอนการซื้อหรือจา้ ง 1. แผนการจดั ซือ้ จัดจ้าง เมอ่ื หวั หน้าหนว่ ยงานของรฐั เห็นชอบประกาศเผยแพร่แผนฯ 2. ทารายงานขอซ้ือ/จา้ ง 10
3. ดาเนนิ การจัดหาวธิ จี ัดซอื้ จัดจ้างท่ัวไป 3 วธิ ี (วิธีประกาศเชญิ ชวน วธิ คี ดั เลอื ก วธิ เี ฉพาะเจาะจง) 4. ขออนุมัตสิ งั่ ซื้อ/จา้ ง ผมู้ ีอานาจอนมุ ัตสิ ่งั ซอ้ื หรือส่ังจ้าง ได้แก่ หวั หน้าหน่วยงานของรัฐและผ้มู อี านาจ เหนือข้ึนไปหนง่ึ ชนั้ 5. การทาสัญญา หัวหนา้ หน่วยงานของรัฐ 6. การตรวจรับพัสดุ คณะกรรมการตรวจรับพสั ดุ 7. จดั ทาบนั ทึกรายงานผลการพจิ ารณา จดั เกบ็ เอกสารเพ่อื รอการตรวจสอบของหนว่ ยตรวจสอบ 8. การเกบ็ การบันทกึ การเบกิ จา่ ยพัสดุ การบริหารพัสดุ 9. การตรวจสอบพัสดุประจาปี ก่อนสน้ิ เดอื นกันยายนของทกุ ปี - หวั หน้าหน่วยงานของรฐั แต่งต้งั ผรู้ บั ผิดชอบในการตรวจสอบพสั ดุ ท่ีมิใชเ่ ปน็ เจา้ หน้าทพ่ี ัสดุ - ให้เริ่มตรวจเปิดวนั ทาการแรกของเดอื นตุลาคม - ตรวจใหแ้ ลว้ เสรจ็ แล้วเสนอรายงานผลภายใน 30 วนั ทาการนับจากตรวจ 10. การจาหน่ายพสั ดุ ขาย/ขายทอดตลาด/แลกเปล่ยี น/โอน/แปรสภาพหรือทาลาย การจดั ทาแผนการจดั ซอ้ื จัดจา้ ง 1. ช่ือโครงการทจี่ ะจดั ซ้อื จดั จ้าง 2. วงเงนิ ท่ีจะจดั ซ้อื จดั จา้ งโดยประมาณ 3. ระยะเวลาทค่ี าดว่าจะจดั ซื้อจัดจา้ ง 4. รายการอน่ื ตามทก่ี รมบญั ชกี ลางกาหนด ต้องประกาศเผยแพร่แผนดังกล่าวในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลางและของหน่วยงาน ของรัฐตามวิธีการที่กรมบัญชีกลางกาหนด และให้ปิดประกาศโดยเปิดเผย ณ สถานที่ปิดประกาศของ หน่วยงานของรัฐนั้นด้วยหากไม่ได้ประกาศเผยแพร่แผนฯโครงการใดในระบบเครือข่ายสารสนเทศของ กรมบัญชกี ลาง จะไมส่ ามารถดาเนินการจดั ซ้อื จัดจ้างในโครงการนัน้ ได้ 1. กรณจี าเปน็ เร่งดว่ นหรือเป็นพัสดุท่ใี ช้ในราชการลบั 2. กรณีท่ีมีวงเงินในการจัดซ้ือจัดจา้ งตามที่กาหนดในกฎกระทรวงหรือมีความจาเป็นตอ้ งใช้พสั ดโุ ดย ฉุกเฉนิ หรอื เปน็ พัสดุทจ่ี ะขายทอดตลาด 3. กรณงี านจ้างที่ปรกึ ษาที่มีวงเงินตามทก่ี าหนดในกฎกระทรวงหรือมคี วามจาเปน็ เรง่ ด่วนหรือทีเ่ กี่ยวกับ ความมั่นคงของชาติ 4. กรณีงานจา้ งออกแบบหรือควบคุมงานกอ่ สร้างทีม่ ีความจาเป็นเร่งด่วนหรอื ที่เก่ียวกับความม่นั คงของ ชาติ ข้อยกเว้นไม่ตอ้ งประกาศเผยแพร่แผนฯ ในกรณีท่ีมีความจาเปน็ ต้องเปล่ียนแปลงแผนการจัดซ้ือจดั จ้าง ประจาปี ใหเ้ จา้ หนา้ ท่จี ัดทารายงานพร้อมระบุเหตุผลท่ขี อเปล่ียนแปลงเสนอหัวหน้าหนว่ ยงานของรัฐเพื่อขอ ความเหน็ ชอบ การจดั ซื้อจดั จ้าง การดาเนินการเพือ่ ใหไ้ ดม้ าซึง่ พัสดุ ประกอบด้วย ซ้ือ จา้ ง เช่า แลกเปลี่ยน นติ กิ รรมอ่ืน ตามมาตรา 4 พสั ดุ หมายถึง งานกอ่ สรา้ ง งานจา้ งงานออกแบบหรือควบคมุ งาน งานจา้ งทป่ี รกึ ษา งานบริการ สินคา้ หมายถงึ วสั ดุ ครภุ ัณฑ์ ที่ดนิ สิงปลูกสรา้ ง ทรัพย์สนิ อน่ื ใด งานบริการ หมายถึง งานจ้างบริการ งานจ้างเหมาะบริการ งานจ้างทาของ การรับขนตามประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ 11
งานก่อสรา้ ง หมายถึง งานกอ่ สรา้ งอาคาร สาธารณูปโภค การซ่อมแซมปรับปรุง รอื้ ถอน การบรหิ ารงานพัสดุ การบันทึก การเบิกจ่าย การยืม การตรวจสอบ การบารุงรกั ษา การจาหน่าย การเก็บ การจดั ทารา่ งขอบเขตของงานหรอื รายละเอยี ดคณุ ลักษณะเฉพาะของพสั ดหุ รอื แบบรปู รายการงานกอ่ สร้าง การจัดทาบันทึกรายงานผลการพิจารณา การจัดทาร่างขอบเขตของงานหรือรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุหรือแบบรูปรายการงาน กอ่ สร้าง - ในการซ้ือหรือจ้างทมี่ ใิ ช่การจา้ งกอ่ สร้าง ใหห้ ัวหน้าหน่วยงานของรัฐแต่งต้ังคณะกรรมการขึ้นมาคณะ หน่ึงหรือมอบหมายให้เจ้าหน้าที่หรือบุคคลใดบุคคลหนึ่ง จัดทาร่างขอบเขตของงานหรือรายละเอียดคุณ ลักษณะเฉพาะของพสั ดทุ ีจ่ ะซอื้ หรือจา้ ง รวมทัง้ กาหนดหลกั เกณฑ์การพจิ ารณาคดั เลือกข้อเสนอ 12
- ในการจา้ งก่อสร้าง ให้หัวหนา้ หน่วยงานของรัฐแตง่ ตั้งคณะกรรมการขึน้ มาคณะหนึง่ หรอื มอบหมายให้ เจา้ หน้าท่หี รือบคุ คลใดบุคคลหนงึ่ จดั ทาแบบรปู รายการงานก่อสร้างหรอื จะดาเนนิ การจ้างตามความในหมวด 4 งานจา้ งออกแบบหรือควบคมุ งานก่อสร้างกไ็ ด้ - องคป์ ระกอบ ระยะเวลาการพิจารณา และการประชุมของคณะกรรมการตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ใหเ้ ป็นไปตามทีห่ วั หน้าหน่วยงานของรฐั กาหนดตามความจาเป็นและเหมาะสม รายละเอยี ดของงานขอซ้อื ขอจ้าง - เหตุผลความจาเปน็ ที่ต้องซ้อื หรือจ้าง - ขอบเขตของงานหรือรายละเอียดคุณลกั ษณะเฉพาะของพสั ดุหรือแบบรูปรายการงานก่อสร้างที่จะซ้ือ หรอื จ้าง แล้วแตก่ รณี - ราคากลางของพสั ดุทจี่ ะซ้ือหรือจ้าง - วงเงินท่ีจะซ้อื หรือจ้าง โดยใหร้ ะบวุ งเงินงบประมาณ ถ้าไมม่ วี งเงินดังกล่าวใหร้ ะบุวงเงินที่ประมาณว่า จะซือ้ หรอื จา้ งในครั้งน้ัน - กาหนดเวลาที่ตอ้ งการใช้พสั ดนุ ้ัน หรือให้งานนั้นแลว้ เสรจ็ - วิธจี ะซอ้ื หรือจา้ งและเหตผุ ลที่ตอ้ งซอื้ /จ้างโดยวธิ นี น้ั - หลกั เกณฑก์ ารพิจารณาคดั เลอื กข้อเสนอ - ข้อเสนออื่น ๆ เช่น การขออนุมัติแต่งตั้งคณะกรรมการต่าง ๆ ที่จาเป็นในการซื้อหรือจ้าง การออก เอกสารซอ้ื หรือจา้ งและประกาศเผยแพร่ ข้อยกเว้น 1) การซ้ือหรือจ้างกรณีจาเป็นเร่งด่วนไม่อาจคาดหมาย ตามมาตรา ๕๖ (๑) (ค) 2) จาเปน็ ตอ้ งใช้พสั ดุโดยฉุกเฉิน เนอื่ งจากอบุ ัตภิ ัยภัยธรรมชาติ ตามมาตรา ๕๖ (๒) (ง) และ3) การซื้อหรอื จ้างท่ี มวี งเงินเล็กน้อยตามทก่ี าหนดในกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา ๙๖ วรรค ๒ ซงึ่ ไมอ่ าจทารายงานตามปกติได้ ให้เจา้ หน้าทหี่ รือผู้ท่รี บั ผดิ ชอบในการปฏบิ ัติงานนนั้ จดั ทารายงานเฉพาะรายการท่ีเห็นว่าจาเปน็ ก็ได้ 13
การแต่งตัง้ คณะกรรมการ องค์ประกอบ และการประชมุ ขอ้ ห้าม ในการซอ้ื หรือจา้ งครัง้ เดียวกนั หา้ มแต่งตัง้ ผทู้ เี่ ป็นกรรมการพจิ ารณาผลการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ กรรมการพิจารณาผลการสอบราคา หรือกรรมการซื้อหรือจ้างโดยวิธีคัดเลือกเป็นกรรมการตรวจรับพัสดุ คณะกรรมการซอื้ หรอื จา้ งทุกคณะ ควรแตง่ ต้ังผชู้ านาญการหรือผทู้ รงคุณวุฒเิ กยี่ วกับงานซื้อหรือจ้างน้นั ๆ เขา้ ร่วมเป็นกรรมการดว้ ย ข้อยกเว้นกรณแี ตง่ ต้ังผู้ตรวจรบั เพยี งคนเดียว ในกรณที ี่การจัดซื้อจดั จา้ งมีวงเงินเล็กน้อยตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวงวงเงินครั้งหนง่ึ ไม่เกิน 100,000 บาท จะแต่งตั้งบุคคลหนงึ่ บุคคลใดเป็นผตู้ รวจรบั พสั ดุโดยปฏบิ ตั หิ น้าทีเ่ ชน่ เดยี วกับคณะกรรมการตรวจรับพสั ดุ หลกั การในการประชมุ ของคณะกรรมการ ประธานต้องอยู่ปฏิบัติหน้าท่ีทุกคร้ัง ในกรณีท่ีประธานไม่อาจปฏิบัติหน้าท่ีได้ต้องเลื่อนการประชุม ออกไป หากไมส่ ามารถเลื่อนการประชุมออกไปได้ ใหห้ ัวหนา้ หนว่ ยงานของรัฐแต่งตั้งประธานคนใหม่เพ่ือทา หนา้ ที่ประธานแทน 14
การมสี ว่ นได้ส่วนเสียของคณะกรรมการซอ้ื หรอื จ้าง ประธานกรรมการและกรรมการ จะตอ้ งไม่เป็นผู้มีสว่ นไดเ้ สยี กับผู้ยนื่ ขอ้ เสนอหรอื คูส่ ญั ญาในการซ้ือหรือ จ้างครั้งน้ัน ทั้งนี้การมีส่วนได้เสียในเรื่องซ่ึงท่ีประชุมพิจารณาของประธานกรรมการและกรรมการให้เป็นไป ตามกฎหมายว่าด้วยวธิ ปี ฏิบตั ิราชการทางปกครอง (มาตรา 13) หากประธานหรือกรรมการทราบว่าตนเปน็ ผู้มสี ่วนไดเ้ สียกับผู้ยืน่ ข้อเสนอหรอื ค่สู ัญญาในการซอ้ื หรือจ้าง คร้งั นน้ั ใหป้ ระธานหรือกรรมการผนู้ ั้นลาออกจากการเปน็ ประธานหรือกรรมการในคณะกรรมการท่ีตนได้รับ แต่งต้งั น้นั และใหร้ ายงานหัวหนา้ หนว่ ยงานของรฐั ทราบเพื่อส่งั การตามทีเ่ ห็นสมควรตอ่ ไป การแบง่ ซ้อื แบ่งจ้าง การแบ่งซอื้ แบง่ จา้ ง หมายถึง การลดวงเงนิ ที่จะซื้อหรือจ้างในครัง้ เดียวกันออกเป็นหลายครั้ง โดยไม่มี เหตุผลความจาเป็น และมเี จตนาทจี่ ะหลีกเล่ยี ง 1) แบ่งวงเงินให้ลดลงเพื่อเปลย่ี นวิธีจดั หาพัสดุ 2) ใหผ้ ้มู ีอานาจสง่ั ซือ้ สง่ั จา้ ง เปลย่ี นแปลงไป วิธกี ารซอ้ื หรือจา้ งกระทาได้ 3 วธิ ี ดังน้ี 1. วธิ ปี ระกาศเชิญชวนทัว่ ไป เชญิ ชวนให้ผู้ประกอบการท่วั ไปท่ีมีคุณสมบัตติ รงตามเง่ือนไขที่กาหนด เขา้ ย่ืนขอ้ เสนอ 2. วิธีคัดเลอื ก เชญิ ชวนเฉพาะผู้ประกอบการท่ีมคี ุณสมบตั ติ รงตามที่กาหนดซึ่งต้องไม่น้อยกว่า 3 ราย ใหเ้ ข้ายน่ื ข้อเสนอ เว้นแต่ผปู้ ระกอบการท่ีมีคุณสมบตั ติ รงตามกาหนดนอ้ ยกว่า 3 ราย 3. วธิ เี ฉพาะเจาะจง หน่วยงานภาครฐั เชญิ ชวนผปู้ ระกอบการท่ีมีคุณสมบัติตรงตามทีก่ าหนดรายใดราย หนงึ่ ใหเ้ ขา้ ย่ืนข้อเสนอหรอื ให้เข้ามาเจรจาต่อรองราคากับหนว่ ยงานของรฐั โดยตรง 1. วธิ ีประกาศเชญิ ชวนทว่ั ไป สามารถทาได้ 3 วิธี 1. วิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Market : e – market) ได้แก่ การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุที่มี รายละเอียดคุณลักษณะท่ีไม่ซับซ้อน เป็นสินค้าหรืองานบริการทั่วไปท่ีกาหนดไว้ในระบบข้อมูลสินค้า (e - catalog) 2. วิธปี ระกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Bidding: e – bidding) ได้แก่ การจัดซือ้ จัดจ้างพัสดุ คร้ังหนึ่ง ซ่ึงมีราคาเกิน 500,000 บาท โดยเป็นการจัดซ้ือจดั จ้างพสั ดุท่ีมีรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะที่มี ความซับซ้อน มีเทคนิคเฉพาะหรือเป็นสินค้าหรืองานบริการที่ไม่ได้กาหนดไว้ในระบบข้อมูลสินค้า (e - catalog) 3. วิธีสอบราคา ได้แก่ การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุคร้ังหน่ึงซ่ึงมีราคาเกิน 500,000 บาท แต่ไม่เกิน 5,000,000 บาท ให้กระทาได้เฉพาะกรณีหน่วยงานของรัฐนั้นอยู่ในพื้นที่มีข้อจากัดในการใช้สัญญาณ อินเตอร์เน็ต ทั้งนี้เจ้าหน้าที่ต้องระบุเหตุผลและความจาเป็นที่ไม่อาจดาเนินการ e – market หรือ e – bidding ไวใ้ นรายงานขอซ้อื ขอจา้ งด้วย 15
การเผยแพร่ประกาศและเอกสารเชิญชวนและการขายหรือใหเ้ อกสาร 1. e-market เผยแพรไ่ มน่ อ้ ยกวา่ 3 วนั ทาการ วิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Market : e – market) วิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ การจัดหาพัสดุท่ีมีรายละเอียดคุณลักษณะที่ไมซ่ ับซ้อน เป็นสินค้าหรือ บริการทั่วไป มมี าตรฐานซ่ึงกาหนดให้สว่ นราชการจัดซื้อสินค้าหรืองานจ้างท่ีกาหนดไว้ในระบบ e - catalog กระทาได้ 2 ลกั ษณะดังนี้ (1) การเสนอราคา โดยใบเสนอราคา ได้แก่ การจัดหาพสั ดุคร้ังหน่งึ ซ่งึ มีราคาเกิน 500,000 บาท แต่ไม่ เกนิ 5,000,000 บาท (2) การเสนอราคา โดยการประมูลอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ การจัดหาพัสดุคร้ังหนึ่ง ซ่ึงมีราคาเกิน 5,000,000 บาท กองการพสั ดภุ าครัฐ 2. e-bidding - การให้หรือขายเอกสารให้ดาเนินการไปพรอ้ มกับการ เผยแพรป่ ระกาศและเอกสาร - วงเงนิ เกิน 5 แสน แต่ไม่เกิน 5 ล้าน เผยแพรไ่ ม่นอ้ ยกวา่ 5 วนั ทาการ - เกิน 5 ล้าน แต่ไม่เกนิ 10 ลา้ น เผยแพร่ไมน่ ้อยกว่า 10 วนั ทาการ - เกนิ 10 ล้าน แต่ไมเ่ กิน 50 ล้าน เผยแพรไ่ มน่ ้อยกวา่ 12 วันทาการ - เกิน 50 ล้าน เผยแพร่ไม่น้อยกวา่ 20 วันทาการ วธิ ปี ระกวดราคาอเิ ล็กทรอนิกส์ (Electronic Bidding : e - bidding) การซ้ือหรือจ้างคร้ังหน่ึง ซ่ึงมีวงเงินเกิน 500,000 บาท และเป็นสินค้าหรืองานบริการท่ีไม่ได้กาหนด รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุไว้ในระบบข้อมูลสินค้า (e – catalog) โดยให้ดาเนินการในระบบ ประกวดราคาอิเล็กทรอนกิ ส์ (Electronic Bidding : e – bidding) ตามวธิ ีการที่กรมบญั ชกี ลางกาหนด 16
การประกาศผลผูช้ นะการเสนอราคา (ขอ้ ๕๙) เมื่อหัวหน้าหน่วยงานของรฐั ใหค้ วามเห็นชอบรายงานผลการพิจารณา และผู้มีอานาจอนมุ ัติส่งั ซือ้ สั่งจ้าง แลว้ ใหห้ ัวหนา้ เจา้ หน้าท่ปี ระกาศผลผู้ชนะการเสนอราคาในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบญั ชีกลางและ ของหน่วยงานของรัฐตามวิธีการท่ีกรมบัญชีกลางกาหนด และให้ปิดประกาศโดยเปิดเผย ณ สถานที่ปิด ประกาศของหน่วยงานของรัฐนั้น และแจ้งให้ผู้เสนอราคาทุกรายทราบผ่านทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (e - mail) ตามแบบท่ีกรมบัญชกี ลางกาหนด 3. สอบราคา - การใหห้ รอื ขายเอกสารให้ดาเนนิ การไปพร้อมกบั การเผยแพร่ประกาศและเอกสาร - เผยแพร่ไมน่ อ้ ยกว่า 5 วันทาการ วธิ ีสอบราคา ไดแ้ ก่ การจัดซ้ือจดั จ้างพัสดคุ รัง้ หน่ึงซึ่งมีราคาเกิน 500,000 บาท แตไ่ ม่เกิน 5,000,000 บาท ใหก้ ระทาไดเ้ ฉพาะกรณีท่ีหน่วยงานของรัฐตั้งอยู่ในพืน้ ท่ีทม่ี ีข้อจากัดในการใช้สัญญาณอินเตอรเ์ นต็ ทงั้ นี้ เจ้าหน้าท่ีต้องระบุเหตุผลและความจาเป็นท่ีไม่อาจดาเนินการด้วยวิธี e-market หรือวิธี e-bidding ไว้ใน รายงานขอซ้ือขอจ้างดว้ ย การดาเนินการโดยวธิ ีสอบราคา วธิ สี อบราคา คอื การซอื้ หรือจ้างคร้ังหนง่ึ เกิน 500,000 บาท แตไ่ มเ่ กิน 5,000,000 บาท - ให้กระทาได้ในกรณีท่ีหน่วยงานของรัฐน้ันต้ังอยู่ในพื้นท่ีทีีมีข้อจากัดในการใช้สัญญาณอินเตอร์เน็ต ทาให้ไมส่ ามารถดาเนินการผา่ นระบบตลาดอเิ ลก็ ทรอนิกสห์ รือระบบประกวดราคาอเิ ล็กทรอนิกสไ์ ด้ - ทงั้ นี้ ใหเ้ จา้ หน้าท่ีระบุเหตุผลความจาเป็นที่ไม่อาจดาเนนิ การซื้อหรือจ้างด้วยวิธตี ลาดอิเลก็ ทรอนิกส์ หรือวธิ ีประกวดราคาอเิ ลก็ ทรอนิกสไ์ ว้ในรายงานขอซอื้ หรือขอจ้างด้วย 2. วิธีคดั เลือก ให้คณะกรรมการซ้ือหรือจ้างโดยวิธีคัดเลือกเชิญชวนผู้ประกอบการท่ีมีคุณสมบัติตรงตามเง่ือนไขที่ กาหนดไม่นอ้ ยกว่า 3 ราย เวน้ แต่ในงานนนั้ มผี ปู้ ระกอบการทมี่ คี ณุ สมบตั ติ รงตามท่ีกาหนดนอ้ ยกวา่ 3 ราย 17
หนา้ ทีค่ ณะกรรมการจดั ซ้ือหรือจา้ งโดยวธิ คี ดั เลอื ก - จัดทาหนงั สือเชญิ ชวนไปยังผูป้ ระกอบการที่มคี ุณสมบัติตรงตามที่กาหนด - รับซองขอ้ เสนอของผู้ประกอบการ เฉพาะรายที่มหี นงั สอื เชิญชวนเท่านน้ั พร้อมจดั ทาบญั ชรี ายชอื่ ผู้มา ย่นื ข้อเสนอ (เมอื่ พน้ กาหนดเวลาย่ืนซองข้อเสนอ ห้ามรับเอกสารหลกั ฐานฯ ต่างๆ และพัสดุ ตัวอย่างเพิ่มเตมิ ) - เมื่อถึงกาหนดวนั เวลาการเปิดซองขอ้ เสนอ ใหก้ รรมการเปดิ ซองผู้ยน่ื เสนอราคาทุกรายและตรวจสอบ เอกสารหลักฐาน พร้อมจัดทาบัญชีรายการเอกสารหลักฐานต่างๆ ของผู้ยื่นข้อเสนอ + กรรมการทุกคนลง ลายมอื ช่ือกากับเอกสารทุกแผ่น - ตรวจสอบคุณสมบัติของผู้ยนื่ เสนอราคาให้ถูกต้องตามเงื่อนไขที่กาหนด - พจิ ารณาคัดเลือกพัสดุทจ่ี ะซ้ือหรือจ้างของผู้ยื่นขอ้ เสนอ ที่ถกู ตอ้ งตามที่กาหนด แลว้ ใหเ้ สนอซื้อหรือ จ้างจากผู้ยื่นข้อเสนอรายท่ีได้รับคัดเลือกไว้ ซึ่งเสนอราคาต่าสุดหรือได้คะแนนรวมสูงสุดตามเกณฑ์การ พิจารณาผลทห่ี นว่ ยงานของรฐั กาหนดไว้ในเอกสารเชิญชวน - จัดทารายงานผลการพิจารณาเสนอหัวหน้าหน่วยงานของรัฐผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าท่ีประกอบด้วย รายการพัสดุ รายช่ือผู้ย่ืนข้อเสนอ ราคาท่ีเสนอทุกราย ผู้ผ่านการคัดเลือก หลักเกณฑ์การพิจารณา ผลการ พจิ ารณา การพจิ ารณาผลการเสนอราคา หากปรากฏวา่ มีผยู้ ื่นข้อเสนอเพียงรายเดียว หรอื มีผู้ยื่นข้อเสนอหลายราย แตถ่ กู ตอ้ งตรงตามเงอ่ื นไขที่ กาหนดในหนังสือเชิญชวนเพียงรายเดียว ให้กรรมการฯ ให้เสนอหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ ผ่านหัวหน้า เจ้าหน้าทเ่ี พื่อยกเลกิ การคัดเลือกคร้ังน้ัน แตถ่ า้ คณะกรรมการเห็นว่ามเี หตผุ ลสมควรท่จี ะดาเนินการต่อไปโดย ไม่ต้องยกเลิก ให้คณะกรรมการฯ ต่อรองราคากับผู้ยื่นข้อเสนอรายนั้น แล้วเสนอความเห็นต่อหัวหน้า หน่วยงานของรัฐตอ่ ไป กรณีไม่มีผู้เสนอราคาหรือมีแตไ่ มถ่ ูกต้องตรงตามเงื่อนไขทีก่ าหนด ในหนังสือเชิญชวนให้เสนอหวั หนา้ หน่วยงานของรัฐ ผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าท่ีเพ่ือยกเลิกการคัดเลือกในคร้ังน้ั น และดาเนินการใหม่โดยวิธี เฉพาะเจาะจงตามมาตรา 56 (2) (ก) กไ็ ด้ 18
3. วธิ เี ฉพาะเจาะจง ใหค้ ณะกรรมการซื้อหรือจา้ งโดยวิธีเฉพาะเจาะจงเชิญชวนผู้ประกอบการท่มี คี ุณสมบัตติ รงตามเงื่อนไขที่ กาหนดรายใดรายหนง่ึ เข้ายนื่ ขอ้ เสนอหรอื เขา้ มาเจรจาตอ่ รองราคา การทาสญั ญาและหลกั ประกัน 1. ให้หนว่ ยงานของรัฐทาสัญญาตามแบบท่คี ณะกรรมการนโยบายกาหนด หากจาเป็นต้องมีข้อความหรือรายการแตกต่างไปจากท่ีคณะกรรมการนโยบายกาหนด โดยมี สาระสาคญั ตามทีก่ าหนดไว้ในแบบ และไม่ทาใหห้ นว่ ยงานของรฐั เสยี เปรียบก็ใหก้ ระทาได้ 2. การลงนามในสัญญาเปน็ อานาจของหัวหนา้ หน่วยงานของรัฐ การลงนามในสญั ญาตามวรรคหนึ่ง จะกระทาไดเ้ มื่อพน้ ระยะเวลา การอทุ ธรณต์ ามกฎหมายวา่ ด้วยการ จดั ซื้อจดั จา้ งและการบริหารพัสดุภาครัฐ 3. การแกไ้ ขสญั ญาหรอื ข้อตกลงต้องอยภู่ ายในขอบขา่ ยแห่งวตั ถุประสงค์เดมิ หน่วยงานของรัฐต้องพิจารณาเปรียบเทียบคุณภาพของพัสดหุ รือรายละเอยี ดของงาน รวมทงั้ ราคาของ พัสดหุ รอื งานตามสญั ญาหรอื ข้อตกลงกบั พสั ดทุ จ่ี ะทาการแกไ้ ขน้ันก่อนแกไ้ ขสัญญาหรอื ข้อตกลงด้วย การลงนามในสญั ญา มาตรา 66 วรรค 2 การลงนามในสัญญาจะกระทาได้ต่อเม่ือล่วงพ้นระยะเวลาอุทธรณ์ และไม่มีผู้ใด อุทธรณ์ ตามมาตรา 117 เวน้ แต่ 1. การจดั ซื้อจดั จา้ งทม่ี ีความจาเปน็ เร่งดว่ น ตามมาตรา 56 (1) (ค) 2. การจัดซื้อจัดจ้างโดยวธิ ีเฉพาะเจาะจง 19
3. การจดั ซือ้ จดั จา้ งที่มวี งเงนิ เลก็ นอ้ ยตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวง (ไม่เกนิ 1 แสน) ตามมาตรา 96 วรรค 2 การอทุ ธรณ์ มาตรา 114 ผู้ซ่ึงได้ย่ืนข้อเสนอเพื่อทาการจัดซ้ือจัดจ้างพัสดุ กับหน่วยงานของรัฐ มีสิทธิอุทธรณ์เกี่ยวกับการจัดซ้ือจัดจ้าง พัสดุ ในกรณีท่ีเห็นว่าหน่วยงานของรัฐมิได้ปฏิบัติให้เป็นไป ต าม หลั กเกณฑ์ แ ละ วิ ธี ก าร ท่ี กาหน ด ใ น พ ระ ร าช บั ญ ญั ติ นี้ กฎกระทรวง ระเบียบ หรือประกาศที่ออกตามความ ใน พระราชบญั ญตั ินี้ เป็นเหตใุ หต้ นไม่ไดร้ ับการประกาศผลเป็นผู้ ชนะหรอื ไม่ได้รบั การคดั เลอื กเปน็ คู่สญั ญากบั หน่วยงานของรัฐ มาตรา 115 ผมู้ ีสทิ ธิอทุ ธรณจ์ ะยื่นอุทธรณ์ในเร่ืองดงั ตอ่ ไปน้ไี ม่ได้ (1) การเลือกใช้วิธีการจัดซื้อจัดจ้างหรือเกณฑ์ท่ีใช้ในการพิจารณาผลการจัดซื้อจัดจ้างตาม พระราชบญั ญัตินขี้ องหนว่ ยงานของรัฐ (2) การยกเลิกการจดั ซ้อื จัดจ้างตามมาตรา 67 (3) การละเว้นการอ้างถึงพระราชบัญญัติน้ี กฎกระทรวง ระเบียบ หรือประกาศท่ีออกตาม พระราชบัญญัติน้ใี นส่วนท่เี ก่ียวขอ้ งโดยตรงกับการจัดซื้อจดั จา้ งในประกาศ เอกสารหรอื หนังสือเชญิ ชวนของ หนว่ ยงานของรัฐ (4) กรณีอน่ื ตามทก่ี าหนดในกฎกระทรวง รูปแบบของสัญญา 20
การปรับ หลักประกันการเสนอราคา - เพื่อประกันความเสียหายท่ีอาจเกิดขึ้นจากกรณีท่ีผู้เสนอราคาหรือผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตาม กระบวนการซื้อหรอื จา้ ง หรือการจ้างออกแบบหรือควบคมุ งานก่อสร้างให้หนว่ ยงานของรฐั กาหนดหลักประกัน การเสนอราคา สาหรบั การซ้ือหรือจา้ งด้วยวิธีประกวดราคาอเิ ล็กทรอนิกส์ งานจา้ งออกแบบหรือควบคุมงาน ก่อสร้างดว้ ยวธิ ปี ระกาศเชญิ ชวนท่วั ไปทมี่ วี งเงนิ ซ้ือหรอื จา้ งเกินกวา่ 5,000,000 บาท ดงั นี้ - การซ้อื หรือจ้างด้วยวิธปี ระกวดราคาอเิ ล็กทรอนิกส์ ให้มีการวางหลักประกันการเสนอราคา โดยให้ใช้ หลักประกนั อย่างหนึง่ อย่างใด ดงั ต่อไปนี้ 21
(1) เช็คหรอื ดราฟทท์ ี่ธนาคารเซน็ ส่ังจา่ ย ซึง่ เปน็ เชค็ หรอื ดราฟท์ลงวันท่ีท่ใี ช้เช็คหรือดราฟท์นนั้ ชาระต่อ เจา้ หนา้ ที่ หรือกอ่ นวนั นน้ั ไม่เกนิ 3 วนั ทาการ (2) หนังสือค้าประกันอิเล็กทรอนิกส์ของธนาคารภายในประเทศตามแบบที่คณะกรรมการนโยบาย กาหนด (3) พันธบตั รรัฐบาลไทย (4) หนังสอื ค้าประกันของบริษทั เงนิ ทนุ หรือบริษัทเงนิ ทนุ หลักทรพั ย์ทไี่ ด้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการ เงนิ ทุน หลกั ประกนั สัญญา ใหใ้ ช้หลักประกนั อยา่ งหน่ึงอย่างใด ดงั น้ี 1. เงนิ สด 2. เช็คหรือดราฟท์ท่ีธนาคารเซ็นส่ังจา่ ย ซ่ึงเป็นเช็คหรือดราฟท์ลงวันทีีใชเ้ ช็คหรือดราฟท์นั้ นชาระตอ่ เจ้าหนา้ ท่ี หรือกอ่ นวันน้ันไม่เกนิ 3 วันทาการ 3. หนงั สือค้าประกนั ของธนาคารในประเทศ 4. หนงั สือค้าประกนั ของบริษทั เงินทนุ 5. พนั ธบัตรรฐั บาลไทย มูลคา่ หลักประกนั การเสนอราคาและหลกั ประกนั สัญญา - ร้อยละ 5 ของวงเงินงบประมาณหรอื ราคาพสั ดทุ ่จี ดั ซือ้ จัดจ้างในคร้ังนั้นเว้นแต่การจดั หาทีส่ าคัญพิเศษ กาหนดสูงกว่าร้อยละ 5 แต่ไม่เกินร้อยละ 10 ก็ได้ กรณีหน่วยงานของรัฐเป็นผู้ยื่นข้อเสนอหรือเป็นคสู่ ญั ญา ไม่ต้องวางหลกั ประกนั การคืนหลักประกนั 1. หลกั ประกันการเสนอราคา คนื ภายใน 15 วัน นับถดั จากวนั ท่หี ัวหน้าหน่วยงานของรัฐไดพ้ ิจารณารายงานผลคดั เลือกผ้ชู นะการซื้อ หรือจ้างเรยี บร้อยแล้ว เวน้ แตผ่ ้ยู ่ืนข้อเสนอรายทค่ี ัดเลือกไว้ ซ่งึ เสนอราคาตา่ สุดไม่เกนิ 3 ราย ให้คนื ได้ตอ่ เมื่อ ไดท้ าสญั ญาหรือขอ้ ตกลง หรอื ผู้ยนื่ ขอ้ เสนอได้พน้ จากข้อผูกพันแล้ว 2. หลักประกันสญั ญา ให้คนื แก่คู่สัญญา หรอื ผู้คา้ ประกันโดยเรว็ และอย่างช้าต้องไม่เกิน 15 วัน นับถดั จากวนั ท่ีคสู่ ัญญาพ้น ขอ้ ผูกพนั ตามสญั ญาแล้ว 3. การคนื หลักประกนั หนังสือค้าประกันของธนาคาร บริษัทเงินทุนหรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ ในกรณีที่ผู้ย่ืนข้อเสนอหรือ คสู่ ัญญาไมม่ ารบั ภายในกาหนดเวลาขา้ งตน้ ให้รีบส่งต้นฉบับหนังสอื ค้าประกันให้แก่ผยู้ ืน่ ข้อเสนอหรือคู่สัญญา โดยทางไปรษณีย์ลงทะเบยี นโดยเร็วพร้อมกับแจง้ ให้ธนาคาร บริษัทเงินทุนหรือบริษัทเงินทนุ หลกั ทรัพย์ผู้คา้ ประกันทราบด้วย สาหรับหนังสือค้าประกันอิเล็กทรอนิกส์ของธนาคารให้คืนแก่ธนาคารผู้ออกหนังสือค้า ประกนั อเิ ลก็ ทรอนิกสผ์ า่ นทางระบบจัดซ้อื จดั จา้ งภาครัฐด้วยอเิ ล็กทรอนิกส์ 22
การบริหารสัญญาและการตรวจรับพัสดุ ผู้มีหน้าที่เสนอความเห็น คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ รับผิดชอบการบริหารสัญญาหรือข้อตกลง หลงั จากท่ีได้มกี ารลงนามในสัญญาหรอื ขอ้ ตกลงแลว้ และทาการตรวจรับพสั ดุใหเ้ ป็นไปตามเง่ือนไขของสัญญา หรือข้อตกลงนนั้ หน้าทีข่ องคณะกรรมการตรวจรับพสั ดุ งานซ้อื หรอื งานจ้างตรวจรับพัสดุ ณ ทีท่ าการของผูใ้ ช้พัสดุ สถานท่ีทก่ี าหนดในสัญญา / ข้อตกลงสถานท่ีอื่น ทมี่ ิได้มีสญั ญา / ขอ้ ตกลง ตอ้ งได้รบั อนุมัตจิ ากหัวหน้าหนว่ ยงานของรฐั กอ่ น 1. งานซ้อื หรืองานจา้ ง หลกั เกณฑ์การตรวจรับ - ตรวจให้ถูกตอ้ งครบถว้ นตามทีต่ กลง - ถ้าต้องตรวจทดลองหรือตรวจทางเทคนิค/ วิทยาศาสตร์จะเชิญผู้เช่ียวชาญ/ ผู้ทรงคุณวุฒิมาให้ คาปรึกษา/ หรือส่งไปตรวจสอบ ณ สถานที่ของผู้ชานาญการ หรือผู้ทรงคณุ วฒุ กิ ไ็ ด้ - กรณจี าเป็นตรวจนบั เป็นจานวนหน่วยไมไ่ ด้ทั้งหมด ใหต้ รวจรบั ตามหลักวิชาการสถติ ิ - ระยะเวลาตรวจรบั ตรวจวันที่ผขู้ าย หรอื ผรู้ บั จา้ งนาพัสดุมาส่ง ตรวจให้เสรจ็ สน้ิ โดยเร็วทีส่ ดุ กรณตี รวจรับถกู ต้อง - รับพสั ดไุ ว้ ถือว่าผขู้ าย / ผ้รู บั จ้าง ส่งมอบถกู ตอ้ งครบถ้วน ณ วันที่นาพสั ดมุ าสง่ มอบ และสง่ มอบพสั ดุ ใหเ้ จ้าหนา้ ท่ี - ทาใบตรวจรบั โดยลงช่ือเปน็ หลักฐานอย่างน้อย 2 ฉบบั (ให้ผขู้ าย /ผรู้ บั จ้าง 1 ฉบบั เจ้าหนา้ ที่ 1 ฉบับ เพ่ือประกอบการเบกิ จ่ายเงิน) - รายงานผลใหห้ วั หน้าหนว่ ยงานของรฐั ผา่ น หวั หน้าเจา้ หนา้ ท่ีเพอ่ื ทราบและสง่ั การ 23
กรณพี สั ดุทส่ี ง่ มอบ ไมค่ รบจานวน/ไม่ถูกตอ้ ง ถา้ สัญญาหรือขอ้ ตกลง มไิ ดก้ าหนดไวเ้ ปน็ อยา่ งอน่ื ใหร้ บั เฉพาะท่ีถูกตอ้ ง - มอบพัสดใุ ห้เจา้ หน้าที่ - ทาใบตรวจรับ 2 ฉบับ สง่ ผขู้ ายและ เจ้าหน้าท่ีพสั ดุ - รบี รายงาน หัวหนา้ หน่วยงานของรัฐ เพือ่ แจ้งผู้ขาย/ ผ้รู บั จา้ ง ทราบภายใน 3 วันทาการนับถดั จากวัน ตรวจพบ - สงวนสทิ ธ์ปิ รบั (สว่ นที่สง่ ไม่ถูกต้อง) กรณีพสั ดุเป็นชดุ / หน่วย ใหด้ ูวา่ ถ้าขาดสว่ นใดสว่ นหนึ่งไปแลว้ จะใชก้ ารไมไ่ ด้อย่างสมบรู ณ์ - ถือวา่ ยังไมไ่ ดส้ ่งมอบ - รบี รายงาน หัวหนา้ หนว่ ยงานของรัฐ เพื่อแจง้ ผูข้ าย/ ผ้รู ับจ้างทราบภายใน 3 วันทาการนบั ถัดจากวัน ตรวจพบ กรณกี รรมการตรวจรบั บางคนไมย่ อมรบั พัสดุ ให้ทาความเหน็ แยง้ ไว้ ให้เสนอหวั หนา้ หนว่ ยงานของรัฐเพื่อส่ังการ - ถ้าหวั หน้าหนว่ ยงานของรัฐ สัง่ การใหร้ บั พัสดไุ ว้ - ใหด้ าเนินการออกใบตรวจรับให้ผขู้ าย/ ผรู้ บั จา้ ง 1 ฉบับ และ เจา้ หนา้ ที่ 1 ฉบบั 2. งานจ้างก่อสรา้ ง ตรวจสอบคุณวุฒิและรายงานของผู้ควบคมุ งาน - ตรวจสอบรายงานการปฏบิ ัตงิ านของผู้รบั จ้าง - ตรวจตามแบบรปู รายการละเอยี ดตามท่รี ะบุในสญั ญา/ขอ้ ตกลงทุกสัปดาห์ - รับทราบการสั่งการของผู้ควบคุมงาน กรณีสั่งผู้รับจ้างหยุดงานหรือพักงาน แล้วรายงานหัวหน้า หนว่ ยงานของรัฐเพื่อสั่งการ - ออกตรวจงานจ้าง ณ สถานท่ีที่กาหนดในสัญญา/ข้อตกลงตามเวลาท่เี หมาะสม และจดั ทาบนั ทึกผล การออกตรวจไวเ้ ป็นหลักฐาน กรณีมีข้อสงสัยเห็นว่า ไมน่ ่าจะเปน็ ตามหลักวิชาการชา่ ง - ให้มีอานาจ สั่งเปลี่ยนแปลง แก้ไข เพิ่มเติม ตัดทอน งานจ้างได้ตามที่เห็นสมควร และตามหลัก วชิ าการช่าง เพอื่ ให้เปน็ ไปตามรปู แบบรายการละเอยี ด - ตรวจผลงานท่ีส่งมอบ ภายใน 3 วันทาการ นับแต่วันประธานกรรรมการรับทราบการส่งมอบงาน ตรวจให้เสรจ็ โดยเรว็ ทีส่ ดุ กรณีตรวจถูกตอ้ ง - ทาใบรับรองผลการปฏิบัตงิ านลงชือ่ เป็นหลกั ฐาน - ทัง้ หมด / เฉพาะงวด - มอบให้ผู้รบั จ้าง 1 ฉบบั และเจ้าหน้าท่ี 1 ฉบบั - รายงาน หัวหนา้ หน่วยงานของรัฐทราบ กรณตี รวจพบว่าไม่ถูกตอ้ ง ทง้ั หมด/เฉพาะงวดใด - ให้รายงานหัวหนา้ หน่วยงานของรัฐผ่านหัวหน้าเจา้ หน้าท่ีเพือ่ ทราบหรือสั่งการ - ถา้ หวั หน้าหน่วยงานของรฐั ส่ังใหร้ ับไว้ ให้ทาใบรับรองผลการปฏิบตั งิ านได้ 24
- หากกรรมการตรวจการรับพัสดุบางคนไม่ยอมรับงานให้ทาความเห็นแย้งไว้ แล้วเสนอหัวหน้า หนว่ ยงานของรฐั เพื่อสัง่ การ การบรหิ ารพสั ดุ การบรหิ ารพัสดุประกอบได้ การเก็บและการบนั ทกึ การจาหนา่ ยพสั ดุ การเบิกจา่ ย การบารงุ รกั ษา การ ตรวจสอบ และการยมื การลงโทษให้เปน็ ผ้ทู ิ้งงาน หา้ มหนว่ ยงานของรัฐก่อนติ สิ ัมพันธ์กบั ผู้ทิ้งงานทถี่ ูกระบุชอ่ื ไว้ในบญั ชีรายช่ือผู้ทิ้งงาน และได้แจง้ เวียน ช่อื แล้ว เวน้ แตจ่ ะไดม้ กี ารเพิกถอนการเป็นผู้ท้ิงงาน กรณีปรากฏว่า ผยู้ น่ื ขอ้ เสนอหรือคู่สญั ญาของหน่วยงาน ของรฐั กระทาการอนั มีลักษณะเปน็ การทิ้งงาน ตามความในมาตรา 109 ใหห้ ัวหน้าหนว่ ยงานของรัฐพจิ ารณา ให้ผู้ยื่นข้อเสนอคู่สัญญาหรือผู้รับจ้างช่วงที่หน่วยงานของรัฐอนุญาตให้รับช่วงงานได้ หรือท่ีปรึกษาหรื อผู้ ให้บริการออกแบบหรือควบคุมงานเป็นผู้ท้ิงงานแล้วแต่กรณี พร้อมความเห็นของตนเสนอไปยังปลัด กระทรวงการคลงั เพ่อื พิจารณาสงั่ ให้เปน็ ผู้ทง้ิ งานโดยเรว็ แนวทางปฏิบั ติ ตา มก ฎกร ะทร ว งกา ห นด พัส ดุแ ละ วิธีกา รจั ดซื้ อจั ดจ้า งพั ส ดุท่ีรัฐ ต้อ งก ารส่ ง เสริม ห รื อ สนับสนุน(ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2563 หนังสือคณะกรรมการวินิจฉัยการจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุ ภาครัฐ ด่วนที่สุด ที่ 0405.2/ว 78 เป็นแนวปฏิบัติที่ออกเพ่ิมเติมพัสดุท่ีรัฐต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุน (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2563 1. สง่ เสรมิ การจดั ซอ้ื จดั จา้ งกับผู้ประกอบวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) 2. ส่งเสริมการจดั ซอื้ จดั จา้ งพสั ดทุ ีผ่ ลติ ภายในประเทศเจตนารมณข์ องการออกกฎกระทรวงกาหนดพัสดุ และวธิ ีการจัดซือ้ จดั จ้างพัสดทุ ีร่ ัฐตอ้ งการสง่ เสริมหรือสนบั สนุน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2563 25
วันที่ 28 เมษายน 2565 เวลา 13.00-16.00 น. หวั ขอ้ การบรรยาย: เทคนิคการส่อื สารและการนาเสนออย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ วทิ ยากร: : ผศ.ดร.พรทิพย์ พมิ พ์สรุ โสภณ สรปุ เนอื้ หา /ประเด็นการอบรม องค์ประกอบของการสอ่ื สารที่มีประสิทธภิ าพ องค์ประกอบของการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพประกอบด้วย การส่ือสารทางกาย (55 เปอร์เซ็นต์) ภาษาและนา้ เสียง (38 เปอรเ์ ซ็นต์) และเนือ้ หาสาระท่ีต้องการท่ีจะส่ือสาร (7 เปอรเ์ ซน็ ต์) ความหมายและความสาคัญของการสื่อสาร การสอ่ื สารเพื่อให้เกิดความเขา้ ใจ สรา้ งทัศนะคตใิ ห้เปน็ ไปในทางเดียวกัน เพ่ือให้เกิด Teamwork เกดิ ความไว้วางใจซึ่งกันและกัน และการส่ือสารท่ีดีควรจะเป็นแบบสองทาง สื่อสารที่ตัวและหัวใจ (Active Listening) และใช้ศลิ ปะการเลือกใชค้ า ใช้คาพดู เชงิ บวกในการสือ่ สาร การสอ่ื สาร “การส่ือสาร Communication” เป็นกระบวนการท่ีความคดิ หรือข่าวสารถูกส่งจากแหลง่ สารไปยงั ผูร้ บั สารโดยมีเจตนาทีจ่ ะเปลยี่ นพฤติกรรมบางประการของผูร้ ับสาร ผู้นาพลงั การสื่อสาร ผูน้ าพลงั การส่ือสารประกอบด้วย ผู้ส่ง ขอ้ ความ ผ้รู บั และข้อมูลสะทอ้ นกลบั ดงั ภาพ การสือ่ สาร การส่ือสารข่าวสารประกอบดว้ ย ผูส้ ง่ ผู้รับ ขา่ วสาร สื่อกลางและโปรโตคอล ดงั ภาพ 26
วตั ถุประสงค์ของการสอื่ สาร 1. เพอ่ื ใหข้ ่าวสารและความรู้ (Inform) 2. เพื่อชักจูงใจ (Persuade) 3. เพอ่ื ความบันเทิง (Entertain) ลักษณะบคุ ลกิ ภาพ Extrovert มีแนวโน้มท่ีจะสัมพันธ์และเก่ียวข้องกับสิ่งแวดล้อม สนใจที่จะสังสรรค์สมาคม ชอบทา กิจกรรม ชอบอยกู่ บั คนอน่ื และสนใจทุกอย่างท่ีพบเหน็ Introvert เปน็ คนท่ีเงียบขรึม สมถะ ไมช่ อบสงุ สงิ กับคนอนื่ ชอบคดิ อะไรลกึ ซึง้ และเปน็ คนคดิ ก่อนทา Ambivert คนที่มีลักษณะอยู่ตรงกลางระหว่าง Introvert และ Extrovert รวมกันภายในคนเดียว ขน้ึ อยู่กับสถานการณ์ และสงิ่ แวดล้อม อาจชอบอยเู่ งียบ ๆ คนเดียวเพ่ือใชค้ วามคดิ ใช้สมองไดอ้ ย่างเต็มท่ีแต่ ในบางสถานการณ์ เชน่ การเรียนในห้องเรียนคุณกลับชอบทีจ่ ะยกมือตอบคาถาม ค่อยแนะนาอธิบายเพ่ือนท่ี ยงั ไมเ่ ข้าใจ เป็นเพราะคณุ กาลังอยใู่ นสถานการณ์ และสภาพแวดลอ้ มทีส่ บายใจ การนาเสนออย่างมีประสทิ ธิภาพ 1 หัวข้อการนาเสนอ 2. กล่าวความเป็นมา 3. เนื้อหาที่จะนาเสนอ(Outline) 4. นาเสนอข้อมูล 5. ลาดับเหตุ/กาหนดการณ์ 6. ยกตวั อย่างประกอบ 7. สรา้ งความเข้าใจแบบงา่ ย ๆ 8. ใช้โสตทศั นปู กรณ์ประกอบ 9. สรุปสาระสาคัญ การวางโครงเร่ือง / Content กลุ่มผู้ฟังเป็นใคร/ผู้ฟังสนใจในเรื่องอะไร/ผู้ฟังต้องการอะไร/ผู้ฟังรู้ข้อมูลอะไรอยู่แล้ว และต้องการรู้ อะไรเพมิ่ เตมิ /ผฟู้ งั คาดหวังอะไรจากผ้นู าเสนอ/ผู้ฟงั จะได้รับประโยชน์อะไรจากการนาเสนอ/บทสรุป 27
หลกั 4S ในการสอื่ สาร 1. Self-Practice 2. Specific Goal 3. Strategic Practice 4. Seek Feedback เอาใหอ้ ยู่หมดั ใน 30วินาทีแรก (Ways to start presentation) - เปดิ หวั ดว้ ยคาคม Quotes - เปิดด้วยคาถาม Questions ให้คนฟังมสี ่วนรว่ ม / คดิ ตาม - เปิดหัวด้วยการเลา่ เร่ือง Story - เปดิ หวั ใช้ประสบการณเ์ ปดิ หวั Experience - เปิดหัวดว้ ยการใชส้ ถิติ Statistic เทคนคิ การนาเสนองานวชิ าการกบั Content ที่ดึงดูด เทคนิค หรอื Technique เช่น 3 เทคนิคการป้องกันแสงสีฟา้ จากคอมพวิ เตอร์อย่างง่าย - เคล็ดลับ Secret เช่น เคล็ดลับการปกป้องดวงตาคูส่ วยจากแสงสีฟ้าหรือกลยุทธ์การกาจดั แสงสีฟ้า รอบตัวเรา เป็นตน้ - ใช้เร่อื งของการเปรยี บเทยี บ Comparison เช่น เทรนยุคปัจจบุ ัน ไอโฟน VS แอนดรอยอะไรดีกว่ากัน ในการต้ังหวั ข้อท่ีนา่ ดึงดูดแก่การอา่ น แตเ่ นือ้ หาขา้ งในควรจะวางตัวแบบเป็นกลางถ้ามีการเอนเอียงอาจจะมี กระแสลบมาได้ เพราะฉะน้ันควรวางตัวเปน็ กลางดที ส่ี ุด - เร่ืองราวสร้างแรงบันดาลใจ Inspiration ความสาเร็จทีเ่ กดิ ข้นึ จริง การสะท้อนความจริง - สถิติ หรือ Statistic เช่น มากกว่า 89% ของคนในยุคปัจจุบันเลือกที่จะค้นหาข้อมูลผ่านจากส่ือ ออนไลน์มากกวา่ ออฟไลน์ - เทคนคิ K.I.S.S. (Keep It Silly Simple) หรือ “ทามนั ใหง้ า่ ยเขา้ ไว้” Make a good first impression 1. แต่งกายดี มีชัยไปกว่าครงึ่ 2. ยิม้ หวาน ๆ ช่วยสานสมั พันธ์ 3. กลา่ วคาทักทายด้วยความสดใส 4. การทกั ทายด้วยการไหว้ตามมารยาท 5. แสดงกริ ยิ าให้เหมาะสม 6. พดู จาฉะฉาน 7. ทัศนคตดิ ี ลยุ ได้ทกุ งาน 8. สบตากับผูฟ้ ัง 9. ใช้ภาษากาย คลายความกดดนั 28
วนั ที่ 29 เมษายน 2565 เวลา 09.00-16.00 น. หวั ข้อการบรรยาย: การแกไ้ ขปัญหาท่ีซบั ซอ้ นทางการบริหาร (PBL 1) วทิ ยากร: : อ.ภก.อวิรทุ ธ์ิ สิงห์กลุ และ ดร.นิรชั รา ลลิ ละหก์ ลุ ผบู้ ันทึก: นางมณฑา ถิระวฒุ ิ สรปุ เนอื้ หา /ประเด็นการอบรม คณะกรรมการกล่มุ 5 นางสาวนิตมิ า บรบิ าล ตาแหนง่ ประธานกล่มุ 5 นางจรยิ า เหลอ่ื มป๋ยุ ตาแหน่ง รองประธานกลมุ่ นางมารตี า้ เซะบงิ ตาแหน่ง เลขานุการ นางสาวสุวรรณดี ทรัพยเ์ จริญ ตาแหน่ง ผชู้ ่วยเลขานุการ นายดุริพธั แจง้ ใจ ตาแหน่ง กรรมการ นางมณฑา ถิระวุฒิ ตาแหนง่ กรรมการ นางสาววชิ ตุ า จลุ วรรณโณ ตาแหน่ง กรรมการ นายสทุ ธชิ ยั เพง็ คาศรี ตาแหน่ง กรรมการ นายอาหมัด เตะ ตาแหนง่ กรรมการ -แบ่งหน้าท่ีสมาชิกในกลุ่ม เลือกประธาน รองประธาน เลขานุการและ ผู้ชว่ ยเลขนุการ และหาขอ้ ตกลงรว่ มกันในกลมุ่ -สมาชิกกลุ่มแตล่ ะคนเลอื กปัญหาทางการบริหารของตนเอง และกาหนด ปัญหาให้ชัดเจน (Problem identification) นาเสนอปัญหาของตนให้ สมาชิกกลุ่มฟัง รวม 9 ประเดน็ -เ ลือก ปร ะเ ด็นปัญหา ภาพร วมของก ลุ่มแ ล ะส รุป ปร ะเ ด็น ส ถ านก า ร ณ์ ปญั หา ดังนี้ ทา่ นได้รับการแตง่ ตั้งให้มาดารงตาแหนง่ ผู้อานวยการ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพแห่งหนงึ่ ในจังหวดั ยะลา มีบุคลากรในพ้นื ท่ี และนับถอื ศาสนาอิสลาม 3 คน ที่เหลืออกี 3 คน เพ่งิ บรรจุใหมแ่ ละมาจาก ต่างพื้นท่ีแทนคนเดิมทย่ี า้ ยไปที่อ่นื ท่านและบุคลากรตา่ งพ้นื ที่ ยังไม่ เข้าใจบรบิ ททางสังคมวฒั นธรรมและภาษา ประชากรในพนื้ ที่รับผิดชอบ ของ รพ.สต.แหง่ น้ี มีจานวน 10,000 คน ซง่ึ เปน็ ภาระงานทีค่ ่อนขา้ งหนกั มาก และในชว่ งการระบาดของเช้ือ COVID-19 นี้ สาธารณสขุ อาเภอและ 29
นายแพทย์สาธารณสุขจังหวดั มอบให้ รพ.สต.แหง่ นขี้ ยายงานบริการ นอกเวลาโดยใหม้ ีบุคลากรปฏบิ ัติงานวนั ละ 2 คน จนถงึ เวลา 2 ทุม่ เพอื่ ให้บริการฉดี วัคซนี เชงิ รุกท่ยี งั ไมค่ รอบคลมุ ประกอบกับคนในชมุ ชนไม่ ยอมรบั วคั ซนี ปอ้ งกนั เช้อื COVID-19 บุคลากรเดมิ ไม่ต้องการอยู่เวรโดย ให้เหตุผลทางครอบครวั และอายุมากแล้ว บุคลากรใหมย่ นิ ดีอยู่เวรแต่ ต้องจัดที่พักใหเ้ พราะการเดินทางกลับชว่ งกลางคืนเส่ียงต่ออนั ตรายจาก สถานการณ์ความรนุ แรงในพื้นท่ี นอกจากงานในเวลาปกติและงานทีต่ ้องขยายนอกเวลาราชการ แล้ว รพ.สต.แหง่ นยี้ ังมีภารกจิ เพิ่มเตมิ คือการต้อนรับผู้บริหารที่มานิเทศ ติดตามงานในจังหวัด ก็จะต้องแวะที่ รพ.สต.ของท่านท่ีตงั้ อยหู่ น้าดา่ น เสมอและเป็นมานาน ส่วนบุคลากรใหมไ่ ม่คอ่ ยให้ความรว่ มมือเพราะเห็น ว่าน่ไี มใ่ ช่หน้าที่ ท่านมีแนวทางบริหารจัดการปญั หาเหลา่ นีอ้ ย่างไร -วิเคราะห์สังค์เคราะห์องค์ความรู้ผ่านกระบวนการ Problem-based learning: PBL เรม่ิ ตน้ จากการวเิ คราะห์ปัญหา ตง้ั สมมตฐิ าน แนวทางการ บริหารจัดการ และทบทวนองค์ความรู้ 30
Search
Read the Text Version
- 1 - 30
Pages: