หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวตั ศิ าสตร์สาก
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวตั ศิ าสตร์สาก • วธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร์ • หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์สากล
ความสาคญั แ ะประโยชน์ของวธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร์ • ทาใหส้ ามารถอธบิ ายเหตุการณ์ทเี่ กิดข้นึ ในอดีตไดอ้ ยา่ งมีระบบ • ทาใหม้ ีหลกั เกณฑแ์ ละมีการกลน่ั กรองความคิดอยา่ งเป็ นข้นั ตอน • ทาใหเ้ ร่ืองราวท่ีนาเสนอมนี ้าหนกั และน่าเชื่อถือ เพราะส่ิงที่สืบคน้ จะนับได้วา่ เป็ นความรู้ ไม่ใช่ข่าวลือหรือเร่ืองเลา่ ตอ่ กนั มา
ข้นั ตอนของวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ 1. การกาหนดหัวเรื่องที่จะศึกษา • เร่ิมจากความสงสยั อยากรู้ หรือไม่พอใจคาอธบิ ายท่ีมีแต่เดิม • การกาหนดประเดน็ ควรกาหนดกวา้ งๆ ในตอนแรก แลว้ กาหนดใหแ้ คบลงเพอื่ ความชดั เจนในภายหลงั • การกาหนดหวั เร่ืองอาจเกีย่ วกบั เหตกุ ารณ์ บุคคลสาคญั ในช่วงเวลาใดเวลาหน่งึ ทผ่ี ศู้ กึ ษาเห็นวา่ สาคญั เหมาะสม
2. การรวบรวมห กั ฐาน • รวบรวมหลกั ฐานเกี่ยวกบั หวั ขอ้ ทีจ่ ะศกึ ษา • หลกั ฐานมที ้งั ท่เี ป็ นลายลกั ษณ์อกั ษร และไม่เป็นลายลกั ษณ์อกั ษร • หลกั ฐานแบ่งออกเป็ นหลกั ฐานช้นั ตน้ และหลกั ฐานช้นั รอง • หลกั ฐานช้นั รองช่วยใหเ้ ขา้ ใจหลกั ฐานช้นั ตน้ ไดง้ า่ ยข้นึ
3. การประเมินคุณค่าของห ักฐาน • การวิพากษ์วธิ ีภายใน • การวิพากษ์วธิ ีภายนอก เป็ นการประเมินคณุ ค่า เป็ นข้นั ตอนพจิ ารณาเร่ิมแรก หลกั ฐานวา่ ใหข้ อ้ มูลอะไรแก่ ผคู้ น้ ควา้ บา้ ง ขอ้ มูลน้นั ๆมคี วาม วา่ หลกั ฐานท่ไี ดม้ าน้นั เป็นของจริง น่าเชือ่ ถอื มากนอ้ ยเพยี งใด เป็ นการ หรือของปลอม หรือหลกั ฐานที่ ตรวจสอบองคป์ ระกอบของ กลา่ วกนั วา่ บุคคลน้ันเขยี นหรือทา หลกั ฐานเก่ียวกบั เวลา สถานที่ ข้ึน แทจ้ ริงแลว้ เป็ นเชน่ น้นั หรือไม่ และบคุ คล
4. การวิเคราะห์ สังเคราะห์แ ะจัดหมวดหม่ขู ้อมู • ผศู้ ึกษาตอ้ งวเิ คราะห์ขอ้ มลู ในหลกั ฐานน้นั วา่ - ใหข้ อ้ มูลทางประวตั ิศาสตร์อะไรบา้ ง - ขอ้ มลู น้นั มคี วามสมบูรณ์เพยี งใด - ขอ้ มูลน้นั มจี ุดหมายเบ้อื งตน้ อยา่ งไร • จากน้นั นาขอ้ มลู ท้งั หลายมาจดั หมวดหมู่ • ผศู้ ึกษาควรมคี วามรอบคอบ รอบรู้ และวางตวั เป็ นกลางในการศกึ ษาขอ้ มลู
5. การเรียบเรียงหรือการนาเสนอ • เพอื่ นาเสนอเหตุการณ์ทางประวตั ศิ าสตร์ทศ่ี ึกษา • ควรใชศ้ ลิ ปะในการใชภ้ าษาเพอ่ื อธบิ ายเหตกุ ารณอ์ ยา่ งมีระบบ • มีการโตแ้ ยง้ หรือสนบั สนุนผลการศกึ ษาแต่เดมิ โดยมีขอ้ มลู สนบั สนุนอยา่ งมีน้าหนกั และ เป็ นกลาง • สรุปผลการศึกษาวา่ สามารถใหค้ าตอบตอ่ ขอ้ สงสัยไดเ้ พยี งใด
ห กั ฐานช้ันต้นหรือห กั ฐานปฐมภูมิ • เกดิ ข้ึนในช่วงทตี่ อ้ งการจะศึกษา และเขยี น ข้นึ โดยบุคคลท่ีอยรู่ ่วมในเหตุการณ์ • มที ้งั ที่เป็ นลายลกั ษณ์อกั ษร และท่ีไม่เป็ น ลายลกั ษณ์อกั ษร • หลกั ฐานช้นั ตน้ ทเี่ ป็ นลายลกั ษณ์อกั ษร เป็ นหลกั ฐานทีไ่ ดร้ บั ความเชอื่ ถือมาก โดมใหญแ่ ห่งโบสถเ์ มืองฟลอเรนซ์ จดั เป็ นหลกั ฐาน ช้นั ต้นท่ีไมเ่ ป็ นลายลกั ษณอ์ กั ษร ที่ให้ความรู้ เก่ยี วกบั ศลิ ปะสมยั เรเนอซองซ์
ห กั ฐานช้ันรองหรือห กั ฐานทุติยภูมิ • เป็ นหลกั ฐานทที่ าข้นึ ภายหลงั จากเหตุการณ์ • หลกั ฐานช้นั รองมที ้งั ที่เป็ นลายลกั ษณ์อกั ษร และไม่เป็ นลายลกั ษณอ์ กั ษร • การระบุวา่ หลกั ฐานทีม่ อี ยเู่ ป็ นหลกั ฐานช้นั ตน้ หรือช้นั รองน้นั ใหค้ านงึ วา่ หลกั ฐานน้นั ผลิต ข้นึ หรือมอี ยรู่ ่วมสมยั กบั เหตกุ ารณ์ทต่ี อ้ งการศึกษาหรือไม่ และไม่มกี ารเรยี บเรียงข้ึนมาใหม่ หนงั สือท่ีมกี ารรวบรวมขอ้ มูลและตีพมิ พภ์ ายหลงั จดั เป็ นหลกั ฐานช้นั รองท่ีเป็ นลายลกั ษณ์อกั ษร
ตัวอย่างห กั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์สาก สมยั โบราณ • ผลงานสาคญั ในสมยั น้ี คอื สงครามเปอร์เซีย ของเฮโรโดตุส • วธิ ีการเขยี นประวตั ศิ าสตร์ของเฮโรโดตุส ไดถ้ ูกใช้ เป็ นมาตรฐานการเขยี นประวตั ศิ าสตร์ในสมยั ตอ่ มา เฮโรโดตุส
สมยั ก าง 1. ประวัติศาสตร์ของพวกแฟรงก์ เขียนโดยบาทหลวงเกรเกอรีแห่ง เมืองตูร์ อธบิ ายความเปลีย่ นแปลงของพวกแฟรงก์ จากการเป็ นอนารยชนมาเป็ น การต้งั อาณาจกั รใหเ้ ป็ นเอกภาพ 2. แมกนา คาร์ตา เป็ นกฎบตั รเพอ่ื จากดั พระราชอานาจ ของกษตั ริย์ อกี ท้งั เป็ นการประกนั สิทธิและเสรีภาพของประชาชน ไม่ใหถ้ กู เจา้ หนา้ ท่ีรัฐรงั แก แมกนา คาร์ตา หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ เกี่ยวกบั การเมืองการปกครองขององั กฤษ
สมยั ใหม่ 1. คาประกาศอิสรภาพของสหรัฐอเมริกา เป็ นหลกั ฐาน ทางประวตั ศิ าสตร์ที่สาคญั มาก เพราะเป็ นการ ประกาศสิทธิพ้นื ฐานของมนษุ ยชน 2. รัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐอเมริกา มีความสาคญั ตอ่ รูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตย ในประเทศต่างๆ ร่างคาประกาศอสิ รภาพ ของสหรัฐอเมริกา 3. ประวัติศาสตร์ความเสื่อมแ ะการสิ้นสุดของ รฐั ธรรมนูญแห่งสหรัฐอเมริกา จกั รวรรดิโรมัน โดยเอด็ วาร์ด กบิ บอน ไดส้ รุปปัจจยั สาคญั ท่ี ทาใหจ้ กั รวรรดโิ รมนั เส่ือมและสิ้นสุด คือ การขยายตวั ของ คริสต์ศาสนา
สมัยปัจจุบัน 1. อารยธรรมแ ะทุนนิยม คริสต์ศตวรรษที่ 15-18 โดย เฟอร์นานด์ โบรเดล ชาว ฝรง่ั เศส เห็นวา่ วธิ กี ารเขียนประวตั ิศาสตร์ท่ีดี คอื ความพยายามเขา้ ใจสังคมในภาพรวมและ ระบบความสัมพนั ธต์ อ่ กนั 2. ศึกษาประวัติศาสตร์ โดย อาร์โนลด์ ทอยนบ์ ี ชาวองั กฤษ เป็ นการศกึ ษาความรุ่งเรือง และความเส่ือมโทรมของ สงั คมในอดีตจานวนมาก 3. ห ักฐานเกย่ี วกับยุคจักรวรรดินิยม มอี ยใู่ น ปกหนงั สือศึกษาประวตั ิศาสตร์ หนงั สือประวตั ิศาสตร์สากลสมยั ใหม่ หรือในหนังสือ (A Study of History) ของอาร์โนลด์ ทอยนบ์ ี ประวตั ศิ าสตร์อารยธรรมโลกสมยั ใหม่
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: