Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือฝึกอบรม การปลุกจิตสำนึกเพื่อเตรียมพร้อมรับภัยน้ำท่วม

คู่มือฝึกอบรม การปลุกจิตสำนึกเพื่อเตรียมพร้อมรับภัยน้ำท่วม

Published by stabun.dpm, 2021-04-23 03:48:05

Description: คู่มือฝึกอบรม การปลุกจิตสำนึกเพื่อเตรียมพร้อมรับภัยน้ำท่วม

Search

Read the Text Version

คู่มอื ฝึกอบรมการปลุกจติ สำ�นกึ เพ่อื เตรียมพรอ้ มรับภยั นำ�้ ทว่ ม 5. ปัจจัยสำ�คัญในการออกแบบกิจกรรมเพื่อปลกุ จติ สำ�นกึ กระบวนการออกแบบกจิ กรรมเพื่อปลุกจติ ส�ำ นึกน้ัน ควรค�ำ นึงถงึ การมีส่วนร่วมของประชาชนทีไ่ ดร้ ับผลกระทบจากภยั โดยตรง เพื่อใหก้ ิจกรรมทจ่ี ะออกแบบนั้นสอดคล้องกับความต้องการของชมุ ชนและสามารถนำ�ไปปฏบิ ตั ไิ ดจ้ รงิ อกี ท้งั ชุมชน เองจะไดเ้ กิดความตระหนกั และรสู้ ึกเป็นสว่ นหน่ึงของกิจกรรม ปัจจยั ส�ำ คญั ที่ต้องคำ�นงึ ถงึ เมอ่ื ต้องการออกแบบกิจกรรมเพ่ือปลกุ จิตส�ำ นกึ มดี งั ต่อไปน้ี • กลมุ่ เป้าท่ตี ้องการสอื่ สารคือใคร เช่น ประชาชนท่วั ไป หรือกลมุ่ เป้าหมายเฉพาะ • ข้อความทต่ี ้องการสื่อสารคืออะไร เชน่ ขอ้ มูลเรื่องนำ้�ทว่ มทั่วไป หรือข้อความเฉพาะท่ตี อ้ งการสือ่ สาร เช่น เร่ือง สขุ ภาพหรือทพ่ี กั ชว่ั คราว • วธิ ีการในการสอ่ื สาร เชน่ ผ่านทางส่ือสิง่ พิมพ์ วิทยุ หรือกิจกรรมชมุ ชน • ระยะเวลาในการจัดกจิ กรรม เชน่ ก่อนหรอื ระหว่างฤดฝู น และจำ�นวนครั้งในการจดั กจิ กรรม • ใครเปน็ ผรู้ ับผิดชอบในการจัดกิจกรรม เชน่ เจ้าหน้าทรี่ ะดับจังหวดั หรอื อ�ำ เภอ โดยความรว่ มมอื กบั องค์กรพัฒนา เอกชน เปน็ ตน้ • งบประมาณ เนื่องจากปจั จุบันน้ี กจิ กรรมท่ีถกู ออกแบบมาเพ่อื กระตุน้ จติ ส�ำ นกึ ของประชาชนใหต้ ระหนกั ถงึ ภัยหรือเหตกุ ารณ์ต่างๆ มัก เปน็ กิจกรรมทีเ่ นน้ การเขา้ ถึงกลุ่มเป้าหมายในวงกวา้ ง เช่น การประชาสัมพนั ธ์ผา่ นส่อื วทิ ยุ โทรทัศน์ และอินเตอร์เนต อย่างไรกต็ ามควรมีการคำ�นึงถงึ กลมุ่ เป้าหมายทีไ่ มส่ ามารถเข้าถึงสือ่ กระแสหลักเหลา่ นด้ี ้วยเช่นกนั ดังน้นั การส่ือสาร หลายๆ ชอ่ งทาง หรือการใช้กิจกรรมทม่ี ีวธิ ีการส่อื สารท่หี ลากหลาย จะท�ำ ใหก้ ลมุ่ เป้าหมายเหล่านเี้ ขา้ ถึงขอ้ มูลได้มาก ยิง่ ข้นึ 6. ขั้นตอนการเตรียมการในการจัดกจิ กรรมเพ่อื ปลกุ จิตสำ�นกึ ได้แก่ • ศึกษาและระบุพฤตกิ รรมของคนในชุมชน ในช่วงกอ่ น ระหวา่ ง และหลังไดร้ บั ผลกระทบจากภยั • กำ�หนดกลมุ่ เปา้ หมาย เช่น ใครคือกลุ่มเปราะบาง ใครคอื กลมุ่ เป้าหมายหลกั • ศึกษาพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย เชน่ การเขา้ ถงึ ข้อมลู ขา่ วสาร ว่าเข้าถงึ ด้วยวธิ ีการใด • ออกแบบสอื่ และขอ้ ความเพือ่ ใชใ้ นกจิ กรรม โดยอาศยั การมสี ว่ นร่วมของคนในชุมชนเปน็ หลัก นอกจากนคี้ วร ออกแบบส่ือทมี่ คี วามสอดคล้องกับประเพณี วฒั นธรรมและการด�ำ เนนิ ชีวติ ของคนในชุมชน • ระบผุ ู้รับผดิ ชอบกิจกรรม • กำ�หนดระยะเวลาในการดำ�เนนิ กจิ กรรม เชน่ ช่วงกอ่ น ระหวา่ ง หรอื หลงั การเกิดน�ำ้ ท่วม 7. สอื่ และกจิ กรรมท่ใี ช้ในการเผยแพร่กิจกรรมปลกุ จติ สำ�นึก • ส่ือวทิ ยุและโทรทัศน์ หนังสือพมิ พ์ สปอตวดิ ีโอ รูปถา่ ย เทปเสยี ง • ส่ือสง่ิ พมิ พ์ เชน่ แผน่ พับ หนังสอื โปสเตอร์ ป้ายโฆษณา • กิจกรรมในชมุ ชน เช่น การจัดประชุม การจัดนิทรรศการ การประกวดวาดภาพหรือค�ำ ขวญั การปลกู ต้นไม้ • โครงการท่ีน�ำ เสนอสู่ชมุ ชน เชน่ การแสดงบนถนน การเดนิ รณรงค์ การแจกจา่ ยแผ่นพับและการเคาะประตูบ้าน 49

คมู่ อื ฝึกอบรมการปลุกจติ สำ�นึกเพื่อเตรียมพร้อมรับภัยน�ำ้ ท่วม ส�ำ หรับการออกแบบกิจกรรมปลกุ จติ สำ�นึกเพื่อเตรยี มความพรอ้ มรับภัยน�ำ้ ทว่ มนนั้ สามารถท�ำ ได้หลายระดับ ตงั้ แต่ระดบั โรงเรียน ชุมชน อำ�เภอ จังหวดั ไปจนถึงระดับประเทศ ทั้งนี้ขน้ึ อย่กู บั ความตอ้ งการของกลมุ่ เปา้ หมายว่ามีมากนอ้ ยเพียง ใดและกระบวนการมสี ่วนร่วมของผ้ทู ีเ่ ก่ียวข้องในพนื้ ท่ีทีค่ าดว่าจะได้รับผลกระทบจากภยั น�้ำ ท่วม ถือเปน็ ปจั จัยสำ�คญั อีก อยา่ งหนง่ึ ในการออกแบบกจิ กรรม เชน่ หากเปน็ การจัดกิจกรรมในระดับอ�ำ เภอหรอื จงั หวดั ผทู้ ่ีเก่ยี วขอ้ งกค็ อื ผนู้ �ำ ชุมชน ก�ำ นัน ผ้ใู หญ่บ้าน องคก์ ารบรหิ ารสว่ นต�ำ บล กลุม่ องคก์ รไมแ่ สวงหาผลก�ำ ไร ทที่ ำ�งานในพื้นท่ี สือ่ มวลชนทอ้ งถ่นิ ครู อาจารย์ และผปู้ ฏบิ ัติงานดา้ นการเตรียมความพร้อมรบั ภยั พิบัตใิ นพ้ืนท่ี เป็นต้น 8. ตัวอย่างกจิ กรรมปลกุ จติ สำ�นึกเพื่อเตรียมความพร้อมรบั ภยั น้ำ�ทว่ ม การให้ความร้เู กีย่ วกบั ภัยน�้ำ ท่วมและระบบการแจง้ เตอื นภยั นำ้�ทว่ มลว่ งหน้าแก่ผูท้ ่ีอาศยั อยู่ในพ้นื ทเ่ี ส่ียงภัยน�ำ้ ท่วมอยา่ ง สม�ำ่ เสมอ ถือเป็นเร่อื งส�ำ คญั อยา่ งยิง่ เนื่องจากเป็นการกระตนุ้ ใหผ้ ู้อาศยั อยู่ในพ้ืนท่ีเสี่ยงภัยไดต้ ระหนกั และเตรยี มความ พรอ้ มรับมอื กับภยั ท่ีมาจากนำ้�ท่วมไว้เสมอ ตวั อย่างกิจกรรมปลุกจิตสำ�นกึ เพื่อเตรยี มความพร้อมรับภัยน�ำ้ ท่วม ไดแ้ ก่ • การตดิ ต้ังเครื่องวัดระดับนำ้�ท่สี ามารถมองเหน็ ได้ชดั เจน • การประชาสมั พนั ธข์ อ้ มูลเรื่องระบบการแจง้ เตือนภยั และวธิ กี ารปฏบิ ัติตนเมอ่ื ได้รับการแจ้งเตอื นภัยน�ำ้ ท่วมผ่านสื่อตา่ งๆ ในชมุ ชนเป็นระยะ • การจัดท�ำ สื่อเพอื่ เผยแพรข่ อ้ แนะน�ำ ในการปฏบิ ัตติ นเมือ่ เกดิ ภัยน�้ำ ท่วม เชน่ โปสเตอร์ และแผ่นพบั แจกจา่ ยไปยงั โรงเรยี นหรือสถานท่ีราชการอ่นื ๆ รวมทั้งชมุ ชน • การจัดประชมุ หมู่บ้านเพ่ือปรกึ ษาหารือและพดู คยุ เกย่ี วกับการปอ้ งกันภัยน�ำ้ ท่วม และตรวจสอบอปุ กรณห์ รอื สอ่ื ทใ่ี ชใ้ น การแจง้ เตอื นภัยว่ายงั อยูใ่ นสภาพใช้งานไดต้ ามปกตหิ รือไม่ มีการซกั ซ้อมแผนเตอื นภัยหรืออพยพอยา่ งสม�ำ่ เสมอ ตัวอย่างแผนกิจกรรมปลกุ จิตสำ�นึกเพ่ือเตรยี มพร้อมรบั ภัยน�้ำ ท่วม (จังหวัดนครพนม) ชื่อกจิ กรรม: การฝกึ ซอ้ มแผนรบั ภยั น�ำ้ ทว่ ม วตั ถปุ ระสงค:์ เพือ่ ให้ประชาชนเตรยี มความพรอ้ ม กลุ่มเปา้ หมาย: ประชาชนในหมู่บา้ น ขอ้ ความในการรณรงค์: ระวงั นำ�้ ท่วมลน้ ตลงิ่ แบบฉบั พลนั ในเดือน สงิ หาคม-ตุลาคม วิธีการสอ่ื สาร/ชอ่ งทางในการสอื่ สาร: 1. เสยี งตามสาย 2. เอกสารแผน่ พบั ระยะเวลาในการจดั กจิ กรรม: 2 วนั (เดอื นพฤษภาคม) สถานที่: องคก์ ารบริหารส่วนตำ�บล งบประมาณ: 10,000 บาท ผ้รู บั ผดิ ชอบ: ผูน้ �ำ ชมุ ชน 50

ค่มู ือฝกึ อบรมการปลกุ จติ ส�ำ นึกเพื่อเตรยี มพร้อมรับภยั น้ำ�ทว่ ม Tip สำ�หรับวิทยากร กิจกรรมปลุกจิตสำ�นึก กิจกรรมสร้างความตระหนัก หรือกิจกรรมรณรงค์ เป็นกิจกรรมที่มี วัตถุประสงค์ในการดำ�เนินการไปในแนวทางเดียวกัน คือ กระตุ้นให้กลุ่มเป้าหมายหรือ ผู้รับสารได้เกิดความตระหนักรู้ และเห็นความสำ�คัญของภัย และการเตรียมความพร้อมรับ ภัยที่อาจจะเกิดขึ้นในพื้นที่ของตนเองอยู่เสมอ 51

คูม่ อื ฝึกอบรมการปลกุ จติ สำ�นกึ เพือ่ เตรยี มพร้อมรับภัยน�ำ้ ทว่ ม การพัฒนาสื่อเพอ่ื กจิ กรรม 3.2 ปลกุ จิตสำ�นกึ วัตถุประสงค์ : เพ่ือให้ผ้เู ข้าฝึกอบรมสามารถ 1. เขา้ ใจความหมายและวัตถปุ ระสงค์ของสือ่ ท่ีใชเ้ พื่อการปลุกจิตส�ำ นึก 2. เข้าใจถงึ วธิ กี ารและเทคนคิ ในการออกแบบสอ่ื แต่ละประเภท เพื่อใช้ส�ำ หรบั กจิ กรรมปลกุ จิตส�ำ นกึ 3. น�ำ เอาเทคนิคในการออกแบบและใช้สอ่ื ในการจดั กจิ กรรม ไปปรับใช้ในชุมชนของตนเองได้ อย่างเหมาะสม ขอบเขตเน้อื หา 1. ความหมายและวตั ถปุ ระสงคข์ องส่ือเพ่ือการปลกุ จติ ส�ำ นกึ 2. กระบวนการและเทคนิคในการออกแบบสื่อเพอ่ื การปลกุ จติ สำ�นึก เพอ่ื จดั กิจกรรมปลุก จติ ส�ำ นกึ 3. เทคนคิ การใชส้ ื่อเพอื่ การปลกุ จติ ส�ำ นึกใหเ้ หมาะสมกบั กิจกรรมและกลุ่มเปา้ หมาย ระยะเวลา : 90 นาที สื่อและอปุ กรณ์ • กระดาษฟลปิ ชาร์ท • ปากกาเคมี • สีชอลก์ หรือสีเมจิก • สไลด์เรอ่ื งความหมายและตวั อยา่ งของสื่อเพื่อการปลุกจิตสำ�นกึ (เอกสารประกอบคู่มือ ฝกึ อบรม ชดุ ท่ี 18) • สไลดเ์ รื่องขั้นตอนและเทคนคิ ในการออกแบบสอ่ื และตวั อยา่ งการใชส้ อื่ เพ่ือปลุกจติ ส�ำ นึก เรอ่ื งการเตรยี มความพรอ้ มรบั ภัยนำ�้ ทว่ ม (เอกสารประกอบคู่มือฝกึ อบรม ชุดท่ี 19) การวดั และประเมินผล • ผเู้ ขา้ รว่ มอบรมสามารถอธิบายความหมายและวตั ถปุ ระสงค์ของส่ือเพอื่ การปลกุ จิตส�ำ นึกได้ • ผู้เขา้ ร่วมอบรมสามารถอธิบายเทคนคิ และขน้ั ตอนการออกแบบสือ่ เพื่อการปลุกจติ ส�ำ นกึ เพอื่ จดั กิจกรรมปลกุ จิตส�ำ นกึ ได้ • ผูเ้ ขา้ ร่วมอบรมสามารถนำ�เทคนิคการใช้สอ่ื เพ่อื การปลกุ จิตส�ำ นึกไปปรบั ใช้กบั กจิ กรรมปลุก จติ ส�ำ นกึ ในชมุ ชนของตนเองได้ 52

คมู่ อื ฝึกอบรมการปลกุ จิตส�ำ นกึ เพ่อื เตรยี มพรอ้ มรบั ภัยน�ำ้ ทว่ ม กระบวนการฝึกอบรม ประเด็นส�ำ คญั วธิ กี าร สือ่ /อุปกรณ์ ประเดน็ สำ�คัญใน ขนั้ ที่ 1 (30 นาที) 1. กระดาษฟลิปชาร์ท ข้นั ตอนที่ 1 2. ปากกาเคมี • วิทยากรบรรยายความหมายและวตั ถุประสงคข์ องการใชส้ ่อื 3. สไลด์เร่อื งความหมาย คือ ความหมายและ เพื่อการปลกุ จติ ส�ำ นกึ โดยนำ�เสนอสไลด์เร่อื ง “ความหมาย ตัวอย่างส่ือเพอื่ การปลกุ และตัวอยา่ งของสือ่ เพอ่ื การปลกุ จติ ส�ำ นึก” (เอกสาร และตัวอยา่ งของส่อื จติ สำ�นกึ ประกอบคู่มือฝกึ อบรม ชุดท่ี 18) (10 นาที) เพอ่ื การปลุกจติ ส�ำ นกึ ประเด็นส�ำ คัญใน • วทิ ยากรให้ผู้เขา้ รว่ มอบรม ระดมสมองและตอบคำ�ถามวา่ (เอกสารประกอบ ขน้ั ตอนท่ี 2 คมู่ อื ฝกึ อบรม “ในชมุ ชนของท่านมีหรือเคยมสี ื่อเพ่อื ใชร้ ณรงคป์ ลุกจติ สำ�นกึ ชดุ ที่ 18) คอื ขน้ั ตอนและเทคนิคใน เก่ียวกับน้�ำ ท่วมประเภทใดบา้ ง” และวทิ ยากรบนั ทึกค�ำ ตอบ 4. สไลด์เร่อื งขั้นตอนและ การออกแบบสอ่ื เพือ่ การ ลงในกระดาษฟลิปชารท์ (10 นาที) เทคนิคในการ ปลุกจิตสำ�นกึ และการนำ� • วิทยากรสรุปและเชือ่ มโยงเข้าสกู่ ารออกแบบสอ่ื เพอื่ การปลุก ออกแบบสือ่ และ สื่อไปประยกุ ตใ์ ช้กบั กิจกรรม จติ สำ�นกึ รบั ภัยน้ำ�ท่วม (10 นาที) ตวั อยา่ งการใชส้ ือ่ ปลุกจติ สำ�นึก เพ่อื ปลกุ จติ ส�ำ นึก ข้นั ท่ี 2 (60 นาท)ี เรือ่ งการเตรียมความ พรอ้ มรับภยั น�ำ้ ท่วม • วทิ ยากรใหผ้ ู้เขา้ ร่วมอบรมแบง่ กลุ่มตามกลมุ่ เดิมของการ (เอกสารประกอบ ออกแบบกจิ กรรมปลกุ จติ สำ�นึกเพอ่ื ความพร้อมรับภัย คู่มอื ฝกึ อบรม น�้ำ ท่วมตามกจิ กรรมท่ี 3.1 และแจกกระดาษฟลปิ ชารท์ ชุดท่ี 19) ปากกาเคมี และสีต่างๆ (5 นาท)ี • วทิ ยากรให้ผเู้ ขา้ รว่ มอบรม ออกแบบส่ือประเภทใดก็ได้ 1 ประเภทเพือ่ ใช้ในกิจกรรมปลกุ จิตสำ�นึกเพือ่ เตรียมพร้อมรบั ภยั นำ�้ ท่วมทตี่ นเองไดอ้ อกแบบไว้ตามกิจกรรมที่ 3.1 (20 นาที) • วทิ ยากรให้ผู้เข้าร่วมอบรมนำ�เสนอกจิ กรรม ไม่เกนิ กล่มุ ละ 5 นาที และให้ผู้เขา้ ร่วมอบรมกลุ่มอื่นๆ รวมถึงผู้แทนชุมชน ช่วยกันเสนอแนะให้ข้อคิดเหน็ และวิทยากรบันทกึ ขอ้ เสนอ แนะและขอ้ คดิ เหน็ ของผเู้ ขา้ รว่ มอบรมลงในกระดาษ ฟลิปชาร์ท (20 นาที) • วทิ ยากรสรปุ ขอ้ เสนอแนะจากผเู้ ขา้ รว่ มอบรม และนำ�เสนอ ขัน้ ตอนและเทคนคิ ในการออกแบบสือ่ และตัวอย่างการใชส้ ื่อ เพ่ือปลุกจติ ส�ำ นกึ เตรียมพร้อมรบั ภยั น้ำ�ท่วม (เอกสาร ประกอบค่มู ือฝึกอบรม ชุดท่ี 19) (15 นาท)ี 53

คู่มือฝกึ อบรมการปลุกจติ สำ�นึกเพื่อเตรียมพรอ้ มรับภยั นำ้�ทว่ ม เนอ้ื หาประกอบการฝึกอบรม 1. ความหมายของสื่อเพื่อการปลกุ จติ ส�ำ นกึ สือ่ ข้อมูลเพื่อการศกึ ษาและการส่อื สารหรือสอ่ื IEC มีทมี่ าจากค�ำ วา่ Information (ข้อมูล) Education (การศกึ ษา) และ Communication (การสื่อสาร) ซ่งึ หมายถึง การพฒั นาและการเผยแพรส่ ือ่ ท่ีมรี ูปแบบที่หลากหลาย เพ่อื ใช้รณรงค์ ส่ือสารในวงกวา้ ง เพ่อื ใหก้ ารสง่ ผ่านขอ้ มลู ความรู้ในการปลุกจติ ส�ำ นึกไปยังบุคคล กล่มุ คน และชมุ ชน เปน็ ไปอยา่ งชัดเจน และถูกต้อง 2. วัตถปุ ระสงคข์ องการใชส้ ่ือเพอื่ การปลกุ จติ ส�ำ นกึ การพัฒนาและเผยแพรส่ อื่ มีวัตถปุ ระสงค์เพื่อสนับสนุนใหก้ จิ กรรมหรืองานทที่ �ำ มีความน่าสนใจและเข้าถึงกลุ่มเปา้ หมายได้ หลากหลาย เพ่ือนำ�ไปสู่การเพ่มิ พูนองคค์ วามรู้ การตอบสนองตอ่ องคค์ วามรแู้ ละการปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมของกลมุ่ เป้า หมาย 3. ตัวอย่างสื่อเพือ่ การปลกุ จติ สำ�นกึ • โปสเตอร ์ • วิทยุ • แผน่ พบั • โทรทัศน์ • หนังสือเล่มเลก็ หรอื Booklet • นิทรรศการ • ค่มู ือประกอบการฝึกอบรม • สตกิ เกอร์ • ป้ายโฆษณาขนาดใหญ ่ • ของทร่ี ะลึก เชน่ เสื้อ หมวก เขม็ กลดั พัด กระเป๋า 4. ข้ันตอนในการออกแบบส่อื เพอื่ การปลกุ จติ ส�ำ นกึ การออกแบบสอ่ื เพอ่ื ประกอบการจัดกจิ กรรมปลกุ จิตสำ�นกึ น้นั ควรเกดิ จากการมสี ว่ นรว่ มของคนใน ชุมชนหรือจากกลุม่ เป้าหมาย เน่อื งจากคนในชุมชนจะรวู้ า่ สอื่ แบบใดท่ีตรงกับความตอ้ งการหรอื ความสนใจ อีกทั้งใช้ใหเ้ กิด ประโยชนไ์ ดจ้ ริงในชมุ ชน กระบวนการในการออกแบบสือ่ เพื่อการปลกุ จิตส�ำ นึกนน้ั สามารถแบง่ เปน็ ขั้นตอนตา่ งๆไดด้ ังนี้ • ศึกษาและระบุพฤติกรรมของกลมุ่ เปา้ หมายในการเข้าถงึ สื่อและการใชส้ อ่ื • ศึกษาว่ามีส่อื ประเภทใดบา้ งทมี่ ีอยู่ในชมุ ชน และสือ่ น้นั ยังใช้ประโยชนไ์ ด้หรือไม่ เพอื่ ปอ้ งกันการออกแบบส่ือท่ซี �้ำ ซอ้ น • กำ�หนดประเภทของส่อื ใหส้ อดคล้องกับความตอ้ งการ ความจ�ำ เป็น วฒั นธรรมและประเพณีของกล่มุ เปา้ หมาย • ก�ำ หนดข้อความทต่ี ้องการใชส้ ือ่ สารกบั กลุม่ เป้าหมาย • จดั ท�ำ ตวั อยา่ งส่ือหรือโครงร่างของส่ือ • น�ำ สอ่ื ท่อี อกแบบไปทดลองใชก้ บั กลุม่ เป้าหมายเพื่อประเมนิ ผลกอ่ นนำ�ไปใชจ้ ริง • ปรบั ปรุงส่ือและผลิตเพ่ือน�ำ ไปใช้กับกลุม่ เปา้ หมาย 5. กลยุทธ์ในการออกแบบส่ือเพ่ือการปลกุ จิตส�ำ นกึ • สื่อควรมีความดงึ ดดู ใจหรือมคี วามน่าสนใจ • ขอ้ ความท่ีต้องการสอ่ื สารตอ้ งเข้าใจได้งา่ ย • สามารถกระตุ้นใหเ้ กิดการมสี ว่ นรว่ มหรอื เชิญชวนใหเ้ ข้ามาสว่ นรว่ ม 54

คู่มอื ฝกึ อบรมการปลุกจิตสำ�นึกเพ่ือเตรียมพรอ้ มรับภยั น้�ำ ทว่ ม • เป็นท่ียอมรบั ของคนในชมุ ชนและสอดคลอ้ งกับสภาพสงั คมและวฒั นธรรม • ไม่ขดั ตอ่ ศีลธรรมและความม่ันคงของประเทศ 6. การประเมินผลเพอื่ ศึกษาผลกระทบของส่ือทม่ี ีตอ่ กล่มุ เป้าหมาย การประเมินผลเร่ืองการใชส้ อื่ ในกิจกรรมปลกุ จิตส�ำ นกึ เปน็ กระบวนการหนึ่งทจี่ ะชว่ ยท�ำ ให้ผจู้ ดั กิจกรรมสามารถประเมนิ ผลส�ำ เร็จของโครงการไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพมากยงิ่ ข้นึ หากส่อื ทอ่ี อกแบบไปมคี วามเหมาะสมทง้ั ในด้านการออกแบบ ขอ้ ความ และการนำ�ไปใช้ จะสง่ ผลให้กลมุ่ เป้าหมายมีการเปล่ยี นแปลงทางดา้ น • การเปล่ยี นแปลงดา้ นความรู้ หากขอ้ มลู ที่ส่ือสารออกไปเปน็ ประโยชน์ น่าสนใจและตรงกับความต้องการของกลมุ่ เป้า หมาย กลมุ่ เป้าหมายจะสามารถจดจ�ำ และกลา่ วถึงข้อมูลหรือวิธีการปฏิบตั นิ ้นั ๆได้อย่างถกู ต้อง • ปฏกิ ิรยิ าตอบสนองต่อภัยท่เี กดิ ขน้ึ หากขอ้ ความหรือช่องทางในการสือ่ สารไม่ไดร้ บั การตอบรบั จากกลุ่มเปา้ หมาย ควรมีการปรับปรงุ เปลยี่ นแปลงข้อมูลหรอื ช่องทางการส่อื สารใหส้ อดคล้องกบั ความต้องการของกลมุ่ เปา้ หมาย • การเปลี่ยนแปลงทางดา้ นพฤตกิ รรมของกล่มุ เป้าหมาย หากกลมุ่ เปา้ หมายไดร้ ับขอ้ มลู ท่ีถกู ตอ้ งและสอดคล้องกบั ความต้องการของตนเอง รวมกบั การตอบสนองต่อภัยทีเ่ กิดขึ้นเปน็ ไปในทางบวก อาจสง่ ผลให้พฤติกรรมดา้ นความ ตระหนกั เพือ่ เตรยี มความพรอ้ มรับภยั น�้ำ ท่วมเปลย่ี นแปลงไปในทางทดี่ ีขน้ึ ไปด้วย ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ ÊÃÒŒ §¤ÇÒÁ ¾ÄµÔ¡ÃÃÁ áÅÐ à»ÅèÂÕ ¹á»Å§ ·Ñȹ¤µÔ ¤ÇÒÁÌ٠¡ÒÃÊ×èÍÊÒà การประเมนิ ผลสอื่ เพ่อื ใชใ้ นกิจกรรมรณรงค์นนั้ ควรมีการประเมนิ ทง้ั ในชว่ งก่อนและหลงั การน�ำ สอ่ื ไปใชใ้ นแต่ละกิจกรรม เพ่อื ใหแ้ นใ่ จว่าส่ือเขา้ ถงึ กลมุ่ เปา้ หมายและเกดิ ประโยชน์ตอ่ กจิ กรรมมากท่สี ดุ หลัก 3 ประการที่ควรค�ำ นึงถงึ ในการจดั ทำ�สื่อเพื่อการปลุกจติ สำ�นึก 1. ถ่ายทอดความคดิ เห็นให้แก่ผรู้ บั สารดว้ ยขอ้ ความที่ชัดเจนเพียงข้อความเดยี ว เพราะหากมมี ากเกนิ ไปอาจสร้างความ สับสนใหแ้ กผ่ ู้รับสารได้ อยา่ งไรก็ดี หากจำ�เป็นต้องมีหลายขอ้ ความไม่ควรมีเกนิ 2-3 ข้อความ 2. ควรมีการทดลองใชส้ ่ือหรือขอ้ ความกับตวั แทนของกลุ่มเปา้ หมายก่อนเสมอ 3. สอ่ื หรอื ขอ้ ความที่แสดงออกไปควรกลา่ วถึงการแนวทางในการปฏบิ ตั ิท่ีกระตุ้นหรือสง่ เสริมใหป้ ระชาชนมสี ว่ นรว่ ม 55

คู่มือฝกึ อบรมการปลุกจติ ส�ำ นึกเพอ่ื เตรียมพร้อมรบั ภัยนำ้�ทว่ ม แนวทางการประเมนิ ผลการใช้สื่อ 1. มีความเหมาะสมกับกลุ่มเปา้ หมายหรอื ไม่ 2. มเี นอื้ หาท่ีเหมาะสมและครอบคลุมตามวตั ถปุ ระสงคท์ ่ีตอ้ งการจะส่ือสารหรือไม่ 3. มีความนา่ ดึงดูดใจมากนอ้ ยเพยี งใด 4. ผรู้ ับส่ือมคี วามเข้าใจในสอื่ มากน้อยเพียงใด 5. ส่อื กระตุ้นหรือชกั ชวนใหผ้ ู้รับสารอยากมสี ่วนร่วมในกิจกรรมมากน้อยเพียงไร ตัวอยา่ งส่ือเพ่ือใชใ้ นกจิ กรรมปลุกจติ สำ�นึก ประเภท ข้อดี ขอ้ เสีย ประเภทกจิ กรรม ของสอ่ื ทสี่ ามารถน�ำ ไปใช้ แผ่นพับ • สามาถใส่ขอ้ มลู ที่ต้องการได้มากกวา่ สอ่ื • มอี ายกุ ารใช้งานไมน่ าน • เดินรณรงค์ ประเภทอื่น เช่น โปสเตอร์ • จำ�กดั เฉพาะกลมุ่ เปา้ หมายท่อี า่ น • ตัง้ โตะ๊ หรอื บูธ • สามารถพกพาได้สะดวก หนังสอื ได้ ประชาสมั พนั ธ์ • ราคาไมส่ งู • การจดั นทิ รรศการ หนังสอื เล่ม • สามารถใสข่ ้อมูลได้มากตามความต้องการ • จำ�กัดเฉพาะกลมุ่ เปา้ หมายที่อา่ น • การฝึกอบรม สัมมนา เลก็ • สามารถพกพาไดส้ ะดวก หนังสือได้ หรือประชุม • อายุการใช้งานนาน • เนอ้ื หามากเกนิ ไปอาจจะไมไ่ ด้รบั • ตัง้ โตะ๊ หรอื บธู • ราคาไมส่ งู ความสนใจ ประชาสัมพันธ์ โปสเตอร์ • ทำ�ใหค้ นสะดุดตาและจำ�ได้ • มพี ้ืนท่ใี นการใส่ขอ้ มลู ได้น้อย • การจัดนิทรรศการ • เขา้ ถงึ กลุม่ เปา้ หมายได้จำ�นวนมาก • รปู ภาพที่ไมด่ งึ ดดู ใจจะทำ�ให้ขอ้ ความ • การรณรงคห์ รอื จดั ไม่ไดร้ บั ความสนใจไปด้วย กิจกรรมตามที่ • หาสถานท่ที ่ีเหมาะสมเพื่อตดิ ตั้งได้ สาธารณะ นิทรรศการ • เขา้ ถงึ กลมุ่ เป้าหมายไดจ้ ำ�นวนมาก ยากกว่าส่ืออนื่ ๆ • การอบรม สัมมนาหรือ • ถ้ามีข้อมลู มากเกนิ ไปจะไมไ่ ด้รับ • สามารถดึงดูดใจผู้ชมได้หากเปน็ ขอ้ มลู ท่ีมี ความสนใจ จดั ประชุม ความหลากหลายและนา่ สนใจ • ราคาสงู • การจดั นทิ รรศการในวนั วิทยุ • เขา้ ถึงกลุ่มเป้าหมายได้จำ�นวนมาก ส�ำ คัญต่างๆ • จำ�กดั เฉพาะกลุ่มเปา้ หมายท่ีมวี ทิ ยุ • ประชาสัมพันธห์ รือ • สามารถสือ่ สารขอ้ มลู ไปยงั กลมุ่ เปา้ หมายให้ โฆษณาข้อมลู ในชุมชน เข้าใจง่าย • จำ�กัดเฉพาะกลุม่ เป้าหมายทีม่ ี หรอื ในระดบั จงั หวัด โทรทศั น์ • เขา้ ถงึ กลมุ่ เปา้ หมายได้จำ�นวนมาก • ประชาสมั พนั ธ์หรือ • สามารถสือ่ สารขอ้ มูลไปยงั กลมุ่ เปา้ หมายให้ โทรทศั น์ โฆษณาตา่ งๆ เขา้ ใจง่าย • ราคาสูงและไมค่ รอบคลุมทุกพื้นที่ กจิ กรรม • สามารถส่อื สารขอ้ มลู ไปยังกลมุ่ เป้าหมายให้ • เนอ้ื หาละครตอ้ งปรับเปลยี่ นใหเ้ ป็น • จัดละครชมุ ชน นอกสถาน เข้าใจงา่ ยและสร้างความบนั เทิงให้กับ ปัจจบุ นั ตลอด • ละครเร่ไปแสดงตาม ที่ เช่น ผรู้ บั สารได้ • คา่ ใช้จ่ายในการจดั ท�ำ ละครสงู สถานทต่ี ่างๆ เชน่ วดั ละครเร่ • สามารถสอื่ สารและรบั รูป้ ฏกิ ิริยาของ โรงเรยี น ตลาด หรอื ละคร ผรู้ บั สารไดท้ ันที เปน็ ตน้ ชมุ ชน • สามารถปรบั เปล่ียนเรื่องราวใหส้ อดคล้อง กับสภาพสังคมและวัฒนธรรมของผ้รู ับสาร 56

บทที่ 4 การสร้างเครือข่าย และการจดั ทำ�แผน กิจกรรมปลุกจติ สำ�นกึ เพ่อื เตรยี มพรอ้ มรบั ภยั น้ำ�ทว่ ม • การจดั ทำ�แผนกจิ กรรมปลกุ จิตสำ�นึกเพื่อเตรียมพรอ้ มรบั ภัยนำ้�ท่วมในระดบั ชมุ ชน

คูม่ อื ฝึกอบรมการปลุกจติ ส�ำ นกึ เพอ่ื เตรียมพรอ้ มรับภัยน�ำ้ ท่วม การจดั ท�ำ แผนกจิ กรรมปลุกจติ ส�ำ นึก 4.1 เพื่อเตรยี มพร้อมรบั ภัยน�้ำ ทว่ ม ในระดับชุมชน วตั ถปุ ระสงค์ : เพอื่ ใหผ้ ู้เขา้ ฝึกอบรมสามารถ 1. นำ�กจิ กรรมปลกุ จติ ส�ำ นกึ เพื่อเตรยี มพร้อมรบั ภัยน�ำ้ ทว่ มไปจดั ท�ำ เปน็ แผนกจิ กรรมในชุมชน 2. ประสานความรว่ มมือให้มกี ารนำ�แผนกจิ กรรมในระดบั ชุมชนเข้าไปส่แู ผนกิจกรรมในระดบั ต�ำ บล อำ�เภอ หรือจงั หวดั ขอบเขตเน้อื หา 1. การจัดทำ�แผนกิจกรรมปลกุ จติ สำ�นึกเพือ่ รบั ภัยน้ำ�ทว่ มในระดบั ชมุ ชน 2. การประสานงานร่วมกับหนว่ ยงานปกครองในท้องถน่ิ หรอื จงั หวัด ระยะเวลา : 60 นาที สอ่ื และอปุ กรณ์ • กระดาษฟลปิ ชาร์ท • ปากกาเคมี • ตวั อย่างตารางแผนการจัดกิจกรรมปลุกจติ ส�ำ นกึ (เอกสารประกอบคมู่ ือฝกึ อบรม ชุดท่ี 20) การวดั และประเมินผล • ผู้เขา้ รว่ มอบรมสามารถจดั ท�ำ แผนกิจกรรมปลุกจิตส�ำ นกึ เตรยี มความพรอ้ มรบั ภยั น�ำ้ ทว่ มใน ระดบั ชุมชนของตนเองได้ • ผเู้ ขา้ รว่ มอบรมสามารถประสานงานให้แผนการจัดกิจกรรมในระดบั ชมุ ชนเขา้ เป็นสว่ นหนึง่ ของแผนกจิ กรรมในระดบั ท้องถิน่ หรอื ระดบั จงั หวดั ได้ 58

คู่มือฝกึ อบรมการปลุกจติ ส�ำ นึกเพอ่ื เตรียมพรอ้ มรบั ภยั นำ�้ ท่วม ประเดน็ ส�ำ คัญ วธิ ีการ กระบวนการฝึกอบรม ประเดน็ ส�ำ คญั ใน สือ่ /อุปกรณ์ ขน้ั ตอนที่ 1-3 ขัน้ ท่ี 1 (25 นาท)ี 1. กระดาษฟลิปชาร์ท คอื การจดั ทำ�แผน และ 2. ปากกาเคมี การประสานงานรว่ มกับ • วิทยากรใหผ้ เู้ ขา้ ร่วมอบรมแบ่งกลมุ่ ตามชุมชน พร้อมแจก 3. ตัวอย่างตาราง องคก์ รในทอ้ งถิ่น กระดาษฟลปิ ชารท์ และปากกาเคมี (5 นาที) แผนการจดั กจิ กรรม • วทิ ยากรใหผ้ เู้ ข้าร่วมอบรมระดมสมองและรว่ มกนั เขยี นแผน ปลุกจิตสำ�นกึ กจิ กรรมรณรงคเ์ พอื่ ปลกุ จิตสำ�นึกเพอื่ เตรียมความพร้อม (เอกสารประกอบ รบั ภยั น้ำ�ทว่ มในระดบั ชมุ ชน ตามตัวอย่างตารางแผนการจดั คู่มือฝกึ อบรม กจิ กรรมปลุกจติ ส�ำ นกึ (เอกสารประกอบคู่มอื ฝึกอบรม ชดุ ท่ี 20) ชุดท่ี 20) (20 นาท)ี ขน้ั ที่ 2 (20 นาที) • ผู้เข้าร่วมอบรมน�ำ เสนอแผนกจิ กรรม ไมเ่ กินกลมุ่ ละ 5 นาที ข้ันที่ 3 (15 นาท)ี • วิทยากรสรปุ และนำ�เสนอแนวทางในการประสานงานร่วมกับ องคก์ รในทอ้ งถ่ินเพื่อใหแ้ ผนกจิ กรรมดำ�เนินไปได้จรงิ 59

คมู่ อื ฝึกอบรมการปลุกจติ ส�ำ นึกเพอ่ื เตรียมพรอ้ มรบั ภยั นำ้�ทว่ ม เนอ้ื หาประกอบการฝึกอบรม องค์ประกอบของการจัดท�ำ แผนปลกุ จติ สำ�นึกเพ่ือเตรียมพรอ้ มรับภัยน้ำ�ทว่ ม การจัดกิจกรรมปลุกจติ สำ�นกึ เพื่อเตรยี มพร้อมรบั ภยั นำ้�ท่วม มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ใหป้ ระชาชนในพืน้ ทเ่ี สยี่ งภัย หรอื ประสบภยั นำ�้ ทว่ มเปน็ ประจ�ำ ทกุ ปี ได้มคี วามตืน่ ตวั และตระหนักถงึ ภยั จากน้ำ�ท่วมซงึ่ สร้างความเสียหายตอ่ ชวี ติ และทรัพยส์ ิน การจดั กิจกรรมปลุกจิตสำ�นึกนนั้ ต้องอาศยั ความร่วมมอื จากหลายฝ่ายท้งั หนว่ ยงานราชการ องค์กรเอกชน และประชาชนใน พน้ื ที่ ในการสนบั สนนุ และปฏบิ ตั กิ จิ กรรมให้เกดิ ขึ้นจรงิ องคป์ ระกอบของการจดั ท�ำ แผนกิจกรรม ประกอบดว้ ย • ประเภทกิจกรรมท่ตี ้องการจดั เช่น การฝกึ อบรม การจัดกิจกรรมประชาสมั พนั ธ์ เปน็ ตน้ • วัตถุประสงคข์ องการจดั กจิ กรรม เช่น การซ้อมแผนอพยพเพอ่ื เตรยี มความพร้อมรับภัยน�ำ้ ทว่ ม • กลุ่มเป้าหมายของแตล่ ะกจิ กรรม เช่น จดั ฝกึ อบรมใหแ้ ก่ครูในโรงเรียน • ระยะเวลาในการจัดกจิ กรรมแต่ละประเภท เช่น ระบุวนั ท่ีและเดือนที่จัดกจิ กรรมใหช้ ดั เจน • สถานทีใ่ นการจดั กจิ กรรม เช่น วดั โรงเรยี น ศาลาประชาคม • งบประมาณและผ้สู นับสนนุ งบประมาณ เช่น ขอการสนับสนุนงบประมาณจากองค์การบรหิ ารสว่ นต�ำ บล • ผรู้ ับผิดชอบโครงการ เช่น โรงเรียน ชมุ ชน • ผลการประเมนิ โครงการ เชน่ ผู้เข้ารว่ มกจิ กรรมสามารถน�ำ ความรไู้ ปเผยแพร่ต่อได้ ตัวอย่างตารางแผนกจิ กรรมของต�ำ บลท่าค้อ และตำ�บลโนนตาล จังหวัดนครพนม จากการจัดฝึกอบรมเพ่ือทดสอบการใช้คู่มือปลุกจิตสำ�นึกเพ่ือเตรียมพร้อมรับ ภัยน�ำ้ ท่วมทีจ่ ังหวัดนครพนม เมอื่ วันที่ 24-25 มิถุนายน 2553 ท่ผี ่านมา ผู้เข้าร่วมอบรมได้นำ�เสนอตัวอย่างแผนงานกิจกรรมปลุกจิตสำ�นึกเพื่อเตรียม พร้อมรับภัยน�ำ้ ทว่ มในชมุ ชน ซ่งึ กระบวนการในการออกแบบนน้ั เกดิ จากการ ปรกึ ษาหารือรว่ มกัน และส�ำ รวจความตอ้ งการของกล่มุ เป้าหมายต่างๆใน ชุมชน นอกจากน้ี ยงั เกิดการประสานงานรว่ มกันระหวา่ งชุมชนและองค์กร ท้องถนิ่ ในดา้ นการขอการสนับสนนุ การจดั กจิ กรรม 60

ภาคผนวก

ค่มู ือฝึกอบรมการปลกุ จิตส�ำ นกึ เพ่ือเตรียมพรอ้ มรับภยั น้�ำ ทว่ ม เอกสารประกอบค่มู อื ฝกึ อบรม ชดุ ท่ี 1 สไลด์ที่ 1 สไลด์ท่ี 2 สไลดท์ ี่ 3 สไลด์ที่ 4 สไลดท์ ่ี 5 สไลด์ท่ี 6 62

คู่มือฝึกอบรมการปลุกจิตส�ำ นกึ เพ่ือเตรียมพร้อมรบั ภยั น้�ำ ทว่ ม เอกสารประกอบคูม่ อื ฝกึ อบรม ชดุ ท่ี 2 สไลดท์ ี่ 1 สไลด์ท่ี 2 สไลด์ท่ี 3 สไลดท์ ี่ 4 สไลดท์ ่ี 5 สไลดท์ ่ี 6 63

คูม่ ือฝกึ อบรมการปลกุ จิตสำ�นกึ เพื่อเตรยี มพรอ้ มรับภัยนำ�้ ทว่ ม เอกสารประกอบคมู่ ือฝึกอบรม ชดุ ท่ี 2 (ต่อ) สไลด์ท่ี 7 สไลดท์ ี่ 8 สไลด์ท่ี 9 สไลด์ที่ 10 สไลด์ท่ี 11 สไลด์ท่ี 12 64

ค่มู ือฝกึ อบรมการปลกุ จติ ส�ำ นกึ เพือ่ เตรียมพร้อมรับภัยนำ้�ทว่ ม เอกสารประกอบคูม่ อื ฝกึ อบรม ชดุ ท่ี 3 สไลดท์ ี่ 1 สไลดท์ ี่ 2 เอกสารประกอบคมู่ อื ฝกึ อบรม ชดุ ที่ 4 สไลดท์ ่ี 1 สไลด์ที่ 2 สไลด์ที่ 3 สไลดท์ ่ี 4 65

ค่มู ือฝกึ อบรมการปลุกจติ สำ�นึกเพอ่ื เตรยี มพรอ้ มรับภัยนำ้�ทว่ ม เอกสารประกอบคู่มอื ฝกึ อบรม ชุดที่ 4 (ต่อ) สไลด์ท่ี 5 สไลดท์ ่ี 6 สไลดท์ ี่ 7 สไลด์ท่ี 8 สไลดท์ ่ี 9 66

คูม่ ือฝกึ อบรมการปลกุ จติ ส�ำ นึกเพอ่ื เตรยี มพร้อมรับภยั น�ำ้ ทว่ ม เอกสารประกอบค่มู อื ฝกึ อบรม ชุดที่ 5 ตวั อยา่ งระบบการแจ้งเตอื นภัยน้ำ�ท่วมล่วงหน้าของจังหวัดเชียงใหม่ เอกสารประกอบคู่มอื ฝกึ อบรม ชุดที่ 6 สไลด์ที่ 1 สไลดท์ ่ี 2 67

คมู่ อื ฝกึ อบรมการปลุกจติ ส�ำ นกึ เพ่ือเตรยี มพร้อมรับภยั น�้ำ ท่วม เอกสารประกอบคูม่ ือฝึกอบรม ชุดที่ 6 (ต่อ) สไลดท์ ี่ 3 สไลด์ท่ี 4 สไลด์ที่ 5 สไลด์ท่ี 6 สไลดท์ ่ี 7 สไลด์ท่ี 8 68

คูม่ อื ฝกึ อบรมการปลกุ จติ สำ�นกึ เพ่ือเตรยี มพรอ้ มรับภัยนำ�้ ท่วม เอกสารประกอบคู่มือฝึกอบรม ชุดที่ 7 ใบงานเหตุการณส์ มมติเรอ่ื งการแจง้ เตอื นภัยนำ้�ท่วม (กิจกรรม 1.3) เอกสารประกอบคมู่ อื ฝึกอบรม ชุดท่ี 8 สไลด์ท่ี 1 สไลด์ที่ 2 69

คูม่ อื ฝกึ อบรมการปลุกจติ สำ�นกึ เพื่อเตรียมพรอ้ มรับภยั น�ำ้ ท่วม เอกสารประกอบคู่มอื ฝกึ อบรม ชุดท่ี 8 (ต่อ) สไลด์ที่ 3 สไลด์ท่ี 4 สไลดท์ ี่ 5 สไลด์ท่ี 6 เอกสารประกอบคมู่ อื ฝึกอบรม ชุดท่ี 9 สไลดท์ ี่ 1 สไลดท์ ี่ 2 70

ค่มู ือฝกึ อบรมการปลกุ จิตส�ำ นกึ เพ่ือเตรียมพรอ้ มรบั ภยั นำ�้ ทว่ ม เอกสารประกอบคู่มือฝึกอบรม ชุดท่ี 9 (ตอ่ ) สไลด์ที่ 3 สไลดท์ ี่ 4 สไลดท์ ี่ 5 สไลดท์ ี่ 6 เอกสารประกอบคมู่ ือฝึกอบรม ชุดที่ 10 สไลดท์ ี่ 1 71

คมู่ อื ฝกึ อบรมการปลกุ จิตส�ำ นกึ เพอ่ื เตรยี มพรอ้ มรับภัยน�้ำ ทว่ ม เอกสารประกอบคมู่ ือฝึกอบรม ชุดที่ 11 สไลดท์ ี่ 1 สไลดท์ ่ี 2 สไลดท์ ่ี 3 สไลดท์ ี่ 4 สไลด์ที่ 5 สไลดท์ ี่ 6 72

คมู่ อื ฝกึ อบรมการปลกุ จิตสำ�นึกเพ่อื เตรยี มพร้อมรบั ภัยนำ้�ท่วม เอกสารประกอบค่มู ือฝึกอบรม ชุดที่ 11 (ต่อ) สไลดท์ ่ี 7 สไลด์ที่ 8 เอกสารประกอบค่มู อื ฝกึ อบรม ชุดท่ี 12 ใบงานเหตุการณ์สมมติเรื่องการแจ้งเตือนภัยนำ้�ทว่ ม (กจิ กรรม 2.1) กรมอตุ นุ ิยมวิทยา ออกประกาศเตือนภยั นำ�้ ท่วมและน�ำ้ ป่าไหลหลาก (20 กรกฎาคม 2553) เนื่องจากทมี่ ฝี นตกติดต่อกนั หลายวนั ตลอดทง้ั คืนในพ้ืนทจ่ี ังหวดั สกลนคร นครพนม กาฬสินธุ์ หนองคาย มุกดาหาร และอดุ รธานี และพบวา่ ท่จี ังหวดั นครพนม มปี ริมาณ น�ำ้ ฝนสงู กวา่ 80 มม.ตอ่ วัน กรมอุตุนยิ มวิทยาจงึ ขอประกาศแจ้งเตอื นให้ประชาชนในจังหวัดดงั กล่าว โปรดระวงั นำ�้ ทว่ มฉับพลันและน้ำ�ป่าไหลหลากในระยะ 1-2 วันนี้ด้วย 73

คมู่ อื ฝึกอบรมการปลุกจติ สำ�นึกเพ่ือเตรยี มพรอ้ มรับภยั นำ้�ทว่ ม เอกสารประกอบค่มู อื ฝกึ อบรม ชดุ ท่ี 13 วีดที ศั น์เร่อื งการเตรียมความพรอ้ มรับภัยน�้ำ ท่วมจากประเทศเวยี ดนาม เอกสารประกอบคู่มือฝกึ อบรม ชดุ ท่ี 14 ความหมายของการปลุกจติ สำ�นึก การปลกุ จติ สำ�นกึ คอื กระบวนการทีท่ ำ�ให้ประชาชนท่อี าศัยอยูพ่ ื้นท่ีแนวโน้มเสี่ยงภยั ได้ • เขา้ ใจว่าตนเองอาศัยอยูใ่ นพื้นท่ที มี่ ีความเส่ียงภยั • ตระหนักถงึ อนั ตรายทอ่ี าจจะเกิดขึน้ จากภัยต่างๆ • เขา้ ใจถึงการออกประกาศแจ้งเตือนภัย • รบั ทราบถงึ วิธีการที่เหมาะสมในการปกป้องคุม้ ครองชวี ติ กล่าวโดยสรุปคอื เปน็ กระบวนการทกี่ ล่าวถึง • วิธกี ารป้องกัน • วิธีการเตรียมความพรอ้ ม ภยั ทอี่ าจจะเกดิ ขน้ึ • วธิ กี ารลดความเสย่ี ง • วิธกี ารตอบสนอง เพ่อื ลดการสูญเสยี ชีวิตและทรัพย์สนิ 74

คมู่ อื ฝึกอบรมการปลกุ จติ สำ�นึกเพือ่ เตรยี มพร้อมรบั ภัยนำ�้ ท่วม เอกสารประกอบคมู่ ือฝกึ อบรม ชุดท่ี 14 การปลุกจิตสำ�นกึ เพ่ือเตรียมพรอ้ มรบั ภัยนำ�้ ทว่ ม กระบวนการทที่ �ำ ให้ประชาชนทอ่ี าศยั อยู่ในพน้ื ทีเ่ สีย่ งภยั น้ำ�ท่วมไดร้ บั การกระตนุ้ หรือรับรู้เกย่ี วกับอนั ตราย จากน้�ำ ท่วม โดยผา่ นกระบวนการเรยี นรู้ การแจ้งเตอื นภยั เกีย่ วกบั นำ้�ทว่ ม และการเตรียมความพรอ้ มรับ ภยั นำ้�ทว่ มท่ีอาจจะเกดิ ขนึ้ ไดต้ ลอดเวลา วัตถปุ ระสงคข์ องการปลกุ จิตส�ำ นกึ เพ่ือเตรียมพรอ้ มรบั ภยั นำ้�ท่วม • เพ่อื เพ่ิมพูนความรเู้ รอ่ื งน้ำ�ทว่ ม ประเภทของนำ้�ทว่ ม และผลกระทบจากน�ำ้ ท่วมให้แก่ประชาชนไดร้ ับทราบ • เพ่ือพัฒนาองค์ความรดู้ า้ นการเตรยี มความพรอ้ มรับภัยน้ำ�ท่วมในระดบั ครัวเรอื นหรอื ชมุ ชน เพ่ือใหส้ ามารถดำ�เนินการได้ ดว้ ยตนเอง • เพื่อแจง้ ใหป้ ระชาชนได้ทราบเก่ยี วกบั ระบบการแจ้งเตือนภัยนำ้�ท่วมลว่ งหน้า และวิธกี ารสือ่ สารที่หลากหลายในการรับ สญั ญาณแจง้ เตือนและขอ้ มลู น้�ำ ทว่ ม • เพื่อเผยแพร่ขอ้ มลู ข่าวสารเกยี่ วกบั การเตรียมความพรอ้ มรบั ภยั นำ้�ทว่ ม ในระดบั จงั หวดั และอำ�เภอ รวมถึงการระดมความ ช่วยเหลือในการจดั กิจกรรมรับมือกับภัยน�ำ้ ทว่ ม เอกสารประกอบคูม่ ือฝกึ อบรม ชดุ ที่ 15 กระบวนการปลกุ จิตส�ำ นึก ขั้นตอนการเตรียมการในการจัดกจิ กรรมปลกุ จิตส�ำ นึก - ศกึ ษาและระบพุ ฤตกิ รรมของคนในชุมชน ท้ังในชว่ งก่อน ระหว่าง และหลังการเกดิ ภยั - กำ�หนดกลมุ่ เป้าหมายให้ชัดเจน เช่น ใครคอื กล่มุ เปราะบาง ใครคอื กล่มุ เปา้ หมายหลักและกลุ่มเป้าหมายรอง - ศึกษาพฤตกิ รรมการรบั สารของกลุ่มเปา้ หมาย เชน่ เขา้ ถงึ ขอ้ มลู ข่าวสารดว้ ยวธิ กี ารใด - ออกแบบส่ือและขอ้ ความเพือ่ ใชใ้ นกจิ กรรม โดยอาศัยการมีสว่ นรว่ มของคนในชุมชนเป็นหลกั อีกท้ังสือ่ ยงั ควร สอดคล้องกบั ประเพณี วฒั นธรรมและการดำ�เนนิ ชีวติ ของคนในชุมชนดว้ ยเช่นกัน - ระบผุ ู้รบั ผดิ ชอบกิจกรรม - กำ�หนดระยะเวลาในการดำ�เนนิ กจิ กรรม เช่น ช่วงกอ่ น ระหวา่ งหรือหลงั การเกดิ น�ำ้ ท่วม 75

คู่มอื ฝกึ อบรมการปลุกจติ ส�ำ นกึ เพ่ือเตรยี มพรอ้ มรบั ภัยนำ�้ ท่วม เอกสารประกอบค่มู อื ฝึกอบรม ชุดท่ี 15 (ตอ่ ) ปัจจยั ส�ำ คญั ในการออกแบบกจิ กรรมปลุกจิตส�ำ นึก • กลุ่มเป้าหมาย เชน่ ประชาชนท่ัวไป นักเรียน หรอื ผ้นู ำ�ชุมชน เป็นต้น • ข้อความในการสอ่ื สาร เช่น ขอ้ มูลเรอื่ งภยั จากน�้ำ ทว่ ม ขอ้ มูลเร่ืองการเตรยี มความพรอ้ ม ฯลฯ • วิธกี ารหรอื ช่องทางในการสอื่ สาร เช่น วทิ ยุชุมชน หนังสอื พิมพท์ ้องถนิ่ ปา้ ยประชาสัมพันธ์ เป็นตน้ • ระยะเวลาในการจัดกิจกรรม เชน่ กอ่ น ระหวา่ ง หรอื หลงั ฤดูมรสุม • ผู้รบั ผิดชอบโครงการ เชน่ อบต. โรงเรยี น คณะกรรมการหมูบ่ ้าน • งบประมาณ เช่น ขอการสนับสนุนจาก อบต. หรือหนว่ ยงานเอกชนในพ้นื ท่ี เอกสารประกอบคู่มือฝึกอบรม ชุดท่ี 16 ตารางกิจกรรมปลุกจิตสำ�นึกเพือ่ เตรียมความพรอ้ มรบั ภัยนำ�้ ทว่ ม ชอ่ื กิจกรรม ........................................................................................ กลมุ่ เป้า วตั ถุ ขอ้ ความใน วธิ ีการ ระยะเวลา สถานที่ งบประมาณ ผรู้ ับผดิ ชอบ หมาย ประสงค์ การรณรงค์ สือ่ สาร ในการจัด (บาท) กจิ กรรม ตัวอย่างกจิ กรรมปลุกจิตสำ�นกึ ของจังหวัดนครพนม ชอื่ กจิ กรรม .........รายการวิทยนุ ้ำ�ทว่ มภัยใกลต้ วั .................. กลมุ่ เปา้ วัตถุ ขอ้ ความใน วิธกี าร ระยะเวลา งบ ผรู้ บั ผิด หมาย ประสงค์ การรณรงค์ สอื่ สาร ชอบ ในการจัด สถานท่ี ประมาณ ผ้ใู หญ่บา้ น กิจกรรม (บาท) ม.12 ตำ�บล ประชาชนใน เพื่อให้ความรเู้ กีย่ ว ข้อมลู ระบบ ส่อื วิทยชุ มุ ชน 3 เดือน สถานวี ิทยุชุมชน 5,000 โนนตาล พ้ืนที่ หมู่ 12 กบั การแจง้ เตือนภัย การแจ้งเตอื น (ก.ค.-ก.ย.) ต.โนนตาล ให้ประชาชนในพ้นื ท่ี ภัยน�้ำ ทว่ มและ ทกุ วนั เสาร-์ อ.ทา่ อุเทน เสี่ยงภัยน�ำ้ ทว่ มได้ การปฏิบตั ิตน อาทติ ย์ จ.นครพนม รบั ทราบ ทถ่ี ูกตอ้ ง วนั ละ ครึ่งช่ัวโมง 76

คู่มอื ฝกึ อบรมการปลุกจิตส�ำ นึกเพอ่ื เตรยี มพรอ้ มรบั ภยั น�้ำ ท่วม เอกสารประกอบคู่มอื ฝกึ อบรม ชดุ ที่ 17 สไลดท์ ่ี 1 สไลดท์ ี่ 2 สไลด์ท่ี 3 สไลดท์ ่ี 4 สไลดท์ ่ี 5 สไลดท์ ี่ 6 77

ค่มู ือฝกึ อบรมการปลกุ จิตส�ำ นกึ เพ่ือเตรยี มพร้อมรบั ภยั น�ำ้ ทว่ ม เอกสารประกอบคมู่ ือฝกึ อบรม ชุดท่ี 18 ความหมายของสือ่ เพอื่ การปลุกจติ ส�ำ นกึ (IEC Material) สอื่ ขอ้ มูลเพอื่ การศึกษาและการสอ่ื สาร หรือส่ือ IEC มีที่มาจากค�ำ ว่า • Information (ข้อมลู ) • Education (การศกึ ษา) • Communication (การส่ือสาร) ซ่งึ หมายถงึ การพฒั นาและการเผยแพร่สอื่ ที่มีความหลากหลาย ท้ังโปสเตอร์ แผน่ พบั ปา้ ยผา้ และหนังสอื เป็นตน้ เพอื่ เป็นเครอ่ื งมือในการส่งผ่านข้อมลู ทีใ่ ชใ้ นการรณรงคป์ ลุกจิตส�ำ นกึ ไปยงั บุคคล กลุม่ และชุมชนเป็นไปอย่างชัดเจน และถูกตอ้ ง สไลด์ที่ 1 สไลด์ท่ี 2 สไลดท์ ่ี 3 สไลด์ที่ 4 78

 

ค่มู ือฝกึ อบรมการปลกุ จิตสำ�นึกเพ่อื เตรียมพรอ้ มรบั ภยั น้ำ�ทว่ ม เอกสารประกอบคมู่ อื ฝกึ อบรม ชุดที่ 18 (ต่อ) สไลดท์ ่ี 5 สไลดท์ ่ี 6 สไลดท์ ่ี 7 เอกสารประกอบคู่มือฝึกอบรม ชุดที่ 19 สไลดท์ ี่ 1 สไลดท์ ี่ 2 79

คมู่ ือฝกึ อบรมการปลุกจติ ส�ำ นึกเพ่อื เตรยี มพร้อมรบั ภยั น�้ำ ทว่ ม เอกสารประกอบคมู่ ือฝกึ อบรม ชุดท่ี 19 (ตอ่ ) สไลดท์ ่ี 3 สไลด์ท่ี 4 สไลด์ที่ 5 สไลด์ที่ 6 สไลดท์ ี่ 7 80

คู่มือฝกึ อบรมการปลกุ จิตสำ�นกึ เพอ่ื เตรยี มพร้อมรับภยั นำ�้ ทว่ ม เอกสารประกอบคูม่ อื ฝกึ อบรม ชุดที่ 20 ตารางการจดั ท�ำ แผนกิจกรรมปลุกจติ ส�ำ นกึ เพอ่ื ปอ้ งกนั ภยั นำ�้ ท่วมของต�ำ บล........ ล�ำ ดับท่ี กิจกรรม วัตถุ กลุม่ ว/ด/ป สถานที่ งบประมาณ ผู้รบั ผดิ ชอบ การประเมินผล ประสงค์ เปา้ หมาย ท่ีจดั (บาท) และ โครงการ กจิ กรรม ผูส้ นับสนุน ตัวอยา่ งตารางการจดั ท�ำ แผนกจิ กรรมปลกุ จิตส�ำ นึก เพื่อปอ้ งกนั ภัยนำ�้ ทว่ มของตำ�บล....ก.... ลำ�ดบั กจิ กรรม วัตถุ กลุ่ม ว/ด/ป สถานที่ งบประมาณ ผ้รู บั ผิดชอบ การประเมนิ ผล ท่ี ประสงค์ เป้าหมาย ทจ่ี ดั (บาท) และ โครงการ กจิ กรรม ผู้สนับสนุน 1 วัน 1 เดินรณรงค์ เพอ่ื รณรงค์ให้ ประชาชน หน้า 5,000 สนบั สนนุ อบต.ก ประชาชนกลุ่ม 1 วนั คนตระหนกั ท่ัวไปในเขต อบต.ก งบประมาณโดย เป้าหมายให้ ถึงภัยจากนำ้� อบต.ก และ อบต. ก ความสนใจและมี ทว่ ม พื้นทใ่ี กล้ การซักถามขอ้ มลู เคียง 2 แขง่ ขัน เพ่ือสร้าง นกั เรียน โรงเรียน 3,000สนบั สนุน โรงเรยี น นกั เรยี นใหค้ วาม บ้าน ก งบประมาณโดย บา้ น ก สนใจและผล ประกวด ความ โรงเรยี น งานที่ได้น�ำ ไป อบต.ก ประชาสมั พันธ์ วาดภาพ ตระหนกั บ้าน ก และ ในพื้นที่ เพอ่ื ปลกุ เรอ่ื งภยั จาก โรงเรียนใกล้ จติ ส�ำ นกึ น้ำ�ท่วมใน เคียง และ เรื่องภัยจาก โรงเรียน ผู้ปกครอง น�ำ้ ท่วม 81

คู่มอื ฝึกอบรมการปลกุ จิตสำ�นกึ เพอ่ื เตรยี มพร้อมรบั ภยั นำ�้ ท่วม เอกสารประกอบค่มู ือฝึกอบรมเพม่ิ เตมิ รายชือ่ เอกสารเผยแพร่เกย่ี วกับน้ำ�ทว่ มและการเตรยี มความพรอ้ มรับภัยพิบัติ ลำ�ดบั หัวเรื่อง ประเภทของส่ือ องค์กรหรอื หน่วยงานท่ผี ลติ สถานทต่ี ิดตอ่ ที่ 1 น้ำ�ทว่ ม ภยั ธรรมชาติ คูม่ อื ขนาด A5 ศูนยเ์ ตรียมความพร้อม ศนู ยเ์ ตรียมความพรอ้ มป้องกันภัยพิบัติแห่ง ใกลต้ วั ป้องกันภยั พบิ ัตแิ หง่ เอเชยี เอเชยี (ADPC) เลขที่ 979/66-70 ชัน้ 24 (ADPC) อาคาร SM Tower ถนนพหลโยธนิ แขวง สามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศพั ท์: 02-2910681-92 2 หนงั สอื ประกอบการ หนังสอื คมู่ อื เวบ็ ไซต์: www.adpc.net โครงการความร่วมมือทาง ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ เรยี นรูก้ ารป้องกันภยั ขนาด A4 วชิ าการดา้ นการพัฒนา พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร ถนน พิบตั ิทางธรรมชาติ เรือ่ ง ประสิทธิภาพการบรหิ ารภัย ราชด�ำ เนินนอก เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 อทุ กภัย ชน้ั ประถม พิบัตขิ องประเทศไทยระหวา่ ง โทรศัพท์ 02-2885511-6 ศกึ ษาและมธั ยมศึกษา สำ�นกั งานคณะกรรมการการ เว็บไซต์: www.obec.go.th ศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน กระทรวง ศกึ ษาธิการและ Japan International Coopera- 3 ชุดโปสเตอร์ tion Agency: JICA) โปสเตอรเ์ ผยแพร่ กองสขุ ศึกษา กรมสนับสนุน กองสขุ ศกึ ษา กรมสนับสนุนบรกิ ารสุขภาพ • ขอ้ แนะนำ�เพ่ือปอ้ งกัน ความรู้ ขนาด A4 บรกิ ารสุขภาพ กระทรวง กระทรวงสาธารณสุข อาคาร 4 ช้นั 5 และ โรคและภยั ต่อสขุ ภาพ สาธารณสขุ อาคาร6 ชั้น 5 ตกึ ส�ำ นกั งานปลัดกระทรวง • มือสะอาดปราศจาก สาธารณสขุ กองสขุ ศึกษา กรมสนับสนนุ โรค บรกิ ารสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสขุ ถนน • โรคไข้หวดั ใหญ่ ติวานนท์ อำ�เภอเมอื ง จงั หวดั นนทบรุ ี • โรคอุจจาระรว่ ง 11000 • โรคปอดบวม โทรศัพท:์ ฝา่ ยบรหิ ารท่วั ไป • โรคไข้ฉี่หนู 0-2590-1666, 0-2590-1667 • โรคตาแดง กล่มุ พฒั นาวชิ าการสุขศกึ ษาและพฤติกรรม • โรคนำ้�กดั เทา้ สุขภาพ 0-2591-1613, 0-2590-1619 • การรักษาบาดแผล กลมุ่ พฒั นาเทคโนโลยกี ารสอ่ื สารและ • อหิวาตกโรค การรณรงค์ด้านสขุ ภาพ 0-2590-1612, 0-2590-1617 กลมุ่ สนบั สนนุ การดำ�เนินงานสขุ ศึกษา 0-2590-1616, 0-2590-1625 เวบ็ ไซต์: www.thaihed.com 82

คมู่ ือฝกึ อบรมการปลุกจิตส�ำ นึกเพอ่ื เตรยี มพร้อมรบั ภัยนำ้�ทว่ ม รายชอื่ เอกสารเผยแพร่เกย่ี วกบั นำ้�ทว่ มและการเตรยี มความพร้อมรับภัยพิบตั ิ (ตอ่ ) ล�ำ ดบั หวั เร่ือง ประเภทของส่ือ องคก์ รหรอื หนว่ ยงานที่ผลติ สถานทีต่ ดิ ตอ่ ท่ี 4 ชดุ โปสเตอร์ โปสเตอร์เผยแพร่ เวบ็ ไซต์ศูนย์อทุ กวทิ ยาและ ศนู ยอ์ ุทกวิทยาและบริหารนำ้�ภาคเหนือ • เตือนภยั น�ำ้ ท่วมเมือง ความรู้ ขนาด A4 บริหารนำ้�ภาคเหนอื ตอนบน ตอนบน เลขท่ี 27/30 ถนนทุ่งโฮเต็ล ล�ำ พนู กรมชลประทาน (สำ�นักชลประทานที่ 1) ต.วดั เกตุ อ.เมอื ง • เตอื นภยั น�้ำ ทว่ มเมือง จ.เชียงใหม่ 50000 นา่ น โทรศัพท์: 053-248925, • เตอื นภยั น�้ำ ท่วมเมือง 053-262683 แพร่ เวบ็ ไซต์: http://www.hydro-1.net • เตือนภัยน�ำ้ ท่วมเมือง เชยี งใหม่ • เตอื นภยั น�้ำ ท่วมลำ�ปาง มลู นธิ ิเพอ่ื นไรพ้ รมแดน มูลนธิ เิ พอ่ื นไรพ้ รมแดน ตู้ปณ.180 5 หมีโหน่งหนนี �ำ้ ท่วม หนังสือนทิ าน ขนาด A4 และองค์การชว่ ยเหลอื เด็ก มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ อ.เมอื ง (Save the Children) จ.เชยี งใหม่ 50202 โทรศัพท์ 053-805-298 โทรสาร 053-805-298 เว็บไซต์: http://www.friends-without- borders.org องคก์ ารช่วยเหลอื เด็กแห่งสวีเดน (Save the Children Sweden) 518/5 ถนน เพลินจติ ปทมุ วนั กรงุ เทพฯ 10330 โทรศพั ท:์ 02-6841046-7 โทรสาร: 02-6841048 เวบ็ ไซต์: http://seap.savethechildren. se 6 คมู่ ือปฏบิ ตั ิงานอาสา คมู่ ือ ขนาด A4 สำ�นกั สง่ เสรมิ การปอ้ งกัน สำ�นักสง่ เสรมิ การป้องกันสาธารณภยั สมคั รเตอื นภยั “มิสเตอร์ สาธารณภยั กรมการปอ้ งกนั กรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั เตอื นภัย” ในพืน้ ท่ีเสี่ยง และบรรเทาสาธารณภยั กระทรวงมหาดไทย 3/12 ถนนอทู่ องนอก อุทกภยั น�ำ้ ป่าไหลหลาก กระทรวงมหาดไทย เขตดุสติ กรงุ เทพฯ 10300 และดินถลม่ โทรศัพท์: 02-6373381 เวบ็ ไซต์: www.disaster.go.th 7 แผนแมบ่ ทการปอ้ งกนั เอกสารเผยแพร่ สำ�นกั นโยบายป้องกัน สำ�นักนโยบายป้องกันและบรรเทา และให้ความช่วยเหลอื ผู้ ขนาด A4 และบรรเทาสาธารณภยั สาธารณภยั กรมปอ้ งกนั และบรรเทา ประสบภัยจากอทุ กภัย กรมปอ้ งกันและบรรเทา สาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย 3/12 ถนน วาตภัยและโคลนถลม่ สาธารณภัย กระทรวง อู่ทองนอก เขตดุสติ กรงุ เทพฯ 10300 (ระยะ 5 ปี) มหาดไทย โทรศัพท์: 02-6373312 โทรสาร: 02-6373300 เวบ็ ไซต:์ www.disaster.go.th 83

คู่มอื ฝึกอบรมการปลุกจติ ส�ำ นกึ เพื่อเตรยี มพร้อมรบั ภยั น้�ำ ทว่ ม รายชอื่ เอกสารเผยแพรเ่ กี่ยวกบั น้ำ�ท่วมและการเตรยี มความพร้อมรบั ภัยพบิ ัติ (ตอ่ ) ล�ำ ดบั หวั เรอ่ื ง ประเภทของสือ่ องคก์ รหรือหน่วยงานทีผ่ ลติ สถานทีต่ ิดตอ่ ท่ี 8 คมู่ ือประชาชนในการ คู่มือ ขนาดพเิ ศษ สำ�นกั นโยบายปอ้ งกัน สำ�นักนโยบายปอ้ งกันและบรรเทา เตรยี มตวั ให้รอด และบรรเทาสาธารณภยั สาธารณภยั กรมป้องกนั และบรรเทา ปลอดภยั พิบัติ กรมป้องกนั และบรรเทา สาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย 3/12 ถนน สาธารณภยั กระทรวง อทู่ องนอก เขตดุสติ กรุงเทพฯ 10300 9 ค่มู อื ประชาชนในการ มหาดไทย โทรศัพท:์ 02-6373312 โทรสาร: 02-6373300 คูม่ อื ขนาด A4 สำ�นักสง่ เสรมิ การปอ้ งกนั เวบ็ ไซต:์ www.disaster.go.th สำ�นักสง่ เสริมการปอ้ งกันสาธารณภัย จดั การความเสย่ี งจาก สาธารณภยั กรมการปอ้ งกัน กรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ภัยพิบัตโิ ดยอาศยั ชมุ ชน และบรรเทาสาธารณภยั กระทรวงมหาดไทย 3/12 ถนนอทู่ องนอก เปน็ ฐาน:การจัดทำ�แผน กระทรวงมหาดไทย เขตดุสติ กรุงเทพฯ 10300 ป้องกนั และบรรเทา โทรศพั ท:์ 02-6373381 สาธารณภัยของชุมชน เว็บไซต:์ www.disaster.go.th 10 Training manual on คมู่ อื ขนาด A4 องคก์ ารชว่ ยเหลอื เดก็ องคก์ ารชว่ ยเหลือเดก็ แห่งสวเี ดน (Save Child-Led Disaster (Save the Children) the Children Sweden) 518/5 ถนน Risk Reduction in เพลินจิต ปทมุ วัน กรงุ เทพฯ 10330 Schools and Com- โทรศัพท:์ 02-6841046-7 munities โทรสาร: 02-6841048 เว็บไซต์: http://seap.savethechildren.se 11 The Alert Rabbit/ หนงั สอื นทิ าน องคก์ ารช่วยเหลอื เดก็ องคก์ ารชว่ ยเหลอื เดก็ แหง่ สวเี ดน (Save กระต่ายตืน่ ตวั เกมส์และสมดุ (Save the Children) the Children Sweden) 518/5 ถนน ภาพระบายสี เพลนิ จติ ปทุมวนั กรงุ เทพฯ 10330 โทรศพั ท์: 02-6841046-7 โทรสาร: 02-6841048 เว็บไซต:์ 12 การดำ�เนนิ งาน http://seap.savethechildren.se เอกสารเผยแพร่ กลมุ่ งานรณรงค์ดา้ นสุขภาพ กองสุขศึกษา กรมสนับสนนุ บริการสุขภาพ สุขศกึ ษา:กรณีเกดิ ความรทู้ วั่ ไป กองสุขศึกษา กรมสนับสนนุ กระทรวงสาธารณสุข อาคาร 4 ช้ัน 5 และ สาธารณภยั บทเรียน ขนาด A5 บริการสุขภาพ กระทรวง อาคาร6 ชน้ั 5 ตึกส�ำ นกั งานปลดั กระทรวง จากสถานการณอ์ ทุ กภัย สาธารณสขุ สาธารณสุข กองสขุ ศกึ ษา กรมสนับสนนุ ปี 2549 บริการสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสุข ถนน ติวานนท์ อ�ำ เภอเมือง จงั หวดั นนทบุรี 11000 โทรศัพท์: 02590-1612, 02590-1617 เว็บไซต์: www.thaihed.com 84

คู่มอื ฝกึ อบรมการปลกุ จติ ส�ำ นกึ เพอื่ เตรียมพร้อมรับภยั น้�ำ ท่วม รายชอ่ื เอกสารเผยแพรเ่ กีย่ วกับนำ้�ทว่ มและการเตรียมความพร้อมรับภัยพิบตั ิ (ตอ่ ) ลำ�ดบั หัวเรื่อง ประเภทของสื่อ องค์กรหรอื หนว่ ยงานที่ผลิต สถานทต่ี ดิ ตอ่ ท่ี 13 ค�ำ แนะนำ�การปอ้ งกนั โปสเตอร์เผยแพร่ กองสุขศึกษา กรมสนบั สนนุ กองสุขศกึ ษา กรมสนับสนนุ บริการสขุ ภาพ โรคหลังภัยน�ำ้ ทว่ ม ความรู้ ขนาด A4 บริการสขุ ภาพ กระทรวง กระทรวงสาธารณสขุ อาคาร 4 ชน้ั 5 และ สาธารณสุข อาคาร6 ชน้ั 5 ตึกส�ำ นกั งานปลัดกระทรวง สาธารณสุข กองสุขศกึ ษา กรมสนบั สนนุ บริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ถนน ตวิ านนท์ อำ�เภอเมอื ง จังหวัดนนทบุรี 11000 โทรศพั ท์: 02590-1612, 02590-1617 เวบ็ ไซต:์ www.thaihed.com 14 สปอตวิทยุ การป้องกัน CD-Rom สปอต กองสขุ ศกึ ษา กรมสนับสนุน กองสุขศกึ ษา กรมสนบั สนนุ บริการสขุ ภาพ โรคหลงั ภัยน้�ำ ท่วม วทิ ยุ บริการสุขภาพ กระทรวง กระทรวงสาธารณสุข อาคาร 4 ชน้ั 5 และ สาธารณสขุ อาคาร6 ชนั้ 5 ตกึ ส�ำ นกั งานปลดั กระทรวง สาธารณสขุ กองสุขศึกษา กรมสนบั สนุน บริการสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสขุ ถนน ติวานนท์ อำ�เภอเมอื ง จงั หวดั นนทบรุ ี 11000 โทรศพั ท์: 02590-1666-7 15 สารคดวี ิทยุ การปอ้ งกัน CD-Rom เวบ็ ไซต:์ www.thaihed.com กองสขุ ศึกษา กรมสนับสนุน กองสขุ ศกึ ษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โรคหลังภัยน้�ำ ท่วม สารคดวี ิทยุ บรกิ ารสขุ ภาพ กระทรวง กระทรวงสาธารณสขุ อาคาร 4 ชนั้ 5 และ สาธารณสุข อาคาร6 ชั้น 5 ตึกส�ำ นกั งานปลัดกระทรวง สาธารณสุข กองสุขศึกษา กรมสนับสนุน บริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ถนน ติวานนท์ อำ�เภอเมือง จงั หวดั นนทบรุ ี 11000 โทรศพั ท์: 02590-1666-7 เวบ็ ไซต:์ www.thaihed.com 16 Training manual on CD-Rom องค์การช่วยเหลือเด็ก องค์การช่วยเหลอื เด็กแห่งสวเี ดน (Save Child-Led Disaster (Save the Children) the Children Sweden) 518/5 ถนน Risk Reduction in เพลนิ จิต ปทุมวนั กรงุ เทพฯ 10330 Schools and Com- โทรศัพท:์ 02-6841046-7 munities โทรสาร: 02-6841048 เว็บไซต:์ http://seap.savethechildren.se 85

คมู่ อื ฝึกอบรมการปลกุ จติ สำ�นกึ เพือ่ เตรียมพรอ้ มรบั ภัยน้ำ�ทว่ ม รายช่ือเอกสารเผยแพร่เกีย่ วกับน้ำ�ท่วมและการเตรียมความพร้อมรับภัยพบิ ัติ (ต่อ) ล�ำ ดับ หัวเรื่อง ประเภทของ องค์กรหรือหนว่ ย สถานทตี่ ิดต่อ ที่ สอ่ื งานท่ีผลิต 17 ส่ือการเรียนรู้ CD-Rom โครงการพฒั นาศักยภาพ กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั E-Learning เรอื่ งภัย ในการจัดการภยั พบิ ตั ขิ อง กระทรวงมหาดไทย 3/12 ถนนอูท่ องนอก ธรรมชาติ ประเทศไทยตามความรว่ ม เขตดุสิต กรงุ เทพฯ 10300 มอื ทางวชิ าการระหว่าง เว็บไซต:์ www.disaster.go.th กรมปอ้ งกันและบรรเทา สาธารณภัยและ Japan International Coopera- tion Agency: JICA) โดย คณะท�ำ งานท่ี 5 ด้านการ ฝกึ อบรม 18 การเตรยี มตวั และปฏบิ ตั ิ ค่มู ือ ขนาด A5 กรมป้องกนั และบรรเทา กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย ตนเมอ่ื เกดิ อุทกภยั สาธารณภยั กระทรวง กระทรวงมหาดไทย 3/12 ถนนอทู่ องนอก วาตภยั และโคลนถล่ม มหาดไทย เขตดสุ ิต กรุงเทพฯ 10300 เว็บไซต:์ www.disaster.go.th 86

ค่มู อื ฝกึ อบรมการปลกุ จติ ส�ำ นึกเพือ่ เตรยี มพรอ้ มรับภัยน้ำ�ท่วม ตารางคำ�ศัพทท์ ี่เกย่ี วข้องกับภยั พิบัติ คำ�ศัพท์ คำ�จ�ำ กัดความ ความเสี่ยง หมายถึง โอกาสและความเป็นไปได้ทภ่ี ัยพบิ ตั จิ ะกอ่ ใหเ้ กิดผลกระทบในทางลบ ตลอดจนความ Risk สูญเสยี และอนั ตรายต่อชวี ิต ทรัพยส์ ิน สงั คม เศรษฐกจิ และสง่ิ แวดล้อม โดยพจิ ารณาและ ประเมินความเปน็ ไปไดจ้ ากลกั ษณะของภยั และความลอ่ แหลมของสภาพพืน้ ท่ี ผ้คู น ทรพั ย์สนิ ความล่อแหลม และส่ิงแวดลอ้ ม หมายถงึ สภาพและลักษณะทางกายภาพ ปจั จัยและกระบวนการต่างๆ ทางสังคม Vulnerability เศรษฐกจิ และส่ิงแวดล้อม ซึ่งบง่ ชอี้ นั ตรายและมผี ลทำ�ใหช้ มุ ชนมคี วามล่อแหลม เปราะบาง อ่อนแอ และไปเพิม่ โอกาสซง่ึ ท�ำ ให้เกิดความเสย่ี งต่อการเกดิ ภยั พบิ ัตแิ ละการได้รบั ผลกระทบ ตอ่ ภยั พิบัตมิ ากขึ้น สภาพและปัจจยั ตา่ งๆ เหล่านีย้ ังเปน็ ขอ้ จำ�กดั ซง่ึ บ่ันทอนความสามารถของ การประเมนิ ความเสยี่ ง ชมุ ชน ในการเตรียมรับมือตอ่ ภยั พบิ ตั ิและผลกระทบทจี่ ะเกิดขึ้น หมายถึง วธิ กี ารหรอื กระบวนการในการระบุลกั ษณะรปู แบบ ขนาดและความรุนแรงของความ Risk Assessment เสี่ยง โดยการวเิ คราะหภ์ ยั และความลอ่ แหลมเพ่ือประเมนิ โอกาสหรอื ความเป็นไปไดท้ ีจ่ ะเกดิ ภยั พิบตั ิและผลกระทบในทางลบจากภัยพิบตั ิ โดยการปอ้ งกนั การควบคมุ และการเตรียมความ ขีดความสามารถ พรอ้ มภายใตก้ รอบแนวคดิ ของการพัฒนาทีย่ ่งั ยืน หมายถึง ความสามารถ ทักษะและทรัพยากรทม่ี ใี นชุมชน สงั คม และองค์กรต่างๆ ซงึ่ สามารถ Capacity พัฒนาเพือ่ ใช้เตรยี มการในการปอ้ งกนั การลด การหลีกเลี่ยงและการจดั การความเสยี่ งจากภยั พบิ ตั หิ รือผลกระทบทางลบท่ีอาจเกิดขน้ึ ขดี ความสามารถยังหมายรวมถึง ความสามารถในการ ฟืน้ ฟใู หก้ ลับคนื สู่สภาพเดิมหรือดีกว่าเดิมหลงั จากเกดิ ภัยพบิ ตั ิ ขดี ความสามารถจะเช่ือมโยงกับ การตระหนกั รบั รูข้ องชมุ ชนท่มี ตี อ่ ความเสย่ี ง การสรา้ งขีดความสามารถ หมายถงึ ความพยายามท่มี ุง่ เน้นการพัฒนาทกั ษะของคนในชมุ ชน หรือการพฒั นาโครงสรา้ ง Capacity Building ทางสังคมทีจ่ �ำ เป็นภายในชมุ ชนนนั้ ๆ เพอ่ื ลดระดบั ของความเส่ยี ง ขดี ความสามารถในการ หมายถงึ เทคนคิ และวิธกี ารทีช่ ุมชนเตรยี มพร้อมเพ่ือรบั มือกับสภาวการณ์ลอ่ แหลม ซึ่งอาจน�ำ ไป สกู่ ารเกิดภัยพบิ ตั ิ โดยใช้บุคคล ทรัพยากร ทักษะและก�ำ ลงั ความสามารถทมี่ ีในชมุ ชน รบั มือกบั ภยั พิบัติ Coping Capacity หมายถงึ มาตรการและกจิ กรรมที่ดำ�เนินการล่วงหน้ากอ่ นเกดิ ภัยเพอื่ เตรียมความพร้อมการ การเตรียมความพรอ้ ม จดั การในสถานการณฉ์ กุ เฉนิ เพ่ือให้สามารถรบั มือกับผลกระทบจากภยั พบิ ตั ไิ ดอ้ ยา่ งทนั ท่วงที Preparedness และมีประสิทธภิ าพ การจดั การความเสี่ยง หมายถงึ กระบวนการบรหิ ารจดั การที่เป็นระบบครบวงจร คอื กระบวนการบริหารปัจจัย จากภยั พิบตั ิ ควบคุมทรัพยากร กิจกรรมและกระบวนการในการด�ำ เนนิ การตา่ งๆ ในชมุ ชน โดยลดสาเหตุ Disaster Risk ของแตล่ ะโอกาสท่ชี ุมชนจะเกดิ ความเสียหาย เพื่อใหผ้ ลกระทบและระดับความเสียหายอยู่ใน Management ระดับทชี่ ุมชนรับมือได้ กระบวนการในจดั การความเสยี่ งจากภัยพบิ ัติ จะเรม่ิ จากการประเมิน และวเิ คราะห์ความเส่ยี งเพ่ือหาแนวทางปอ้ งกันและลดผลกระทบรวมทั้งเตรยี มความพร้อมก่อน การเกิดภยั การจดั การในภาวะฉุกเฉินขณะเกดิ ภยั ตลอดจนการติดตาม ตรวจสอบและการ ประเมนิ ผล รวมทั้งการเปล่ียนแปลงวิธกี ารให้เหมาะสม การฟ้นื ฟู หมายถงึ การซ่อมแซมเบอื้ งตน้ ในทนั ทีเพ่ือทำ�ใหป้ ัจจัยพ้ืนฐานทางเศรษฐกจิ สงั คม รวมทัง้ Rehabilitation บรกิ ารพนื้ ฐานที่จำ�เปน็ ดำ�เนินการและใชง้ านได้ (ที่มา : ข้อมูลจากกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั กระทรวงมหาดไทย (2549:4-9) ในหนงั สือแนวการบรหิ ารการจดั แผนเตรยี มความพร้อม รบั ภัยพิบัติในสถานศึกษา กรณกี ารระบาดใหญข่ องโรคไข้หวดั ใหญ่สายพันธใ์ุ หม่ (สำ�หรบั ผ้บู รหิ ารสถานศึกษา), พฤษภาคม 2550, หนา้ 13-16) 87

คู่มอื ฝึกอบรมการปลกุ จิตส�ำ นึกเพ่ือเตรยี มพรอ้ มรบั ภัยนำ�้ ทว่ ม ตวั อย่างก�ำ หนดการจัดฝกึ อบรมเร่ืองการปลกู จิตสำ�นึกเพอื่ เตรียมพรอ้ มรับภยั น�ำ้ ท่วม วัน/เวลา หวั ขอ้ /วชิ า ผรู้ ับผดิ ชอบ หมายเหตุ วันท่ี 1 ลงทะเบยี น 08.00-08.30 กลา่ วตอ้ นรบั และชีแ้ จงวัตถุประสงคข์ องการฝกึ อบรม 08.30-08.45 กจิ กรรมแนะนำ�ตัวและละลายพฤติกรรม 08.45-09.00 ภัยพบิ ัตคิ ืออะไร ประเภท และผลกระทบจากภัยพิบัตทิ ี่มตี ่อชมุ ชน 09.00-10.00 10.00-10.15 พักรบั ประทานอาหารว่าง แผนท่เี สยี่ งภัยชมุ ชน 10.15-11.15 ระบบการเฝา้ ระวังและระบบการแจง้ เตอื นภัยลว่ งหนา้ 11.15-12.15 12.15-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00-14.00 ระบบการเฝา้ ระวงั และระบบการแจง้ เตือนภัยลว่ งหนา้ (ตอ่ ) 14.00-14.40 สาเหตุและผลกระทบของนำ้�ทว่ ม 14.00-15.00 15.00-16.30 พักรบั ประทานอาหารวา่ ง 16.30-16.45 การเตรยี มความพรอ้ มในช่วงกอ่ น ระหว่าง และหลงั การเกิดนำ้�ทว่ ม วันที่ 2 สรุปกจิ กรรมในวนั ที่ 1 08.30-09.00 09.00-10.30 กจิ กรรมละลายพฤติกรรม 10.30-10.45 ความหมายและกระบวนการปลุกจติ สำ�นกึ 10.45-12.15 12.15-13.00 พักรบั ประทานอาหารวา่ ง การพัฒนาสือ่ เพื่อกิจกรรมปลุกจิตส�ำ นึก 13.00-14.00 พกั รับประทานอาหารกลางวนั 14.00-14.15 การจัดทำ�แผนกจิ กรรมปลุกจติ ส�ำ นกึ เพอื่ เตรียมพร้อมรับภัยนำ้�ทว่ มใน 14.15-14.30 ระดับชุมชน สรุปกจิ กรรมของวนั ที่ 2 14.30 ปิดการฝึกอบรม เดนิ ทางกลบั โดยสวัสดิภาพ 88

คมู่ อื ฝกึ อบรมการปลุกจติ ส�ำ นึกเพ่อื เตรียมพรอ้ มรบั ภัยนำ้�ทว่ ม บรรณานุกรม กรมทรัพยากรน�ำ้ . (2553). พ้ืนที่เสย่ี งอทุ กภัยของประเทศ. ค้นเม่ือ 20 มิถุนายน 2553, จาก http://fdmm.dwr.go.th/index. php?option=com_content&task=view&id=79&Itemid=81โครงการพฒั นาระบบภมู สิ าร สนเทศเพอ่ื ติดตามและเฝ้าระวงั ภัยแลง้ และอทุ กภยั กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั . (2551). ค่มู ือประชาชนในการจัดการความเสีย่ งจากภัยพิบตั โิ ดยอาศัยชุมชนเป็นฐาน: การจดั ทำ�แผน ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยของชมุ ชน. กรงุ เทพฯ: กระทรวงมหาดไทย. กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั . (2552). คู่มอื ปฏิบัตงิ านอาสาสมัครเตอื นภยั มสิ เตอรเ์ ตอื นภยั ในพ้นื ที่เสี่ยงอุกทกภยั น้ำ�ป่าไหลหลากและ ดนิ ถลม่ . กรุงเทพฯ: กระทรวงมหาดไทย. กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั . (2552). คมู่ อื ประชาชนในการเตรียมตวั ใหร้ อดปลอดภัยพบิ ัติ. กรงุ เทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร แห่งประเทศไทย. กรมอุตนุ ิยมวทิ ยา. (ม.ป.ป). ภัยธรรมชาติในประเทศไทย. ค้นเมอ่ื 17 มถิ นุ ายน 2553, จาก http://www.tmd.go.th/info/risk.pdf คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวทิยาลยั เชยี งใหม.่ (ม.ป.ป.). คมู่ ือรับสถานการณ์นำ้�ทว่ ม. ค้นเมอื่ 25 มถิ นุ ายน 2553, จาก http://202.28.24.131/gallery2/main.php?g2_itemId=22 มณี แก้วยอด และ สิทธิกานต์ วทิ ิตสนุ ทร. (ม.ป.ป.). พน้ื ฐานการสอื่ สารกับหอเตอื นภยั . ค้นเมือ่ 25 มถิ นุ ายน 2553, จาก http://www.thaitelecomkm.org/TTE/topic/attach/Warning_Tower_and_Its_Communication_Systems/index.php ศูนยเ์ ตรยี มความพรอ้ มปอ้ งกันภยั พบิ ัติแหง่ เอเชยี . (ม.ป.ป.). นำ้�ทว่ มภัยธรรมชาตใิ กลต้ วั . ปทุมธาน:ี ดมู ายเบส. ศูนยอ์ ุทกวทิ ยาและบรหิ ารนำ้�ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ตอนบน. (ม.ป.ป.). ค้นเมอ่ื 20 มิถุนายน 2553, จาก http://www.hydro-3.com/phphydro3/index.php ส�ำ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน. (ม.ป.ป.). อุทกภัย: ชน้ั ประถมศกึ ษาและมธั ยมศกึ ษา. กรงุ เทพฯ: กระทรวงศึกษาธกิ าร. สำ�นักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั จังหวัดนครพนม. (2553). แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั จงั หวดั นครพนม. ส�ำ นักงานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั จังหวดั นครพนม. (ม.ป.ป.). เอกสารประกอบการฝกึ อบรม การแจ้งเตือนภัยและการใชอ้ ปุ กรณ์ แจ้งเตือนภยั . สำ�นักงานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั จังหวดั นครพนม. (ม.ป.ป.). เอกสารประกอบการฝกึ อบรม โครงการฝึกอบรมเครือข่ายอาสา สมคั รเตอื นภยั ดนิ ถลม่ มิสเตอร์เตอื นภยั มอบภารกิจ มสิ เตอรเ์ ตือนภยั . Asian Disaster Preparedness Center. (2003). Presentation on training course: Public awareness. Asian Disaster Preparedness Center. (2004). Course manual on flood risk management – 6: Flood mitigation strategies. Asian Disaster Preparedness Center. (2009). Manual on flood preparedness program for provincial and district level authorities in the lower Mekong basin countries. Phathumtani: Do My Best. Benson, L., & Bugge, J. (2007). Child-led disaster risk reduction: A practical guide. Philippines: Save the Children. Center for Research on the Epidemiology of Disasters. (2010). Country profile. Retrieved 15 June 2010, from http://www.emdat.be/country-profile Flood Security Working Group. (2007). IEC workshop: A learning opportunity on IEC materials development. Retrieved 25 June 2010, from http://www.myanmarfswg.net/events-2.htm Ken Swann. (n.d.). IEC material production guideline. Retrieved 15 June 2010, http://www.kswann.com/IEC%20 Production%20Guidelines.pdf Singhawichai, A. (2009). Natural hazard awareness and disaster risk education. Retrieved 15 June 2010, from http://www.oecd.org/dataoecd/50/13/43726127.pdf 89

คณะผจู้ ัดท�ำ คณะทปี่ รกึ ษา ผอู้ �ำ นวยการบริหาร, ศนู ยเ์ ตรียมความพรอ้ มป้องกนั ภยั พิบตั ิแห่งเอเชยี อธบิ ดีกรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั , กระทรวงมหาดไทย 1. ดร. พจิ ิตต รตั ตกลุ อธบิ ดีกรมทรพั ยากรน�ำ้ , กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2. นายอนุชา โมกขะเวส 3. นายเกษมสนั ต์ จิณณวาโส คณะท�ำ งาน 11. นายไพโรจน์ โกพล ส�ำ นักงานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั จังหวดั นครพนม 1. นางวรชพร เพชรสุวรรณ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั , กระทรวงมหาดไทย 12. นายเผอื แสงเขยี ว 2. นายชัยธวชั ศิวบวร ส�ำ นกั งานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั จงั หวัดนครพนม กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั , กระทรวงมหาดไทย 13. นายสามารถ นนทค์ นหมน่ั 3. นายไพฑูรย์ นาคแท้ สำ�นกั งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวดั นครพนม กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย, กระทรวงมหาดไทย 4. นางสาววไิ ลรตั น์ เคหะเสถียร 14. นางสาววิไลลักษณ์ ขุปสูงเนิน กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั , กระทรวงมหาดไทย สภากาชาดไทย 5. นางสาวกมลวรรณ จติ รภกั ดี 15. นางสาวโสภาพรรณ รตั นจีนะ กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย, กระทรวงมหาดไทย องคก์ ารช่วยเหลือเดก็ แหง่ สวเี ดน 6. นางสาวอรนชุ โลอ้ นุ ลุม 16. Mr. Aslam Perwaiz กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั , กระทรวงมหาดไทย ศนู ย์เตรยี มความพร้อมปอ้ งกันภยั พบิ ตั ิแห่งเอเชีย 7. นางวรษิ าฐา จ�ำ ปานิล 17. นางสริ ิกาญจน์ คหัฏฐา กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั , กระทรวงมหาดไทย ศนู ยเ์ ตรยี มความพร้อมป้องกันภัยพิบัตแิ หง่ เอเชยี 18. นางสาวเบญจพร สุทธิประภา 8. นายบูรฉัตร บัวสวุ รรณ กรมทรพั ยากรนำ�้ , กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม ศนู ยเ์ ตรยี มความพรอ้ มปอ้ งกนั ภยั พบิ ตั ิแห่งเอเชีย 9. นางศรารัตน์ ลีไ้ พบูลย์ 19. นางสาวฐติ ิพร สนิ สพุ รรณ ส�ำ นกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา, กระทรวงศึกษาธกิ าร ศูนยเ์ ตรยี มความพรอ้ มปอ้ งกนั ภยั พบิ ัติแห่งเอเชีย 10. นางจรุ รี ตั น์ เทพอาสน์ 20. นางสาวมุทรกิ า พฤกษาพงษ์ ส�ำ นักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั จงั หวดั นครพนม ศูนยเ์ ตรียมความพร้อมปอ้ งกันภัยพบิ ตั แิ หง่ เอเชยี ผู้เขยี น นางสาวอมั พกิ า สายบวั ใย ศนู ยเ์ ตรยี มความพร้อมปอ้ งกันภัยพบิ ัตแิ หง่ เอเชยี ออกแบบรปู เลม่ และภาพประกอบ นายมานจิ พมุ่ กมุ าร ศูนยเ์ ตรียมความพรอ้ มป้องกนั ภยั พิบัตแิ ห่งเอเชยี ขอขอบคณุ ผู้ว่าราชการจังหวัดนครพนม องค์การบรหิ ารส่วนต�ำ บลท่าค้อ และองคก์ ารบรหิ ารส่วนต�ำ บลโนนตาล โรงเรยี นบา้ นท่าคอ้ โรงเรยี นบ้านหนองจนั ทน์ โรงเรยี นบา้ นตาล โรงเรียนบา้ นนอ้ ยทวย ผ้ใู หญบ่ า้ น ผ้นู ำ�ชมุ ชน อาสาสมคั รและชาวบ้าน ตำ�บลท่าคอ้ อ�ำ เภอเมืองนครพนม และ ต�ำ บลโนนตาล อำ�เภอทา่ อุเทน จงั หวัดนครพนม

คู่มอื ฝึกอบรม การปลุกจิตสÓนกึ เพือเตรียมพรอ้ มรับภยั นÓทว่ ม จั´ทÓภายãต้á¼น§านบริËารจ´ั การáลÐบรรเทาอทุ กภยั คณÐกรรมา¸กิ ารáม่นÓ⢧ â´ยการสนับสนนุ จากสÓนัก§านความรว่ มมือทา§วิªาการ¢อ§เยอรมนั

คู่มือฝกึ อบรมการปลกุ จิตสำ�นกึ เพือ่ เตรียมพร้อมรบั ภัยน้ำ�ทว่ ม Training Manual on Public Awareness for Flood Risk Reduction แผนงานบริหารจัดการและบรรเทาอทุ กภัย (Flood Management and Mitigation Programme: FMMP) เปน็ หน่ึงในแผนงานของคณะกรรมาธกิ ารแม่นำ้�โขง (Mekong River Commission: MRC) ซง่ึ ให้บริการทางดา้ น เทคนคิ วิชาการ และ การประสานงานแก่ประเทศสมาชิกท้ัง 4 ประเทศ ในภูมภิ าคลมุ่ แม่น�ำ้ โขงตอนล่าง เพอ่ื การป้องกัน และบรรเทาความเสียหายทางเศรษฐกจิ สงั คม รวมถงึ ชวี ติ และทรัพยส์ ินของประชาชน อันเน่อื งมาจากอทุ กภยั อกี ท้งั ยงั ชว่ ยรกั ษาผลประโยชนท์ างสิ่งแวดลอ้ มจากน�ำ้ ท่วมไปในขณะเดียวกัน ดังน้นั การสนบั สนนุ จากรฐั บาลสหพนั ธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ในการด�ำ เนินแผนงานยอ่ ยที่ 4: การเพ่มิ ขีดความสามารถใน การบริหารจดั การอทุ กภัยในสภาวะฉกุ เฉนิ ภายใต้แผนงานบรหิ ารจัดการและบรรเทาอทุ กภัยของคณะกรรมาธกิ ารแม่น�้ำ โขง นอกจากจะช่วยส่งเสริมใหแ้ ผนงานดังกลา่ วบรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงคโ์ ดยรวมแลว้ ยงั ชว่ ยบรรเทาความทุกขย์ ากแก่ ประชาชนในพ้ืนที่ลุม่ แม่น้ำ�โขงตอนลา่ ง อกี ทัง้ ยังมสี ว่ นช่วยประเทศสมาชิกในการบรรลเุ ป้าหมายการพฒั นาแหง่ สหัสวรรษ (Millennium Development Goals: MDGs) เป้าหมายท่ี 1 ด้านการขจัดความยากจนและหวิ โหย และเปา้ หมายที่ 7 ดา้ นการรักษาและจัดการส่งิ แวดลอ้ มอยา่ งยั่งยืน เอกสารนี้ ตีพิมพ์ภายใต้การสนับสนุนจาก