คู่มือการจัดทาแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยภายในสานักงาน ของสถานท่ีราชการ
สารบญั หนา้ 1. กระบวนงานจัดทาแผนปอ้ งกนั และระงบั อคั คภี ยั 1 1.1 การแต่งตั้งคณะทางานจัดทาแผนป้องกนั และระงบั อคั คีภยั 2 1.2 การจดั ทา (ร่าง) แผนป้องกันและระงบั อคั คีภัย 2 1.3 การพิจารณา ร่าง) แผนป้องกนั และระงบั อคั คีภัย 4 1.4 การอนมุ ตั ิแผนป้องผกนั และระงบั อัคคีภยั 4 1.5 การแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ และการปรับปรุง/แก้ไข/พฒั นาแผนป้องกนั และระงับ 5 อัคคีภัย 2. เค้าโครงแผนปอ้ งกนั และระงับอคั คีภัย 6 2.1 ความสาคญั ของปัญหา 8 2.2 วตั ถปุ ระสงค์ของแผน 8 2.3 ขอบเขตของแผน 9 2.4 ข้อมูลของหนว่ ยงาน 9 2.5 การปฏิบตั ิก่อนเกิดอคั คีภยั 10 10 การตรวจตราความปลอดภยั เกี่ยวกับอัคคีภัย 11 การรณรงค์ เผยแพร่ และเสริมสร้างความรู้ 11 การฝึกเพื่อทดสอบแผน 11 การเตรียมพร้อมสาหรับการอพยพหนไี ฟ
สารบัญ (ต่อ) หนา้ 2.6 การปฏิบัติระหว่างเกิดอัคคีภยั 12 การปฏิบตั ิระหว่างเกิดอคั คีภัยในเวลาราชการ 12 - การแจ้งเหตเุ พลิงไหม้ 12 - การดบั เพลิง 13 - การอพยพหนไี ฟ 13 15 การปฏิบัติระหว่างเกิดอคั คีภัยนอกเวลาราชการ 15 การปฏิบตั ิกรณีเพลิงไหม้ขั้นรุนแรง 2.7 การปฏิบัติหลังเกิดอคั คีภยั 19 2.8 ภาคผนวก ภาคผนวก ก บญั ชีหน่วยงานติดต่อกรณีเกิดอคั คีภัย 20 ภาคผนวก ข แบบตรวจตราความปลอดภยั 20 ภาคผนวก ค แผนอพยพหนไี ฟของหน่วยงาน 21 ภาคผนวก ง บัญชรี ายช่อื เจ้าหน้าที่ 23 26
กระบวนงานจัดทาแผนปอ้ งกันและระงับอคั คภี ัย ปัจจุบันมีการนาเทคโนโลยี เคร่ืองมือ เคร่ืองจักร อุปกรณ์ สารเคมี และวัตถุอันตรายมาใช้ใน กระบวนการผลิต การก่อสร้าง และการบริการ แต่ยังขาดการพัฒนาความรู้ความเข้าใจควบคู่กันไป ทาให้ ส่งผลกระทบต่อผู้ใช้งานในด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ก่อให้เกิด อันตรายจนได้รับบาดเจ็บ พิการ ทุพพลภาพ และเสียชีวิต ซึ่งการป้องกันและระงับอัคคีภัยที่มีมาตรฐาน เป็นมาตรการสาคัญอย่างหนึง่ ทีท่ าให้ผปู้ ฏิบัติงานได้รับความปลอดภัยในการทางาน กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในฐานะหน่วยงานกลางของรัฐในการดาเนินการเกี่ยวกับการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ของประเทศได้เลง็ เหน็ ความสาคัญของการดาเนินงานเพื่อป้องกันและระงับ อัคคีภัยภายในสานักงานฯ เน่ืองจากในสถานที่ปฏิบัติงานโดยเฉพาะหน่วยงานราชการมีปัจจัยเสี่ยง ที่อาจทาให้เกิดอัคคีภัยได้ง่ายหลายปัจจัย เช่น มีการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้า เคร่ืองคอมพิวเตอร์ เคร่ืองถ่ายเอกสาร มีการเก็บเอกสารของทางราชการ เป็นต้น ประกอบกับพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ.2554 มาตรา 3 จึงกาหนดให้ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น และกิจการอื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวงจัดให้มีมาตรฐานในการบริหารและการ จัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานในหน่วยงานของตนไม่ต่ากว่า มาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน โดยการดาเนินงานเกี่ยวกับ การป้องกันและระงับอัคคีภัยกาหนดให้เป็นไปตามกฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดาเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับการป้องกัน และระงับอัคคีภัย พ.ศ.2555 ข้อ 4 ในสถานประกอบกิจการที่มีลูกจ้างต้ังแต่สิบคนขึ้นไป ให้นายจ้าง จัดให้มีระบบป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานประกอบกิจการ เช่น จัดให้มีแผนป้องกันและระงับอัคคีภัย ประกอบด้วยการตรวจตรา การอบรม การรณรงค์ป้องกันอัคคีภัย การดับเพลิง การอพยพหนีไฟ และ การบรรเทาทกุ ข์ ฯลฯ นอกจากนี้ กระทรวงมหาดไทยได้มีข้อส่ังการเกี่ยวกับการเพิ่มความระมัดระวังในการป้องกัน และระงบั อคั คีภยั ในสถานที่ราชการ เม่ือคราวประชุมหารือข้อราชการสาคัญ เม่ือวันที่ 22 มีนาคม 2560 ณ ห้องประชุม 1 อาคารศาลาว่าการกระทรวงมหาดไทย ซึ่งมีปลัดกระทรวงมหาดไทย เป็นประธาน และมีข้อสั่งการให้ทุกหน่วยงานเพิ่มความระมัดระวังในการป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานที่ราชการ และหมั่นตรวจตราระบบความปลอดภัยภายในอาคารอยู่เสมอ เพื่อมิให้เกิดอัคคีภัยในสถานที่ราชการ และสถานทีส่ าคญั อื่นๆ ในพืน้ ที่ จดั ทาและปรับปรุงแผนป้องกนั และระงบั อัคคีภัยในหนว่ ยงานให้เป็นปัจจุบัน โดยให้กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยสนับสนุนข้อมูลองค์ความรู้ในก ารจัดทาแผนแก่หน่วยงานต่างๆ ให้สอดคล้องตามบริบทของพื้นที่และสามารถนาไปใช้ในการปฏิบตั ิได้จรงิ อย่างเปน็ รปู ธรรม
การจัดทาแผนป้องกันและระงับอัคคีภัย มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหลายหน่วยงาน จึงจาเป็นต้องมี การบูรณาการความร่วมมือกับทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างการยอมรับ สร้างความรู้สึกของ ความเปน็ เจา้ ของ นาไปสู่การได้มาซึ่งแผนป้องกนั และระงบั อัคคีภัยที่เปน็ ไปได้ในทางปฏิบตั ิ ดังน้ี 1. กระบวนงานจดั ทาแผนปอ้ งกนั และระงับอคั คีภัย 1.1 แต่งตั้งคณะทางานจัดทาแผนป้องกันและระงับอัคคีภัย เพื่อให้เป็นเวทีในการ บรู ณาการความรว่ มมอื และสร้างการมีสว่ นร่วมของหนว่ ยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดทาแผนป้องกันและระงับ อคั คีภัย เชน่ - คณะทางานจัดทาแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยของศาลากลางจังหวัด ควรมอี งค์ประกอบ ดังนี้ ประธานคณะทางานฯ: ผู้ว่าราชการจังหวัด หรือรองผู้ว่าราชการจังหวัด คณะทางานฯ: ผแู้ ทนหน่วยงานทกุ หนว่ ยงานทีป่ ฏิบัติงานในอาคารศาลากลางจังหวัด หรือหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง เช่น ผู้เช่ียวชาญด้านการป้องกันและระงับอัคคีภัย มูลนิธิอาสาสมัครกู้ชีพกู้ภัย เป็นต้น คณะทางานและเลขานกุ ารฯ: หวั หนา้ สานักงานจงั หวดั หรือหัวหน้าสานักงานป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัยจงั หวัด หรอื หวั หนา้ หนว่ ยงานทีผ่ วู้ ่าราชการจังหวดั มอบหมาย ท้ังนี้ จงั หวัดสามารถพิจารณาแต่งต้ังผเู้ ข้าร่วมเป็นคณะทางานฯ ตามที่เหน็ ควร 1.2 การจดั ทา (รา่ ง) แผนป้องกนั และระงับอัคคีภัย คณะทางานฯ ร่วมกันจัดทา (ร่าง) แผนป้องกันและระงับอัคคีภัย โดยมีแนวทางในการ ดาเนนิ การดงั นี้ 1) วิเคราะห์ สังเคราะห์กฎหมาย ระเบียบ แผน และแนวปฏิบัติในการป้องกัน และระงับอัคคีภัยท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อกาหนดกรอบแนวทางและขอบเขตแผนป้องกันและระงับอัคคีภัย ภายในสานักงานฯ ที่สอดคล้องกับกฎหมาย ระเบียบ แผน และแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง เช่น พระราชบัญญัติ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ.2554 กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการ และ ดาเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับการป้องกัน และระงับอัคคีภัย พ.ศ.2555 พระราชบญั ญตั ิควบคมุ อาคาร พ.ศ.2522 และที่แก้ไขเพิ่มเติม เปน็ ต้น 2) ประเมินความเสีย่ งอนั ตรายจากอัคคีภยั การประเมินความเสี่ยงอันตรายจากอัคคีภัยให้ประยุกต์ใช้แนวคิดการประเมิน ความเสี่ยงจากสาธารณภัย (การลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย.กระทรวงมหาดไทย กรมป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย, ธันวาคม 2556) ซึ่งได้กล่าวว่า “ความเสี่ยงจากสาธารณภัย” หมายถึง “โอกาสที่จะ เกิดการสูญเสียจากสาธารณภัย ทั้งต่อชีวิต ร่างกาย ทรัพย์สิน ความเป็นอยู่ และภาคบริการต่างๆ ในชุมชน ใด ชุมชนหนึ่ง ณ ห้วงเวลาใดเวลาหนึ่งในอนาคต” สามารถแทนด้วยสมการแสดงความสัมพันธ์ของปัจจัย ที่เกี่ยวข้องกบั ความเสี่ยง ได้แก่ ภยั ความล่อแหลม ความเปราะบาง และศักยภาพ ดงั น้ี
ทีม่ า : ศูนย์เตรยี มความพร้อมป้องกนั ภัยพิบัติแห่งเอเชีย, 2553 (The Asian Disaster Preparedness Center :ADPC) ความเสีย่ งจากสาธารณภยั (DR) = ภัย (H) x ความลอ่ แหลม (E) x ความเปราะบาง (V) ศกั ยภาพ (C) ภัย (Hazard) คือ เหตุการณ์หรืออันตรายที่เกิดขึ้นจากธรรมชาติหรือจากการ กระทาของมนุษย์ที่อาจนามาซึ่งความสูญเสียต่อทรัพย์สิน ตลอดจนทาให้เกิดผลกระทบทางเศรษฐกิจ สงั คม และส่งิ แวดล้อม ความล่อแหลม (Exposure) คือ การที่สิ่งใดๆ ก็ตามมีสถานที่ตั้งอยู่ภายในอาณา บริเวณพื้นที่ที่อาจจะเกิดภัยและมีโอกาสได้รับความเสียหายจากภัยนั้นๆ ได้ เช่น ประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ เสีย่ งภัย ทรพั ย์สิน อาคารบ้านเรือน กิจการรา้ นค้า หรอื สภาพแวดล้อมตา่ งๆ ที่อยู่ในพืน้ ทีท่ ี่อาจจะเกิดภัย ความเปราะบาง (Vulnerability) คือ ปัจจัยหรือสภาวะใดๆ ที่ทาให้ชุมชนหรือ สังคมขาดความสามารถในการป้องกันตนเอง หรือไม่สามารถรับมือกับภัยอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้น หรือกระท่ังไม่สามารถรับมือกับภัยอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้น หรือแม้กระท่ังไม่สามารถฟื้นฟูชีวิต สังคม และสภาพแวดล้อมได้ อย่างรวดเร็วจากความเสียหายที่เกิดขึ้นได้ เช่น โครงสร้างอาคารไม่แข็งแรง ไม่มคี วามรใู้ นการรับมือกับภัย ความขัดแย้งในชุมชน ฯลฯ
ศักยภาพ (Capacity) คือ ความรู้ ทักษะ และทรัพยากรต่างๆ ที่มีอยู่ในชุมชน สังคม หรือหน่วยงานใดๆ ที่สามารถนามาใช้เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ เช่น ชุมชนมีความรู้ในการ ช่วยเหลือตนเองและสามารถรบั มอื กับภยั ต่างๆ ได้ ความพรอ้ มของอปุ กรณ์และเคร่อื งมอื ต่างๆ เปน็ ต้น การประเมินความสี่ยงอันตรายจากอัคคีภัยจึงเป็นกระบวนการที่ช่วย ประเมินระดับ ความเสี่ยงที่ชุมชนหรือสังคมมีต่ออัคคีภัย โดยมีการวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงในด้านที่เกี่ยวกับภัย ความล่อแหลม และความเปราะบางที่จะก่อให้เกิดอันตรายต่อมนุษย์ ทรัพย์สิน การบริการ การดารงชีพ สิ่งแวดล้อม และอื่นๆ 3) ประเมินศักยภาพของหน่วยงาน ในการประเมินศักยภาพของหน่วยงาน ให้จังหวัดทาการประเมินศักยภาพและขีดความสามารถของหน่วยงาน ในการจัดการอัคคีภัยที่เกิดขึ้น ใหย้ ุติโดยเรว็ ได้มากน้อยเพียงใด โดยหนว่ ยงานควรรวบรวมข้อมลู สาคัญ ดงั นี้ ข้อมูลบุคลากร เช่น รายชื่อบุคลากรทีป่ ฏิบตั ิงานประจาของแตล่ ะหน่วยงาน ฯลฯ ข้อมูลเคร่ืองมือ เคร่ืองใช้ วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในการป้องกันและระงับอัคคีภัย เช่น เคร่ืองดับเพลิงแบบเคลื่อนย้ายได้ รถน้าดับเพลิง อุปกรณ์ตรวจจับควัน (Smoke Detector) อุปกรณ์ แจ้งเตือนเพลิงไหม้ (Fire Alarm) อปุ กรณ์ปฐมพยาบาลเบือ้ งตน้ ฯลฯ ข้อมูลหน่วยงาน เชน่ แผนผังอาคาร สถานีดับเพลิงใกล้เคียง โรงพยาบาลใกล้เคียง สถานีตารวจใกล้เคียง อ่างเก็บน้า/แหล่งน้าสาหรับดับเพลิง มูลนิธิ/องค์กรสาธารณกุศลใกล้เคียง พร้อมสถานที่ตดิ ต่อและเบอร์โทรศพั ท์ติดตอ่ กรณีเกิดอคั คีภัย ฯลฯ 4) นาข้อมูลท่ีได้จากการวิเคราะห์ สังเคราะห์ การประเมินความเสี่ยง และ การประเมินศักยภาพของหน่วยงาน มาเป็นพื้นฐานในการจัดทา (ร่าง) แผนป้องกันและระงับอัคคีภัย โดยยึดหลกั การสาคญั คือ การมสี ่วนรว่ มของทกุ ส่วน/ฝา่ ยที่เกีย่ วข้องและสามารถนาไปปฏิบตั ิได้จริง 1.3 การพิจารณา (รา่ ง) แผนปอ้ งกนั และระงบั อัคคีภยั ใ ห้ จั ง ห วั ด ป ร ะ ชุ ม จั ด ป ร ะ ชุ ม ค ณ ะ ท า ง า น จั ด ท า แ ผ น ป้ อ ง กั น แ ล ะ ร ะ งั บ อั ค คี ภั ย เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ (ร่าง) แผนป้องกันและระงับอัคคีภัย ก่อนนาเสนอผู้ว่าราชการจังหวัด อนมุ ัตใิ ช้แผนต่อไป 1.4 การอนุมตั ิแผนป้องกนั และระงับอคั คีภัย : ใหจ้ งั หวดั นา (ร่าง) แผนป้องกันและระงบั อคั คีภัยที่คณะทางานฯ ได้ให้ความเห็นชอบแล้ว เสนอผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้ลงนามอนุมัติเพื่อให้หน่วยงานใช้เป็นแผนหลักในการเตรียมพร้อมรองรับ เหตุการณ์เม่ือเกิดอัคคีภัยและเป็นแนวทางในการเตรียมความพร้อมเพื่อป้องกันและลดความเสี่ยงต่อ อัคคีภัยทีอ่ าจเกิดขึ้น
1.5 การแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ และการปรับปรุง/แก้ไข/พัฒนาแผนป้องกันและ ระงบั อัคคีภัย 1) สร้างการรับรู้เกี่ยวกับแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยให้แก่บุคลากรของหน่วยงาน ผ่านกลไกต่างๆ เช่น การประชุมประจาเดือน การจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM) ของ หนว่ ยงาน เปน็ ต้น 2) จัดตั้งกลไกในการติดตามผลการดาเนินงานของหน่วยงานที่รับมอบหมายภารกิจ ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาอัคคีภัยตามแผนป้องกันและระงับอัคคีภัย เช่น การแต่งตั้งคณะทางาน ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานตามแผนป้องกันและระงบั อคั คีภยั เป็นตน้ 3) จังหวัดควรกาหนดให้มกี ารฝึกเพื่อทดสอบแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยที่จัดทาขึ้น ว่าสามารถนาไปใช้ปฏิบัติได้จริงมากน้อยเพียงใด พบปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติตามแผนหรือไม่ เพื่อนามาเป็นข้อมูลในการปรับ/แก้ไข/พัฒนาแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยให้สามารถนาไปใช้ได้จริงและ มีประสิทธิภาพมากยิง่ ข้ึน 4) กาหนดแนวทางปฏิบัติในการปรับปรุง/ทบทวนแผน เช่น ในกรณีที่ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ อัคคีภัยหรือมาตรการ/แนวทางปฏิบัติการป้องกันและระงับอัคคีภัยที่ได้กาหนดไว้ในแผนนี้เปลี่ยนแปลงไป ให้จังหวดั ร่วมกนั ปรบั ปรุงหรอื ทบทวนแผนให้เปน็ ปจั จุบนั โดยเร็ว
เค้าโครงแผนป้องกันและระงับอัคคีภัย กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดาเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัย พ.ศ.2555 กาหนดให้นายจ้าง จัดให้มีระบบป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานประกอบกิจการ เช่น จัดให้มีแผนป้องกันและระงับอัคคีภัย ประกอบด้วยการตรวจตรา การอบรม การรณรงค์ป้องกันอัคคีภัย การดับเพลิง การอพยพหนีไฟ และ การบรรเทาทุกข์ ฯลฯ ประกอบกับมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันที่ 7 พฤศจิกายน 2543 กาหนดให้ ส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ และรัฐวิสาหกิจทุกแห่งถือปฏิบัติตามมาตรการและแนวทางในการป้องกัน การเกิดอัคคีภัยในสถานที่ราชการ หน่วยงานของรัฐ และรัฐวิสาหกิจ โดยการจัดทาแผนหรือมาตรการ ป้องกันและระงับอัคคีภัย อุบัติภัยขึ้นภายในหน่วยงาน จัดให้มีการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ตามหลักสูตร การดบั เพลิงเบื้องต้น และให้มกี ารฝึกซ้อมแผนให้เปน็ ไปตามแผนของแต่ละหนว่ ยงานที่จัดทาข้ึน กระทรวงมหาดไทยได้มอบหมายให้กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยสนับสนุนข้อมูลองค์ความรู้ ในการจดั ทาแผนป้องกนั และระงับอคั คีภัยแก่หนว่ ยงานต่างๆ ให้สอดคล้องตามบริบทของพื้นที่และสามารถ นาไปใช้ในการปฏิบัติได้จริงอย่างเป็นรูปธรรม กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจึงจัดทาเค้าโครง แผนป้องกนั และระงับอคั คีภัยขึ้น เพื่อให้จังหวดั ใช้เป็นแนวทางในการจัดทาแผนป้องกันและระงับอัคคีภัย รองรับเหตุการณ์อัคคีภัยที่อาจจะเกิดขึ้นซึ่งมีรายละเอียดประกอบด้วย 8 หัวข้อ ทั้งนี้ ขอให้จังหวัด พิจารณาปรบั ใช้ให้สอดคลอ้ งเหมาะสมกบั สภาพพ้นื ท่ี
แผนภาพแสดง : เคา้ โครงแผนป้องกนั และระงับอคั คภี ัย (1) ปก 5. การปฏิบตั ิกอ่ น 6. การปฏิบัติ 7. การปฏิบตั ิหลงั (2) คานา (3) สารบญั เกิดอคั คีภัย ระหวา่ งเกิด เกิดอคั คีภยั 1. ความสาคญั การตรวจตรา อัคคีภยั ของปญั หา ความปลอดภยั การปฏิบัติ 8. ภาคผนวก 2. วัตถปุ ระสงค์ การรณรงค์ ระหว่างเกิดอัคคีภัย ภาคผนวก ก ของแผน เผยแพร่ และ ในเวลาราชการ บญั ชรี ายชื่อ 3. ขอบเขต เสริมสรา้ งความรู้ การปฏิบตั ิ หน่วยงานติดต่อ ของแผน เกีย่ วกบั การปอ้ งกนั ระหว่างเกิดอัคคีภัย กรณีเกดิ อคั คีภัย 4. ข้อมูลของ และระงับอัคคีภยั นอกเวลาราชการ ภาคผนวก ข หน่วยงาน การฝึกเพ่อื แบบตรวจตรา ทดสอบแผน ความปลอดภัย การเตรยี มพร้อม ภาคผนวก ค สาหรับการอพยพ แผนอพยพหนีไฟ หนีไฟ ของหน่วยงาน ภาคผนวก ง บัญชรี ายชื่อ เจา้ หน้าที่ โดยมีรายละเอียดเค้าโครงแผนป้องกนั และระงบั อคั คีภัยในแตล่ ะหวั ข้อดังน้ี
1. ความสาคญั ของปญั หา อคั คีภยั * ให้อธิบายถึงความสาคัญของปัญหาอัคคีภัยท่ีอาจเกิดขึ้นในบริเวณสานักงาน /เหตุผล ที่จังหวัดต้องจัดทาแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยขึ้น โดย ควรอ้างอิงกฎหมาย/ระเบียบ/ มติคณะรัฐมนตรีทเ่ี กีย่ วข้อง เช่น - พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 พระราชบัญญัติความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ.2554 - กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดาเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทางานเกีย่ วกับการป้องกนั และระงบั อคั คีภัย พ.ศ.2555 - มติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันที่ 7 พฤศจิกายน 2543 เร่ือง มาตรการและแนวทางในการ ป้องกนั การเกิดอคั คีภยั ในสถานที่ราชการ หนว่ ยงานของรัฐ และรฐั วิสาหกิจ - ข้อส่ังการของกระทรวงมหาดไทยเกี่ยวกับการเพิ่มความระมัดระวังในการป้องกัน และระงบั อคั คีภัยในสถานทีร่ าชการ ฯลฯ 2. วตั ถปุ ระสงค์ของแผน * ให้ระบุผลลัพธ์สุดท้ายท่ีแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยต้องการจะบรรลุให้ชัดเจน และควรกาหนดวตั ถุประสงค์ที่สามารถวัดผลไดอ้ ยา่ งเป็นรูปธรรม เช่น - เพื่อกาหนดมาตรการในการป้องกันการเกิดอัคคีภัยและลดความเสี่ยงต่อการเกิดอัคคีภัย ในบริเวณศาลากลางจงั หวัด - เพื่อกาหนดบทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่หน่วยงานต่างๆ ในการปฏิบัติการป้องกันและระงับ อคั คีภัยให้ชัดเจนและเปน็ ระบบ - เพื่อให้การประสานงานระหว่างหน่วยงานต่างๆ ที่ปฏิบัติงานในศาลากลางจังหวัดในการ ปฏิบัติตามแผนป้องกันและระงับอคั คีภัยเป็นไปอย่างมปี ระสิทธิภาพและเป็นระบบ - เพื่อสร้างความตระหนักแก่เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในอาคารศาลากลางจังหวัดถึงอันตราย ของอคั คีภยั และสามารถปฏิบตั ิตนได้อย่างถกู ต้องปลอดภยั เมื่อเกิดอัคคีภยั ฯลฯ
3. ขอบเขตของแผน * ใหร้ ะบุขอบเขตการใชแ้ ผนป้องกนั และระงบั อคั คีภยั ใหช้ ัดเจน เช่น แผนป้องกันและระงับอัคคีภัยภายในสานักงานของศาลากลางจังหวัดฉบับนี้ใช้ในการป้องกัน และระงับอัคคีภัยที่อาจจะเกิดขึ้นในบริเวณศาลากลางจังหวัด ท้ังในเวลาราชการและนอกเวลาราชการ ซึ่งหากอัคคีภัยที่เกิดขึ้นมีความรุนแรงจนเกินขีดความสามารถในการควบคุมให้การปฏิบัติเป็นไปตาม อานาจหน้าทีต่ ามกฎหมายของหนว่ ยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ฯลฯ 4. ข้อมลู ของหน่วยงาน 4.1 ข้อมูลทว่ั ไปเกี่ยวกับหนว่ ยงาน * ให้ระบขุ อ้ มลู ทว่ั ไปของหนว่ ยงาน เชน่ - ที่ต้ังของหน่วยงาน (ควรมีแผนที่/แผนผังของอาคารที่แสดงจุดเสี่ยงต่อการเกิด อคั คีภยั ระบบไฟฟ้า ระบบประปา ตาแหน่งการตดิ ต้ังอปุ กรณ์ดับเพลิง ฯลฯ ) - ปัจจัยเสี่ยงที่อาจก่อให้เกิดอัคคีภัย (เช่น การใช้สถานที่จัดเก็บเอกสารต่างๆ การใชอ้ ุปกรณ์ไฟฟ้า ลกั ษณะของอาคาร ความพรอ้ มของอุปกรณ์ป้องกันและระงับอัคคีภัย การใช้สารเคมี ทีอ่ าจเปน็ เช้อื เพลิง ฯลฯ ) 4.2 ขอ้ มลู บุคลากร * ให้ระบุข้อมูลบุคลากรของแต่ละหน่วยงาน เช่น จานวนคน จาแนกเพศชาย-หญิง จานวนผทู้ ี่ตอ้ งการความช่วยเหลือเปน็ กรณีพิเศษ (กลุ่มเปราะบาง : ผพู้ ิการ เดก็ สตร)ี ฯลฯ เชน่ ที่ หนว่ ยงาน จานวน ขอ้ มูลบคุ ลากร (คน) ชาย หญิง ผู้ท่ตี อ้ งการความ 1 สานกั งานจังหวดั 2 สานกั งานพฒั นาชุมชนจงั หวดั ช่วยเหลือพิเศษ 3 สานกั งานแรงงานจังหวดั ฯลฯ
4.3 ขอ้ มลู เครื่องมือ เครื่องจักร วัสดุอุปกรณ์เกี่ยวกบั การป้องกันและระงับอัคคภี ัย * ให้ระบุข้อมูลจานวน/ สภาพการใช้งานของเคร่ืองมือ เคร่ืองจักร วัสดุอุปกรณ์ เกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัยของหน่วยงาน เช่น เคร่ืองดับเพลิงแบบเคลื่อนย้ายได้ รถน้าดับเพลิง อุปกรณ์ตรวจจับควัน (Smoke Detector) อุปกรณ์แจ้งเตือนเพลิงไหม้ (Fire Alarm) อุปกรณ์ ปฐมพยาบาลเบอื้ งตน้ เป็นต้น ฯลฯ 5. การปฏิบัติกอ่ นเกิดอัคคีภยั เป็นการดาเนินมาตรการ/กิจกรรมต่างๆ เพื่อป้องกันและเตรียมพร้อมเผชิญเหตุการณ์อัคคีภัย ไว้ล่วงหน้า ซึ่งจะเป็นการลดความรุนแรงและลดความสูญเสียที่อาจจะเกิดขึ้นให้มีน้อยที่สุด โดยมี มาตรการ/กิจกรรมที่ดาเนินการ เชน่ 5.1 การตรวจตราความปลอดภัยเกี่ยวกับอคั คีภยั * ให้มอบหมายหน่วยงานรับผิดชอบในการตรวจตราความปลอดภัยเกี่ยวกับ อัคคีภัยของจงั หวัด พร้อมทง้ั ให้กาหนดแนวทางการตรวจตราความปลอดภัยตา่ งๆ เช่น ให้...(ระบุหน่วยงานรับผิดชอบ)...เป็นหน่วยรับผิดชอบในการตรวจตราความปลอดภัย เกี่ยวกับอัคคีภัยของจังหวัด เช่น ปลั๊กไฟฟ้า เคร่ืองดับเพลิงแบบเคลื่อนย้ายได้ อุปกรณ์ตรวจจับควัน (Smoke Detector) อปุ กรณ์แจ้งเตือนเพลิงไหม้ (Fire Alarm) ฯลฯ โดยดาเนินการ ดังน้ี - ให้ทุกหน่วยงานมอบหมายเจ้าหน้าที่รับผิดชอบการตรวจตราความปลอดภัย เกีย่ วกับอัคคีภยั ให้ชัดเจน โดยใหร้ ะบุชือ่ – นามสกุล ตาแหนง่ และเบอร์โทรศัพท์ติดตอ่ - จัดทาแบบฟอร์มการตรวจตราความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัย (ตัวอย่างแบบตรวจตรา ความปลอดภัยเกี่ยวกับอคั คีภยั ตามภาคผนวก ข) - สารวจตรวจตราความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัยในบริเวณสานักงาน ว่าพร้อมใช้งาน หรอื ไม่ - จัดทารายงานผลการตรวจตราความปลอดภัยให้ผู้บังคับบัญชาทราบ ทั้งนี้ หากพบ ข้อบกพร่อง/ใช้งานไม่ได้ใหเ้ สนอผบู้ ังคับบัญชา เพื่อสง่ั การให้ปรับปรงุ แก้ไขโดยด่วน ฯลฯ
5.2 การรณรงค์ เผยแพร่ และเสริมสรา้ งความร้เู กี่ยวกับการปอ้ งกนั และระงับอคั คีภัย * ให้มอบหมายหน่วยงานรับผิดชอบการรณรงค์ เผยแพร่ และเสริมสร้างความรู้ เกี่ยวกบั การปอ้ งกนั และระงับอัคคีภยั ใหแ้ กเ่ จ้าหน้าท่ีของจังหวัด เพื่อให้เจ้าหน้าท่ีทุกคนมีจิตสานึก ในการรว่ มกันปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาอคั คีภยั อยา่ งจรงิ จงั เช่น ให้...(ระบุหน่วยงานรับผิดชอบ)...จัดกิจกรรม/โครงการในการรณรงค์ เผยแพร่ และ เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัยแก่เจ้าหน้าที่ของจังหวัด เช่น วิธีการแจ้งเหตุ เพลิงไหม้ การใช้อุปกรณ์ดับเพลิงเบื้องต้น การอพยพหนีไฟ การปฏิบัติตนให้ปลอดภัยเม่ือต้องเผชิญ เหตุเพลิงไหม้ ฯลฯ 5.3 การฝึกเพื่อทดสอบแผนป้องกันและระงบั อัคคภี ัย * ให้มอบหมายหน่วยงานรับผิดชอบการฝึกเพื่อทดสอบแผนป้องกันและระงับ อัคคีภัย พร้อมทั้งประเมินผลการฝึกเพื่อทดสอบแผนดังกล่าว เพื่อนาข้อมูลมาประกอบในการ ปรับปรงุ ทบทวน และแกไ้ ขแผนป้องกนั และระงับอคั คีภัยใหม้ ีประสิทธภาพมากยิง่ ขึ้น เชน่ ให้...(ระบุหน่วยงานรับผิดชอบ)...เป็นหน่วยรับผิดชอบการฝึกเพื่อทดสอบแผนป้องกัน และระงับอัคคีภัย พร้อมท้ัง ประเมินผลการฝึกเพื่อทดสอบแผนดังกล่าวและประมวลข้อมูลมาประกอบ ในการปรับปรุง ทบทวน และแก้ไขแผนป้องกันและระงับอัคคีภัย โดยทาการฝึกทดสอบแผนอย่างน้อย ปีละ 1 คร้ัง หรอื เป็นประจาทกุ เดือน ฯลฯ 5.4 การเตรยี มพรอ้ มสาหรับการอพยพหนีไฟ * ใหก้ าหนดแนวทางปฏิบัติเพื่อเตรียมความพร้อมไว้ก่อนล่วงหน้า หากมีการอพยพ หนีไฟ โดยให้ดาเนินการเกี่ยวกับการจัดทาแผนอพยพหนีไฟ การจัดทาบัญชีรายชื่อเจ้าหน้าท่ี ทป่ี ฏิบัติงาน การจัดทาบัญชีเอกสารและทรัพย์สินทางราชการสาคัญท่ีต้องขนย้าย การมอบหมาย เจ้าหนา้ ทร่ี ับผิดชอบในการขนย้ายทรัพยส์ ินทางราชการ เชน่ ให้...(ระบหุ นว่ ยงานรับผดิ ชอบ)...ดาเนนิ การเพื่อเตรียมพร้อมสาหรบั การอพยพหนไี ฟ ดังน้ี 1. จัดทาแผนการอพยพหนีไฟของแต่ละหน่วยงาน โดยให้กาหนดผู้นาการอพยพ ผู้ตรวจสอบยอดผู้อพยพ เส้นทางหนีไฟ จุดรวมพล สัญลักษณ์สาหรับใช้นาการอพยพ ข้อปฏิบัติในการ อพยพ ฯลฯ (ตวั อยา่ งแผนอพยพหนีไฟ ตามภาคผนวก ค) 2. จัดทาบัญชีรายชื่อเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานประจาของแต่ละหน่วยงาน สาหรับใช้ในการ ตรวจสอบยอดผอู้ พยพ โดยให้ทาการปรบั ปรุงบญั ชีรายช่อื เจ้าหนา้ ที่ให้เปน็ ปัจจุบันอยู่เสมอ (ตัวอย่างบัญชี รายชื่อเจา้ หน้าท่ที ่ปี ฏิบตั ิงานในหนว่ ยงานตามภาคผนวก ง)
3. จัดทาบัญชีเอกสารและทรัพย์สินสาคัญทางราชการที่ต้องขนย้ายเม่ือเกิดเหตุ เพลิงไหม้ พร้อมทั้งจัดทาสัญลักษณ์เรียงลาดับความสาคัญ เช่น หมายเลข 1 = ขนย้ายลาดับที่ 1, หมายเลข 2 = ขนย้ายลาดบั ที่ 2, หมายเลข 3 = ขนย้ายลาดบั ที่ 3 เปน็ ต้น 4. มอบหมายเจ้าหน้าที่รับผิดชอบในการขนย้ายและเก็บรักษาทรัพย์สิน เอกสาร และทรัพย์สินสาคญั ของทางราชการตามบัญชีทีจ่ ัดทาข้นึ ฯลฯ 6. การปฏิบัติระหว่างเกิดอคั คีภัย * ให้กาหนดแนวทางปฏิบัติระหว่างเกิดอัคคีภัย ทั้งในเวลาราชการและนอกเวลา ราชการ เพื่อให้การปฏิบัติการเมื่อเกิดอัคคีภัยเป็นไปอย่างมีระบบ ชัดเจน และไม่สับสน โดยให้ กาหนดแนวทางปฏิบตั ิเกี่ยวกับการแจง้ เหตเุ พลิงไหม้ การดับเพลิง การอพยพหนีไฟ เชน่ 6.1 การปฏิบัติระหว่างเกิดอัคคีภัยในเวลาราชการ 6.1.1 การแจ้งเหตเุ พลิงไหม้ * ให้กาหนดจุดรับแจ้งเหตุเพลิงไหม้ ช่องทางการแจ้งเหตุเพลิงไหม้ แนวทางการแจ้งเหตเุ พลิงไหม้ พรอ้ มทัง้ กาหนดผ้ทู าหนา้ ท่เี ป็นผูอ้ านวยการดบั เพลิงให้ชัดเจน 1. ให้...(ระบุหน่วยงานรับผิดชอบ)...เป็นหน่วยงานรับแจ้งเหตุเพลิงไหม้ โดยให้แจ้งเหตุเพลิงไหม้ผ่านหมายเลข...(ระบุหมายเลขโทรศัพท์ที่กาหนดเป็นจุดรับแจ้งเหตุเพลิงไหม้)... หรอื ทางวิทยุสือ่ สารคลืน่ ความถีห่ ลัก...(ระบุคลืน่ ความถีว่ ิทยุทีใ่ ชเ้ ปน็ ข่ายในการแจง้ เหตุเพลิงไหม้)... 2. ให้...(ระบุบุคคลผู้รับผิดชอบ)...เป็นผู้อานวยการดับเพลิง ตามแผนป้องกัน และระงบั อัคคีภัยของศาลากลางจังหวดั 3. ให้ผู้พบเห็นเหตุการณ์คนแรกตัดสินใจว่าสามารถดับเพลิงได้ด้วยตนเอง หรือไม่ พร้อมท้ังแจ้งเหตุเพลิงไหม้ไปยังจุดับแจ้งเหตุเพลิงไหม้...(ระบุหมายเลขโทรศัพท์ที่กาหนด เป็นจุดรับแจ้งเหตุเพลิงไหม้)...หรือทางวิทยุสื่อสารคลื่นความถี่หลัก...(ระบุคลื่นความถี่วิทยุที่ใช้เป็น ข่ายในการแจง้ เหตุเพลิงไหม้)... ฯลฯ
6.1.2 การดบั เพลิง * ใหก้ าหนดแนวทางปฏิบตั ิในการดับเพลิงใหช้ ดั เจน เช่น 1. เมือ่ เจา้ หนา้ ทีท่ ี่อยู่ประจาจุดรับแจง้ เหตุเพลิงไหม้ได้รับการร้องขอความช่วยเหลือ หรือได้รับแจ้งเหตุเพลิงไหม้ให้เข้าทาการดับเพลิงทันที พร้อมทั้ง แจ้งหัวหน้าหน่วยงานเข้าบัญชาการ เหตกุ ารณใ์ นฐานะผอู้ านวยการดบั เพลิง 2. หากเพลิงไหม้มีความรุนแรงลุกลามจนเกินขีดความสามารถในการควบคุม ให้แจ้งเหตุเพลิงไหม้ไปยังสถานีดับเพลิงใกล้เคียงผ่านหมายเลข 199 พร้อมท้ัง ส่ังการให้อพยพหนีไฟ ตามแผนอพยพหนไี ฟที่จดั ทาไว้ ฯลฯ 6.1.3 การอพยพหนีไฟ * ให้กาหนดแนวทางปฏิบัติในการอพยพหนีไฟ เมื่อเพลิงไหม้ลุกลามและ ไมส่ ามารถดับเพลิงเบือ้ งต้นได้ เชน่ 1. หากเพลิงไหม้มีความรุนแรงลุกลามจนเกินขีดความสามารถในการควบคุม ของจงั หวัดให้ผู้อานวยการดบั เพลิงเป็นผสู้ ่ังการให้อพยพหนไี ฟตามแผนอพยพหนไี ฟ 2. เม่ือผู้อานวยการดับเพลิงได้สั่งการอพยพหนีไฟให้ผู้นาอพยพ (ตามที่กาหนด ไว้ในแผนอพยพหนีไฟ) นาอพยพเจ้าหนา้ ที่ไปตามเส้นทางอพยพทีก่ าหนดไปยังจุดรวมพลโดยเรว็ 3. ให้ผู้ตรวจสอบยอดผู้อพยพ (ตามที่กาหนดไว้ในแผนอพยพหนีไฟ) ทาการ ตรวจสอบยอดจานวนเจ้าหน้าที่ ณ จุดรวมพล กรณีพบจานวนเจ้าหน้าที่ครบถ้วนให้นาอพยพไปยังจุด รองรับการอพยพ หากไม่ครบถ้วนให้รายงานผู้อานวยการดับเพลิงส่ังการให้เข้าทาการค้นหาผู้ที่อาจ ติดค้างอยู่ในพืน้ ทีเ่ กิดเหตุ 4. หากค้นพบผู้ได้รับบาดเจ็บให้รายงานผู้บัญชาการเหตุการณ์ทันที พร้อมทั้ง ช่วยเหลือผู้บาดเจ็บมายังจดุ ปฐมพยาบาล หากมีผู้ได้รบั บาดเจบ็ รุนแรงให้สง่ ตอ่ ไปยังโรงพยาบาลใกล้เคียง 5. เมือ่ เพลิงสงบให้ผู้อานวยการดับเพลิงส่ังการใหเ้ จ้าหนา้ ทีอ่ พยพกลับ ฯลฯ ท้ังนี้ ควรจัดทาแผนภาพแสดงแนวทางปฏิบัติในการอพยพหนีไฟเพื่อให้เจ้าหน้าที่ ทกุ คนเข้าใจและปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกัน เช่น
(ตวั อยา่ ง) แผนภาพ : การอพยพหนีไฟ ผอู้ านวยการดับเพลิงสัง่ การใหม้ ีการอพยพหนีไฟ ผู้นาอพยพนาอพยพเจา้ หนา้ ทไี่ ปยงั จดุ รวมพล และทาการตรวจสอบยอดจานวนเจ้าหน้าที่ ครบ ไม่ครบ นาอพยพไปยงั ผู้อานวยการดบั เพลงิ จุดรองรับการอพยพ สั่งการให้เจ้าหนา้ ท่ชี ุดเผชญิ เหตุ เข้าค้นหาผู้ที่อาจตดิ ค้างในพืน้ ที่ เพลงิ สงบ เกิดเหตุ ผู้อานวยการดบั เพลงิ สงั่ การให้อพยพกลับ ชดุ เผชญิ เหตเุ ข้าค้นหาผู้ทีอ่ าจ ตดิ ค้างในพ้ืนที่เกิดเหตุ พบผบู้ าดเจ็บ แจ้งผู้อานวยการดับเพลงิ ทันที พร้อมท้ัง ชว่ ยเหลอื ผู้บาดเจ็บมายงั จดุ ปฐมพยาบาล บาดเจบ็ รนุ แรง ส่งต่อโรงพยาบาลใกล้เคียงทันที และแจ้งผู้อานวยการดบั เพลงิ ทราบโดยเร็ว
6.2 การปฏิบัติระหวา่ งเกิดอัคคีภัยนอกเวลาราชการ * ให้มอบหมายหน่วยงานรับผิดชอบ พร้อมกาหนดแนวทางปฏิบัติในการแก้ไข ปัญหาอัคีภัยท่ีอาจเกิดขึ้นในระหว่างนอกเวลาราชการให้ชัดเจน ได้แก่ ช่วงวันทาการระหว่างเวลา 16.30 – 08.30 น. วันหยุดราชการ และวันหยดุ นักขตั ฤกษ์ พร้อมกาหนดแนวทางปฏิบัติ เชน่ ให้...(ระบุหน่วยงานรับผิดชอบ)...เป็นผู้รับผิดชอบการแก้ไขปัญหาอัคคีภัยที่เกิดขึ้น ในช่วงเวลานอกเวลาราชการ ได้แก่ วันทาการระหว่างเวลา 16.30 -08.30 น. วันหยุดราชการ และ วนั หยดุ นกั ขตั ฤกษ์ โดยมีแนวปฏิบตั ิ ดงั น้ี 1. ให้ผู้พบเห็นเหตุการณ์คนแรกตัดสินใจว่าสามารถดับเพลิงได้ด้วยตนเองหรือไม่ หากสามารถดบั เพลิงได้ให้ทาการดับเพลิงเบื้องต้น แต่หากไม่สามารถดับเพลิงได้ให้ร้องขอความช่วยเหลือ หรือแจ้งเหตุเพลิงไหม้ไปยังจุดรับแจ้งเหตุเพลิงไหม้ ...(ระบุหมายเลขโทรศัพท์ที่กาหนดเป็นจุดรับแจ้งเหตุ เพลิงไหม้)...หรือทางวิทยุสื่อสารคลื่นความถี่หลัก...(ระบุคลื่นความถี่วิทยุที่ใช้เป็นข่ายในการแจ้งเหตุ เพลิงไหม้)... 2. เม่ือเจ้าหน้าที่ที่อยู่ประจาจุดรับแจ้งเหตุเพลิงไหม้ได้รับการร้องขอความช่วยเหลือหรือ ได้รับแจ้งเหตุเพลิงไหม้ให้เข้าทาการดับเพลิงทันที หากไม่สามารถดับเพลิงได้ให้แจ้งเหตุเพลิงไหม้ไปยัง สถานีดับเพลิงใกล้เคียงผ่านหมายเลข 199 พร้อมทั้ง แจ้งผู้บังคับบัญชาตามลาดับช้ันทราบโดยเร็ว เพื่อสงั่ การตอ่ ไป 3. เม่ือเพลิงสงบให้ส่งมอบภารกิจให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดาเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้อง ต่อไป เช่น การสารวจความเสียหาย การปรับปรุงและบูรณะพืน้ ทีท่ ี่ได้รบั ผลกระทบ เปน็ ต้น ฯลฯ 6.3 การปฏิบตั ิกรณเี พลิงไหม้ขนั้ รุนแรง * ให้กาหนดแนวทางปฏิบัติกรณีเพลิงไหม้ขั้นรุนแรงให้ชัดเจน เช่น กาหนด ผู้บัญชาการเหตุการณ์ กาหนดโครงสร้างองค์กรรับผิดชอบในการแก้ไขปัญหาเพลิงไหม้ขั้นรุนแรง กาหนดบทบาทหนา้ ทข่ี องสว่ นต่างๆ ฯลฯ เช่น 1. ให้ผู้วา่ ราชการจังหวดั หรอื ผทู้ ีผ่ วู้ ่าราชการจงั หวัดมอบหมายเข้าบัญชาการณ์เหตุการณ์ ในฐานะผบู้ ญั ชาการณ์เหตกุ ารณ์ตามแผนป้องกนั และระงับอัคคีภัยของศาลากลางจังหวดั ฯ 2. ให้หน่วยงานต่างๆ รับผิดชอบภารกิจในการแก้ไขปัญหาอัคคีภัย กรณีเกิดเพลิงไหม้ ขั้นรุนแรง โดยแบ่งออกเป็น 3 ส่วน 6 ทีม และให้ปฏิบัติหน้าที่ตามบทบาทหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายทันที ได้แก่ (1) ส่วนอานวยการ มี 1 ทีม ได้แก่ ทีมอานวยการ (2) ส่วนปฏิบัติการ มี 4 ทีม ได้แก่ ทีมดับเพลิง และกู้ภัย ทีมเคลื่อนย้ายทรัพย์สิน ทีมปฐมพยาบาล และทีมรักษาความปลอดภัย (3) ส่วนสนับสนุน มี 1 ทีม ได้แก่ ทีมสนับสนุนการปฏิบัติงาน (รายละเอียดตามแผนภาพแสดงโครงสร้างศูนย์ปฏิบัติการ ฉกุ เฉินแก้ไขปัญหาอัคคีภยั )
(ตวั อย่าง) โครงสร้างศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินแกไ้ ขปัญหาอคั คีภัย ศูนย์ปฏิบตั ิการฉุกเฉินแก้ไขปญั หาอคั คภี ยั ------------------------------- ผวจ.หรือผู้ที่ ผวจ. มอบหมาย (ผู้บญั ชาการเหตกุ ารณ์) ส่วนอานวยการ ส่วนปฏิบตั ิการ ส่วนสนับสนุน สนง.ปภ. จงั หวัด ทีท่ าการปกครองจงั หวัด สานกั งานจงั หวัด ทีมอานวยการ ทีมดับเพลงิ และกู้ภัย ทีมสนับสนนุ การปฏบิ ัตงิ าน -------------------- -------------------- -------------------- สานกั งานจังหวัด สมาชิก อส. , ERT สานักงานคลังจังหวดั ทีมเคลื่อนย้ายทรัพย์สนิ -------------------- ทกุ หน่วยงานทีต่ ้ังในศาลากลาง ทีมปฐมพยาบาล -------------------- รพ.ประจาจังหวัด ทีมรกั ษาความปลอดภัย -------------------- สมาชิก อส. โดยให้ส่วน/ทีมต่างๆ ตามโครงสร้างศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินแก้ไขปัญหาอัคคีภัย มีบทบาท หนา้ ท่ี เช่น
ที่ ที่ สว่ น ทีม หนว่ ยรบั ผิดชอบ บทบาท/หน้าท่ี 1) จัดตงั้ ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินแก้ไขปญั หา 1 ส่วนอานวยการ ทีมอานวยการ สานกั งานจงั หวัด อัคคีภยั เพื่อเปน็ ศนู ย์ประสานในการ 2 สว่ นปฏิบตั ิการ ทีมดับเพลิงและ สมาชิก อส. , ERT แก้ไขปญั หาอัคคีภัยของศาลากลาง กู้ภยั จังหวัด 2) อานวยการและประสานการปฏิบตั ิ เพือ่ อานวยความสะดวกในการ ปฏิบัติงานแก้ไขปัญหาอัคคีภัยของ ทีมต่างๆ 3) มอบหมายเจา้ หน้าที่เปน็ ผู้ประสานงาน และกาหนดจุดจอดรถดับเพลิงและ รถพยาบาลให้เหมาะสมตาม สถานการณ์ 4) ประเมินสถานการณ์และวางแผน ในการแก้ไขปญั หาอคั คีภัยเสนอ ผบู้ ญั ชาการเหตกุ ารณ์ เพือ่ ประกอบ การตดั สินใจในการแก้ไขปญั หาอคั คีภัย ใหส้ อดคล้อง และทนั ต่อสถานการณ์ ฯลฯ 1) ทาการดบั เพลิงเม่อื มีเพลิงไหม้เกิดขึน้ โดยใช้เครอ่ื งดับเพลิงทีม่ อี ยู่ตามชั้นตา่ งๆ หากไม่สามารถควบคมุ เพลิงได้ให้ รายงานผู้บญั ชาการเหตุการณ์ทราบ ทนั ที 2) ประสานงานกับหนว่ ยงานภายนอก เพื่อควบคุมเพลิงไหม้ (กรณีหนว่ ยงาน ภายนอกเข้าทาการดับเพลิง) 3) เข้าค้นหาผู้สูญหาย กรณีได้รบั แจง้ ว่ามีผู้ติดค้างอยู่ในบริเวณเกิดเพลิงไหม้ ฯลฯ
ที่ ที่ สว่ น ทีม หน่วยรบั ผิดชอบ บทบาท/หน้าท่ี ทกุ หน่วยงานที่ต้ังใน 1) ทาการเคลื่อนย้ายทรพั ย์สินของ 2 ส่วนปฏิบตั ิการ ทีมเคลื่อนย้าย ศาลากลาง ทางราชการไปยังสถานทีป่ ลอดภัย เชน่ ทรพั ย์สิน รถยนต์ราชการ เอกสารสาคญั ฯลฯ 2) ดแู ลรกั ษาทรพั ย์สินของทางราชการ ทีมปฐมพยาบาล รพ.ประจาจงั หวดั ทีเ่ คลื่อนย้ายไป 3) จัดทาบัญชีลงทะเบียนทรัพย์สินของทาง ทีมรักษา สมาชิก อส. ราชการทีเ่ คลือ่ นย้าย 4) เคลือ่ นย้ายทรัพย์สินของทางราชการ ความปลอดภัย กลบั ไปยงั สถานทีป่ ฏิบัติงาน/สถานที่ ปฏิบตั ิงานสารอง 3 ส่วนสนบั สนุน ทีมสนับสนุนการ สานกั งานคลงั จังหวัด ปฏิบัติงาน ฯลฯ 1) ทาการปฐมพยาบาลเบือ้ งตน้ หากมีผู้ได้รับบาดเจ็บรนุ แรงให้แจง้ ผบู้ ัญชาการเหตุการณ์ทราบก่อน ประสานการส่งต่อไปยงั โรงพยาบาล ใกล้เคียง 2) ประสานโรงพยาบาลทีก่ าหนดไว้ ตามแผน เพือ่ ส่งต่อผไู้ ด้รบั บาดเจบ็ ไปทาการรกั ษา ฯลฯ 1) จดั ระบบการจราจร ดูแลความสงบ เรียบร้อย อานวยความสะดวกให้แก่ เจ้าหน้าทีท่ ีมดบั เพลิงและทีมอน่ื ๆ ใน การระงบั เพลิงไหม้ 2) หา้ มผไู้ ม่เกี่ยวข้องเข้าไปในบริเวณ ทีเ่ กิดเหตุ พร้อมท้ังเฝ้าระวงั พืน้ ที่เกิด เหตุ เพื่อป้องกนั การโจรกรรมทรัพย์สนิ และเหตุร้ายต่างๆ ตลอด 24 ชั่วโมง ฯลฯ จดั เตรียมอาหาร น้า และเครื่องดม่ื สาหรับผู้ปฏิบตั ิงาน ฯลฯ
7. การปฏิบัติหลังเกิดอคั คภี ยั * ให้กาหนดแนวทางปฏิบัติภายหลังสถานการณ์อัคคีภัยได้สิ้นสุดลงแล้ว โดยให้ ดาเนินการเกี่ยวกับการรวบรวมข้อมูลความเสียหาย การฟื้นฟูบูรณะพื้นท่ีท่ีได้รับผลกระทบ เช่น 1. ให้...(ระบุหน่วยงานรับผิดชอบ)...ดาเนินการรวบรวมข้อมูลความเสียหายที่เกิดขึ้น สาหรับความเสียหายที่เกิดข้ึนตอ่ อาคารของศาลากลาง 2. ดาเนนิ การฟื้นฟบู ูรณะ/ปรับปรุงแก้ไขพื้นที่ ที่ได้รับความเสียหายให้กลับคืนสู่สภาพเดิม หรอื ดีกว่าเดิมโดยเรว็ 3. สรุปและจัดทารายงานข้อมูลความเสียหายที่เกิดขึ้น และการให้ความช่วยเหลือรายงาน ผู้บังคับบัญชาทราบ พร้อมทั้งจัดเก็บข้อมูลนามาใช้ประโยชน์ในการวางแผนป้องกันและลดความเสี่ยง อัคคีภยั ที่อาจจเกิดข้ึนใหม้ ีน้อยทีส่ ุด ฯลฯ * ให้กาหนดแผนสารองในกรณีอัคคีภัยท่ีเกิดขึ้นส่งผลกระทบต่อทรัพยากรสาคัญจนไม่ สามารถรองรบั การปฏิบตั ิงานได้ ฯลฯ เช่น หากสถานที่ปฏิบัติงานได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ โดยได้ประเมินความเสี่ยงและวิเคราะห์ ผลกระทบต่อทรัพยากรที่สาคัญแล้วว่าไม่สามารถรองรับปฏิบัติงานได้ ให้หน่วยงานถือปฏิบัติตาม แผนบริหารความต่อเนอ่ื งของหนว่ ยงาน (Business Continuity Plan) เชน่ ให้...(ระบุหน่วยงานรับผิดชอบ)...เสนอผู้ว่าราชการจังหวัดพิจารณาประกาศใช้แผนบริหาร ความต่อเน่ือง (Business Continuity Plan) ของศาลากลางจังหวัด โดยให้หน่วยงานรับผิดชอบการบริหาร ความต่อเนื่องด้านต่างๆ จัดเตรียมทรัพยากรในด้านที่รับผิดชอบไว้ล่วงหน้า เช่น การสารวจทรัพยากร ที่มีอยู่เพื่อใช้วางแผนในจัดหาการจัดเตรียมเพื่อเช่าสถานที่ปฏิบัติงานสารอง ฯลฯ ซึ่งมีแนวทางดาเนินการ ดังน้ี 1. ด้านสถานทีป่ ฏิบัติงาน : ให้...(ระบหุ นว่ ยงานรับผดิ ชอบ)...เป็นหนว่ ยรบั ผดิ ชอบหลักในการบริหารจัดการด้านสถานที่ ปฏิบตั ิงาน โดยกาหนดสถานทีป่ ฏิบตั ิงานสารองไว้ใน 2 กรณี คอื กรณีเกิดผลกระทบบางส่วน : ใหใ้ ช.้ ...(ระบสุ ถานที่ปฏิบัติงานสารองอย่างน้อย 2 – 3 แห่ง)... เป็นสถานที่ปฏิบตั ิงานสารองตามลาดับ กรณีเกิดผลกระทบท้ังหมด : ใหใ้ ช.้ ...(ระบุสถานทีป่ ฏิบตั ิงานสารองอย่างน้อย 2 – 3 แห่ง)... เปน็ สถานที่ปฏิบตั ิงานสารองตามลาดบั
2. ด้านอุปกรณ์และเครอ่ื งมอื : ให้...(ระบุหน่วยงานรับผิดชอบ)...เป็นหน่วยรับผิดชอบหลักในการบริหารจัดการ ด้านอปุ กรณ์และเครอ่ื งมอื โดยดาเนนิ การจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ และเคร่ืองมือที่จาเป็นสาหรับการปฏิบัติงาน ให้สานกั /กอง/หนว่ ยงานที่ได้รบั ผลกระทบจากอัคคีภัย 3. ด้านข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร : ให้...(ระบุหน่วยงานรับผิดชอบ)...เป็นหน่วยรับผิดชอบหลักในการบริหารจัดการด้านข้อมูล และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยดาเนินการวางระบบ/เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสอ่ื สาร ณ สถานทีป่ ฏิบตั ิงานสารอง 4. ด้านการประสานผู้ใชบ้ ริการ : ให้...(ระบุหน่วยงานรับผิดชอบ)...เป็นหน่วยรับผิดชอบหลักในการบริหารจัดการด้านการ ประสานผู้ใช้บริการ เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างต่อเนื่องกรณีเกิดภาวะวิกฤติฉุกเฉินจากเหตุการณ์ อคั คีภยั ทีเ่ กิดขึน้ เฉพาะหนา้ หรอื เกิดผลกระทบขยายเป็นวงกว้าง 5. ด้านบคุ ลากร : ให้...(ระบุหนว่ ยงานรับผิดชอบ)...เป็นหน่วยรับผิดชอบหลักในการบริหารจัดการด้านบุคลากร เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างต่อเนื่องกรณีเกิดภาวะวิกฤติฉุกเฉินจากเหตุการณ์อัคคีภัยที่เกิดขึ้น เฉพาะหนา้ หรอื เกิดผลกระทบขยายเป็นวงกว้าง ฯลฯ 8. ภาคผนวก 8.1 ภาคผนวก ก ตัวอย่างบัญชีรายชื่อหน่วยงานติดต่อกรณเี กิดอัคคีภัย บัญชีรายชือ่ หนว่ ยงานติดตอ่ กรณเี กิดอัคคีภยั หนว่ ยงาน หมายเลขโทรศัพท์ ชื่อ-นามสกุลผ้ทู ่ตี ิดตอ่ ได้ กรณเี กิดอัคคีภัย แจง้ เหตเุ พลิงไหม้ สายด่วนนิรภยั (ปภ.) สถานีดบั เพลิง...... สถานีดับเพลิง...... โรงพยาบาล......... โรงพยาบาล.......... สถานีตารวจ.........
หน่วยงาน หมายเลขโทรศัพท์ ชื่อ-นามสกลุ ผทู้ ต่ี ิดตอ่ ได้ กรณเี กิดอคั คีภัย สถานีตารวจ......... การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค สาขา การประปาส่วนภมู ิภาค สาขา มลู นิธิ................ มูลนิธิ................ ฯลฯ 8.2 ภาคผนวก ข ตวั อย่างแบบตรวจตราความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภยั แบบตรวจตราความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัย หนว่ ยงาน (ระบุชือ่ หน่วยงาน) ผลการตรวจตรา การปรบั ปรุง/แก้ไข ที่ รายการ จานวน เรียบร้อย ชารดุ / อยู่ระหว่าง ปรับปรุง/แก้ไข หมายเหตุ ใช้งาน ดาเนนิ การ เรียบร้อย 1 ปล๊กั ต่างๆ 2 กระตกิ น้าร้อน ไม่ได้ 3 คอมพิวเตอร์ 5 เครื่องปรบั อากาศ 6 สวิตซ์ไฟฟ้า 7 ถังดบั เพลิง 8 อปุ กรณ์ตรวจจับควนั (Smoke Detector) 9 อุปกรณ์แจ้งเตือน เพลิงไหม้ (Fire alarm)
ผลการตรวจตรา การปรบั ปรงุ /แก้ไข ที่ รายการ จานวน เรียบร้อย ชารุด/ อยู่ระหว่าง ปรบั ปรงุ /แก้ไข หมายเหตุ ใช้งาน ดาเนนิ การ เรียบร้อย 10 เส้นทางหนีไฟ (ควรตรวจตราให้ ไม่ได้ ครอบคลุมเกีย่ วกับ มาตรฐานของประตู ผนัง และพืน้ ที่ใช้เป็นเส้นทาง หนไี ฟว่าสามารถทน ความรอ้ นได้เพียงพอ หรอื ไม่) 11 ป้ายสื่อความหมาย ปลอดภยั เชน่ ทางหนไี ฟ ทางเข้า/ทางออก ฯลฯ 12 อื่นๆ (โปรดระบุ).............. ลงชือ่ ..................................................ผตู้ รวจตรา () ตาแหน่ง.............................................. วันทีต่ รวจตรา.............เดือน....................พ.ศ. ...........
8.3 ภาคผนวก ค ตวั อยา่ งแผนอพยพหนีไฟของหนว่ ยงาน แผนอพยพหนไี ฟของ (ระบชุ ือ่ หน่วยงาน) ที่ ขอ้ กาหนดในการอพยพ รายละเอียด 1 ผนู้ าการอพยพ * ให้กาหนดผู้ท่ที าหน้าท่นี าอพยพ พร้อมผู้นาอพยพสารอง 1-2 คน 2 ผตู้ รวจสอบยอดผอู้ พยพ (กรณีผู้นาอพยพไม่สามารถปฏิบัติงานได้) โดยให้ระบุชื่อ-นามสกุล ตาแหนง่ และเบอรโ์ ทรศพั ทต์ ิดตอ่ เช่น - นางมณีรัตน์ อดลุ ยประภากร นกั วิเคราะห์ฯ ชานาญการพิเศษ ผนู้ าอพยพ (เบอร์โทรศัพท์ ..............................) - นางสาวดาวหวัน แสงออ่ ง นักวิเคราะหฯ์ ชานาญการ ผนู้ าอพยพสารองคนที่ 1 (เบอร์โทรศัพท์ ..............................) - นางสิรพิ ิน ทิพย์รภัสกุล นกั วิเคราะหฯ์ ชานาญการ ผนู้ าอพยพสารองคนที่ 2 (เบอร์โทรศพั ท์ ..............................) ฯลฯ * ให้ กาหนดผู้ท่ีทาหน้าท่ีผู้ตรวจสอ บยอ ดผู้อพยพ พร้อ ม ผู้ตรวจสอบยอดผู้อพยพสารอง 1-2 คน(กรณีผู้ตรวจสอบยอด ผอู้ พยพไม่สามารถปฏิบัติงานได้) โดยให้ระบุชื่อ-นามสกุล ตาแหน่ง และเบอรโ์ ทรศพั ท์ติดต่อ เช่น - นางสาวนนั ทนิตย์ ศรีจันทร์ หัวหน้าฝา่ ยบริหารทว่ั ไป ผตู้ รวจสอบยอดผอู้ พยพ (เบอร์โทรศพั ท์ ..............................) - นางประณีต เลิศรตั นอมรกุล พนักงานพิมพ์ ส 3 ผตู้ รวจสอบยอดผอู้ พยพสารองคนที่ 2 (เบอร์โทรศัพท์ ...................) - นางวีรวัลย์ โพธิม์ า พนักงานพิมพ์ ส 3 ผตู้ รวจสอบยอดผอู้ พยพสารองคนที่ 3 (เบอร์โทรศัพท์ ...................) ฯลฯ 3 ผู้ทาหน้าท่ีชดุ ปฐมพยาบาล * ให้กาหนดผู้ท่ีทาหน้าท่ีชุดปฐมพยาบาล พร้อมผู้ทาหน้าท่ีชุดปฐม พยาบาลสารอง 1-2 คน (กรณีผู้ทาหน้าท่ีชุดปฐมพยาบาลไม่ สามารถปฏิบัติงานได้) โดยให้ระบุชื่อ-นามสกุล ตาแหน่งและเบอร์ โทรศพั ทต์ ิดตอ่ เช่น
ที่ ขอ้ กาหนดในการอพยพ รายละเอียด 4 เส้นทางอพยพหนีไฟ - นางจันทร์จริ า โพธิท์ องนาค นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ 5 จุดรวมพล ผทู้ าหน้าทีช่ ดุ ปฐมพยาบาล (เบอร์โทรศัพท์ ..............................) - นางสาวอนัญญา เทียนหอม นักวิเคราะหน์ โยบายและแผนชานาญการ ผทู้ าหน้าที่ชุดปฐมพยาบาลสารองคนที่ 2 (เบอร์โทรศพั ท์ ...................) - นางสาวปรียา นาสขุ พนกั งานนโยบายและแผนงาน ผทู้ าหน้าทีช่ ุดปฐมพยาบาลสารองคนที่ 3 (เบอร์โทรศัพท์ ...................) ฯลฯ * ให้กาหนดเส้นทางอพยพหนีไฟของหน่วยงานอย่างน้อย 1-2 เส้นทาง พร้อมอธิบายรายละเอียดของเส้นทางอพยพหนีไฟให้ชัดเจน ตั้งแต่จุดเร่ิมต้นจนถึงจุดรองรอบการอพยพ โดยอาจมีแผนผังแสดง เส้นทางอพยพหนีไฟประกอบดว้ ยก็ได้ เช่น - เสน้ ทางท่ี 1 อาคาร 3 / ชนั้ 3 ใช้บันไดปกติอาคาร 3 ช้ัน 3 ไปยังจุดรองรับการอพยพบริเวณหน้า อาคาร 2 กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิน่ - เสน้ ทางท่ี 2 อาคาร 3 / ช้ัน 2 ใช้บันไดปกติ อาคาร 3 ชั้น 3 ลงไปชั้น 2 ใช้ทางเชื่อมระหว่างอาคาร 1 และอาคาร 3 ผ่านหน้าห้องรองอธิบดี ฝ่ายปฏิบัติการ และรองอธิบดี ฝ่ายวิชาการ ลงบันไดปกติอาคาร 1 ไปยังจุดรองรับการอพยพบริเวณ หนา้ อาคาร 2 กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น ฯลฯ * ให้กาหนดจุดรองรับการอพยพท่ีชัดเจน เช่น สนามหญ้าพระท่ีน่ัง นงคราญสโมสร กรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถิ่น (จุดรวมพล หมายถึง พื้นที่ปลอดภัยที่สามารถรองรับการอพยพ กรณีเกิดเพลิงไหมข้ องเจา้ หนา้ ที่และทรพั ย์สนิ ได้ 6 สญั ลักษณนาการอพยพ * ให้กาหนดสัญลักษณ์นาการอพยพ โดยอาจใช้ธงสีต่างๆ เป็น สัญลักษณ์นาการอพยพ พร้อมกาหนดจุดติดต้ังสัญลักษณ์ ทั้งนี้ ขอใหส้ านัก/กอง/หนว่ ยงานใช้สีธงทแ่ี ตกตา่ งกนั 1) ใช้ธงสีเขยี วอ่อนมีตัวอกั ษร นส. เป็นสัญลักษณ์ สาหรับนาการอพยพ 2) จุดตดิ ต้ังธงทีใ่ ช้ในการอพยพ
ที่ ข้อกาหนดในการอพยพ รายละเอียด - บริเวณหนา้ ฝา่ ยบริหารท่ัวไป - บริเวณหนา้ ส่วนนโยบายภยั จากธรรมชาติ - บริเวณหนา้ ส่วนนโยบายภัยจากมนษุ ย์และความม่ันคง - บริเวณหนา้ ส่วนติดตามและประเมินผล - บริเวณหนา้ ส่วนยุทธศาสตร์และงบประมาณ 7 ขอ้ ควรปฏิบตั ิในการ * ให้ระบุข้อควรปฏิบัติในการอพยพหนีไฟ/การปฏิบัติตนท่ีถูกต้อง อพยพหนีไฟ ในการอพยพหนีไฟ เชน่ -พยายามต้ังสติให้ดี ควบคุมอารมณ์ให้สงบ ม่ันคง ไม่ตื่นตระหนก - ห้ามใช้ลิฟต์ในขณะเกิดอัคคีภัยโดยเด็ดขาด และให้ใช้บันไดหนีไฟและ ทางหนีไฟ - ขณะอพยพใหใ้ ช้วธิ ีเดินเร็วชดิ ด้านขวาเปน็ หลกั หา้ มวิ่งหรอื เดินช้า - เชอ่ื ฟงั และปฏิบัติตามคาแนะนาของผู้นาอพยพอย่างเคร่งครดั - ห้ามขนสัมภาระใดๆ ติดตัวไปในขณะอพยพ ยกเว้นเงินและเอกสาร สาคญั - ระหว่างการอพยพหา้ มเดินคยุ เล่นกัน อย่าส่งเสียงเอะอะหรอื เร่งให้ คนที่อยู่ขา้ งหน้าเดินเร็วขึ้น อย่าผลกั อย่าดัน หรอื แซงกนั - หากออกจากบันไดหนีไฟเป็นคนสุดท้ายให้ปิดประตูหนีไฟ เพื่อป้องกัน ควนั ไฟเข้าไปในช่องบันไดหนีไฟ - เมื่อเดินทางออกมาภายนอกห้องแล้ว หา้ มเดินทางย้อนกลบั เข้าไป ทีห่ ้องอีก ไม่ว่าจะนึกเรื่องสาคัญอะไรขึ้นมาได้ก็ตาม ฯลฯ
8.4 ภาคผนวก ง ตวั อยา่ งบัญชีรายชือ่ เจ้าหน้าท่ที ่ปี ฏิบัติงานประจาของหน่วยงาน บัญชีรายชือ่ เจ้าหน้าท่ีท่ปี ฏิบตั ิงานประจาของ (ระบชุ ื่อหน่วยงาน) ประกอบด้วย ข้าราชการ จานวน คน จาแนกตามเพศ ชาย คน หญิง คน คน ลกู จา้ งประจา จานวน คน ชาย คน หญิง คน คน พนักงานราชการ จานวน คน ชาย คน หญิง รวม จานวน คน ชาย คน หญิง ที่ ชื่อ – สกลุ ตาแหน่ง โทรศัพท์ กรุ๊ป โรค บุคคลและเบอรโ์ ทรศัพท์ เลือด ประจาตวั ติดตอ่ กรณฉี กุ เฉิน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 ฯลฯ
Search
Read the Text Version
- 1 - 29
Pages: