OLDER MAN DECLARE WAR, BUT IT IS THE YOUTH THAT MUST FIGHT AND DIE. PROXY WAR สงครามตัวแทน 1
คํานาํ หนังสืออเิ ล็กทรอนิกส( E-BOOK) เรอื่ งสงครามตวั แทนเลม น้เี ปน สวนหน่ึงของรายวชิ าสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม รหสั วิชา ส33103 จัดทําขึน้ เพื่อใหค วามรูเก่ยี วกับสงครามตัวแทน โดยมงุ เนน ทส่ี งครามเวยี ดนาม และสงครามเกาหลี คณะผูจ ดั ทาํ หวงั วาหนังสืออเิ ลก็ ทรอนกิ สเลมนี้ จะสามารถถา ยทอดความรแู ละเปน ประโยชนตอ ผทู ีต่ อ งการศกึ ษา ไมม ากกน็ อย หากมีขอ แนะนาํ หรือผดิ พลาดประการใด คณะผูจัดทําขออภัยมา ณ ที่น้ี คณะผจู ดั 2
สารบญั หนา เร่ือง สงครามตัวแทน 4 สงครามเวียดนาม -กอนเกดิ สงครามเวยี ดนาม 5 -สถานการณข องสงครามเวียดนาม 6-7 -การส้ินสดุ และผลของสงครามเวยี ดนาม 8-9 -อนสุ ญั ญาเจนวี า 10 -ทฤษฎีโดมิโน 11 -ทฤษฎกี ารสกดั กน้ั 12 สงครามเกาหลี 12 -สถานการณส งครามเกาหลี -ผลกระทบของสงครามเกาหลี 13 -ผลกระทบตอ สหภาพโซเวียต 14-18 -ผลกระทบตอสาธารณรัฐประชาชนจนี บรรณานกุ รม 19 20 21 22-23 3
สงครามตวั แทน เปน สงครามทีเ่ ปน ผลมาจากสงครามเย็นเนอ่ื งจากมหาอํานาจไม สามารถสงครามกันเองไดเ พราะเกรงวาจะเกดิ สงครามนิวเคลียรจึง ไดใ หก ารการสนบั สนนุ ประเทศพันธมติ รท่ีตนมีอิทธิอยใู นการทาํ สงครามโดยการสนับสนุนทางดานการเงิน การทหาร และอาวธุ สงครามตัวแทน เชน สงครามเกาหลี สงคราม เวยี ดนาม 4
สงครามเวยี ดนาม ประเทศมหาอาํ นาจอยาง “สหภาพโซเวยี ต-สหรัฐฯ-จนี ” ใชประเทศพันธมติ รเปนพื้นทส่ี งครามเพ่อื แผอ ทิ ธพิ ลทางการเมอื ง ระหวา ง “คอมมวิ นสิ ต” กับ “โลกเสรี” ในเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต พ้ืนทีส่ รู บอยทู ี่ประเทศเวียดนาม เกดิ สงครามเมือ่ ป 1955-1975 5
กอ นเกดิ สงครามเวยี ดนาม เวยี ดนาม ตกเปนอาณานิคมของฝรัง่ เศส ตั้งแตป ค.ศ. 1883 ทําใหใน ป ค.ศ. 1898 ฝร่ังเศสไดร วมเวยี ดนาม ลาว และกัมพชู า ไวภายใตการปกครองเรียกวา อินโดจีนของฝรง่ั เศส มีศนู ยก ลางการปกครองอยูท่กี รุงไซงอ น เม่อื เกิดสงครามโลกครงั้ ท่ี 2 ญ่ีปนุ ไดเ ขา ยึดครองอนิ โดจนี และไดประกาศมอบเอกราชให เวียดนามในเดือนมนี าคม ค.ศ. 1945 โดยเชญิ พระจักรพรรดิเบาได ขน้ึ เปน ประมขุ เมือ่ ญี่ปุนแพส งคราม โฮจมิ นิ ห นักปฏิวตั ิชาว เวยี ดนาม จงึ นํากองทพั เวยี ดมินห เขา ยึดครองเวียดนาม และ ประกาศเอกราชเมื่อวนั ที่ 2 กนั ยายน ค.ศ. 1945 เปล่ียนชอื่ ประเทศ เวยี ดนาม เปน “สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยเวียดนาม” โดยมี โฮจิมนิ ห เปนประธานาธบิ ดี และนายฟาม-วันดง เปน นายกรัฐมนตรี โฮจิมนิ ห นกั ปฏวิ ตั ิและวรี บรุ ษุ ของชาวเวยี ดนาม 6
แตเ ม่อื ญป่ี ุนถอนทหารออกไปจากเวียดนามหมดแลว ฝรง่ั เศสกลบั เขามาในเวยี ดนามอีก จงึ เกิดการสูรบกับ กองกําลงั เวยี ดมนิ ห การสรู บดําเนินไปถงึ วันท่ี 7 พฤษภาคม ค.ศ. 1954 กองทพั เวียดมนิ หสามารถยึดปอมเดยี นเบยี นฟู ซง่ึ เปน ฐานท่มี นั่ ของ ฝรั่งเศสได ฝรง่ั เศสกับเวยี ดนามก็ไดท าํ สัญญาสงบศกึ ทีก่ รงุ เจนวี า เมอ่ื ป 1954 เรียกวา อนุสญั ญาเจนีวา ซ่ึงสงผลใหเวยี ดนามถกู แบง ออกเปน 2 สว น คือ เวยี ดนามเหนอื จดั การปกครองแบบสงั คมนิยม และเวยี ดนามใตจดั การปกครองแบบประชาธิปไตย โดยมเี สน ขนานท่ี 17 เปนเสน แบง เขตแดน ยทุ ธการท่ีเดียนเบยี นฟู เวียดนามถกู แบงออกเปน 2 สว น 7
สถานการณของสงครามเวียดนาม ในป1965 ฝายเวยี ดนามเหนือ หรือเวยี ดมินห เริม่ ทาํ สงครามกอง โจรกบั เวยี ดนามใตจ นเวยี ดนามใตต องขอความชวยเหลือจาก ประเทศฝายโลกเสรี สหรัฐฯจึงสงกาํ ลังทหารเขามาเขามาสกดั กนั้ การ รุกรานของเวยี ดนามเหนอื ท่มี ที งั้ สหภาพโซเวียตและจนี สนบั สนุน ดา นอาวุธ และเงนิ ทุน แตประธานาธบิ ดี โง ดนิ หเดียม บรหิ ารงาน ไมมปี ระสิทธภิ าพ สง ผลใหพรรคคอมมวิ นิสตในเวียดนามใต ผนกึ กาํ ลังกันจัดตัง้ \"แนวรว มปลดแอกแหง ชาติ\" หรือทเี่ รียกวา \"เวยี ดกง\" เพอ่ื โคนลม รัฐบาลโดยใชย ทุ ธวิธกี ารรบแบบสงครามกอง โจรและไดร บั การสนับสนุนดว ยอาวุธจากเวยี ดนามเหนือ จนี และ โซเวียต โดยเปาหมายสาํ คัญของเวียดกง คอื การเอาชนะ เวยี ดนามใตและรวมประเทศใหเปน หนง่ึ เดยี ว ธงประจาํ เวียดกง ประธานาธิบดี โง ดนิ ห เดียม เวียดกง 8
9
การส้นิ สดุ และผลของสงครามเวยี ดนาม หลงั จากสหรัฐอเมริกาและชาติพนั ธมิตรถอนตวั จากสงคราม การสูรบระหวางเวียดนามใตก บั เวียดนามเหนือกย็ ังคงดาํ เนินอยาง ตอเน่ืองสง ผลใหเ กดิ หายนะตอกองทพั เวียดนามใต เกิดการตอ สูขั้นแตกหักในเดือนมกราคม ค.ศ.1975 เวยี ดนามเหนอื ไดเขา โจมตอี ยางรวดเร็วเขาใสฝ า ยใตท ่ีออนแอ ไซง อนเมืองหลวงของเวียดนามใตถกู ยึดโดยกองทัพเวยี ดนามเหนอื ในวนั ท่ี 30 เมษายน ค.ศ. 1975 และสงครามเวยี ดนามก็สนิ้ สุดลง เวยี ดนามเหนอื และเวยี ดนามใตรวมกันเปน หนง่ึ เดียว เมื่อวันท่ี 3 กรกฎาคมค.ศ. 1975 และถือกาํ เนิด สาธารณรฐั สังคมนยิ มเวยี ดนาม หรือประเทศเวียดนามในปจจุบัน ฝา ยคอมมิวนสิ ตเวียดนามยดึ ไซงอ น 10
อนสุ ัญญาเจนวี า มีสาระสําคญั คอื ใหแ บง เวียดนามออกเปน สองสว น คอื เวียดนามเหนือ และ เวยี ดนามใตโ ดยใชเ สนรุง ท่ี ๑๗ เหนอื ซึง่ ผานเมอื งกวางตรี ตามแนวแมน ้าํ เบนไฮเปน เสน แบง เขตแดน ประธานาธบิ ดี จอหนสัน ของสหรฐั ฯ ไดต ัดสนิ ใจทําสงครามโดยเปดเผยระหวางสหรฐั ฯ และ เวียดนามเหนือจงึ เริ่มตน ต้งั แตกมุ ภาพันธ 1965 ฝายประชาธิปไตยท่ีใหค วามชว ยเหลอื เวียดนามใต ออสเตรเลยี นิวซแี ลนด สเปน ฟลิปปนส สาธารณรฐั จนี (ไตหวนั ) และไทย อนสุ ัญญาเจนีวา 11
ทฤษฎีโดมโิ น คอื ทฤษฎที ่ยี กอุทาหรณจากเกมไพต อแตม ซึ่งถามีไพล ม หนง่ึ ใบ ไพใบอ่นื ๆจะลม เปน แถบตดิ ตอ เปน ลูกโซ เกิดจากความเชอื่ ถือทว่ี า เม่ือประเทศใดตกอยูภ ายใตร ะบอบการปกครองแบบคอมมวิ นสิ ตจ ะ ทาํ ใหประเทศอน่ื ๆกลายเปน คอมมิวนิสตไ ปดว ย ทฤษฎีการสกดั กั้น นายจอหน ฟอสเตอร ดัลเลส อดีตรัฐมนตรีกระทรวงการตา งประเทศสหรฐั อเมรกิ า ไดมที ฤษฎตี อ ตานทฤษฎโี ดมโิ น คือ ทฤษฎีการสกัดก้นั นายจอหน ฟอสเตอร ดลั เลส 12
สงครามเกาหลี สงครามเกาหลเี ริ่มตนมาจากการยึดครองเกาหลีของญี่ปุน ในชว ง ระหวางป1910-1945 เม่อื สงครามโลกครงั้ ท่สี องสน้ิ สุดลง ฝายสัมพนั ธมติ รไดรอื้ ถอนจกั รวรรดิญ่ีปนุ จากเกาหลี ซึ่งตอมาไดก ลายเปน เครอ่ื งมือตอรองทางดลุ อาํ นาจของ สหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวยี ต โดยท้งั สองประเทศทีเ่ คยเปน ฝายสมั พันธมติ รรว มกันมาทั้งคู ตา งไมไววางใจระหวางกนั 13
สถานการณส งครามเกาหลี ในป 1948 เพ่ือเปน การถวงดลุ อาํ นาจของท้ังสองขวั้ จึงไดม กี ารขดี เสนชายแดนแบง เกาหลโี ดยใชเสน ขนานที่ 38 เสน ละตจิ ดู ทพ่ี าดผา นคาบสมุทรแหงนี้ โดยเกาหลเี หนือเปน รฐั สงั คมนยิ มท่ีนําโดย คิม อลิ -ซุง ทไ่ี ดร บั การสนับสนนุ จากสหภาพ โซเวียต และเกาหลีใตเปนรัฐทุนนิยมซงึ่ นําโดยนายรี ซึง-มนั ทไ่ี ดร บั การสนบั สนนุ จากสหรัฐอเมริกา คมิ อลิ -ซงุ ผนู ําเกาหลีหนือ รี ซงึ -มนั ผูนําเกาหลใี ต 14
ในวนั ที่ 25 มิถนุ ายน ค.ศ. 1950 เกาหลีเหนือซ่งึ ไดรับการสนบั สนนุ จากโซเวยี ต ไดโจมตเี กาหลีใตเพื่อรวมเกาหลีทั้งหมดใหอยูภายใตคอมมิวนิสต โดยมีความคดิ วาสหรฐั อเมรกิ าจะไมป กปอ งเกาหลใี ต เพราะผนู ําของสหรัฐอเมรกิ าไดเคยประกาศวา แนวปองกันของ สหรัฐอเมรกิ าจะอยูท ่ีหมูเกาะชายฝง ตัง้ แตญ ป่ี นุ ถงึ ฟลิปปน ส สหรฐั อเมรกิ าไดม องการโจมตคี ร้งั นี้วาเปน การทา ทายของฝา ย คอมมวิ นสิ ตแ ละเปน การพยายามทีจ่ ะขยายอิทธิพลของฝาย คอมมวิ นสิ ตเขามาในเอเชีย 15
สหรฐั อเมริกาไดประทว งการรุกรานเกาหลใี ตต อ คณะมนตรคี วามมั่นคงและองคการสหประชาชาติ องคกรทเ่ี พ่ิงตง้ั ข้ึนมาใหมใ หอนุมัตกิ ารใชก องกําลงั เพอื่ ชวยเหลือ เกาหลใี ตแ ละประธานาธบิ ดแี ฮรรี เอส. ทรแู มน ไดสงั่ ใหม ีการสง กําลงั ทหารไปโดยไมไดร ับการอนุมัตจิ ากสภาคองเกรสซึง่ ถือเปน หนว ยงานเดยี วทม่ี ีอาํ นาจประกาศสงครามได ดังนั้นนจ่ี งึ เปน คร้ังแรกทีส่ หรัฐอเมรกิ าไดเขาไปมสี ว นรวมในความขดั แยงระดับนานาชาตโิ ดยไมมีการประกาศสงครามอยา งเปนทางการ ประธานาธบิ ดีแฮรรี เอส. ทรูแมน 16
โดยกาํ ลังทหารของสหประชาชาติและของสหรฐั อเมรกิ า ซ่งึ อยภู ายใตการบงั คับบญั ชาของพลเอกแมคอารเ ธอร ไดโจมตกี ําลังของฝา ยเกาหลเี หนอื จนถอยรนไปถึงเสน ขนานที่ 38 ทาํ ใหผนู าํ ของสาธารณรฐั ประชาชนจีนออกแถลงการณเตอื นมิให กําลังของฝายสหประชาชาติและของสหรัฐอเมรกิ าลวงลาํ้ เลยเขาไป ในดินแดนเกาหลเี หนอื มฉิ ะน้ันจนี จะเขา สูสงครามดว ย เพราะจีน เกรงวาถาเกาหลเี หนอื ถูกยึดครองจีนจะขาดรัฐกนั ชน และเปน การ คุกคามความมั่นคงปลอดภัยของจนี แตทวา กองกาํ ลงั ของสหประชาชาติไมสนใจคาํ เตอื นของจีน ตดั สนิ ใจรุกขา มเสนขนานท่ี 38 จีนจึงสงกองกาํ ลังในเดือนตลุ าคม ค.ศ. 1950 ปะทะกบั ทหารสหประชาชาติในเดือนพฤศจิกายน การสรู บเปนไปอยางยืดเย้ือโดยไมม ีฝา ยใดไดรบั ชัยชนะอยา งเดด็ ขาด จอมพลดกั ลาส แมคอาเทอร การเดนิ ขบวนทกี่ รงุ โซล เพือ่ ตานการเจรจาสนั ตภิ าพ 17
ตอ มาในเดอื นมิถนุ ายน โซเวยี ตเสนอใหมกี ารเจรจาเพือ่ ยตุ ิความขดั แยงในเกาหลี การเจรจาไดด ําเนินอยูหลายป ก็สามารถลงนามในขอ ตกลงหยดุ ยิง ระหวางจีนกับเกาหลีเหนือฝายหน่ึงตอ มา วันท่ี 27 กรกฎาคม 1953 เกาหลเี หนอื จนี และ สหรัฐอเมรกิ า ไดล งนามขอ ตกลงหยุดยิง อยา งไรกต็ ามเกาหลใี ตค ดั คานการแบง เกาหลแี ละไมไ ดเ ห็นดว ยกับขอตกลงสงบศึกน้ี ดังน้นั แมการตอ สจู ะส้ินสดุ แตในความจรงิ สงครามของสองเกาหลยี ังไมยุติ 18
ผลกระทบของสงครามเกาหลี จํานวนผูเ สียชีวติ โดยรวมในสงครามเกาหลยี งั ไมเปนทชี่ ดั เจน แตท หารอเมรกิ ันมีจํานวนผูเสยี ชีวติ กวา 40,000 นาย และทหารเกาหลใี ตม ผี ูเ สยี ชวี ติ กวา 46,000 นาย จํานวนผสู ญู เสียในฝง เหนือนัน้ มีมากกวา ซึ่งมกี ารประมาณจํานวนผูเสยี ชีวติ ของทหารเกาหลเี หนอื กวา 215,000 นาย และจาํ นวนผูเสียชวี ิตของทหารจีนกวา 400,000 นาย โดยรอยละ 70 ของผูเสียชีวติ นั้นเปน พลเรอื น คาดการณว ามีพลเรอื นเสยี ชวี ติ ในสงครามกวา 4 ลา นคน และ เกาหลเี หนือถูกทาํ ลายอยา งรนุ แรงจากทง้ั ระเบดิ และอาวุธเคมี 19
ผลกระทบตอ สหภาพโซเวยี ต สงครามครั้งนี้ถอื เปน หายนะทางการเมอื งอยา งมากสาํ หรบั สหภาพ โซเวียต วัตถปุ ระสงคห ลักของสงครามนีค้ ือการรวมคาบสมทุ รเกาหลี ภายใตร ะบอบการปกครองของคิมอลิ ซงุ ซ่ึงผลท่ีไดค อื ความลมเหลว อยา งส้นิ เชงิ ขอบเขตของทั้งสองสวนของเกาหลยี ังคงไมเปล่ยี นแปลง ยิง่ ไปกวานั้นความสมั พนั ธก ับพรรคคอมมวิ นสิ ตจ นี นั้นถกู ทําลาย อยางถาวรทําใหเกิดการเหตุการณความแตกแยกระหวา งจีน–โซเวียต จนทา ยทสี่ ุดสหภาพโซเวียตกล็ มสลายลงในป 1991 20
ผลกระทบตอสาธารณรัฐประชาชนจีน จนี ถกู สหรฐั อเมริกากลาวหาและประณามวา เปนผรู กุ รานและกาวรา ว ทําใหภ าพพจนของจนี เสยี หายในสายตาของชาวโลก เพราะมองวาการทจี่ ีนจําตองเขา รว มรบในสมรภมู เิ กาหลี ก็เพอื่ ปอ งกันมใิ หเกาหลีเหนอื ถูกยดึ ครอง ซ่งึ จะเปน ภยั ตอ ความมน่ั คงของจีน 21
บรรณานุกรม สงครามตวั แทน. [ระบบออนไลน]. แหลงท่ีมา HTTPS://SITES.GOOGLE.COM/SITE/COLDWARYANISAANDW ANNEE/SNGKHRAM-TAWTHAEN (11 มกราคม 2564) WASANPRATSILP.สงครามเกาหล.ี [ระบบออนไลน]. แหลง ที่มา HTTPS://SITES.GOOGLE.COM/SITE/WASANPRATSILP5719102 61/HOME/SNGKHRAM-TAWTHAEN-PROXY- WAR/SNGKHRAM-KEAHLI (11 มกราคม 2564) VICHAYENT.HISTORY OF WAR.[ระบบออนไลน] . แหลง ท่ีมา HTTPS://SAIHISTORY.BLOGSPOT.COM/2018/09/BLOG- POST.HTML (11 มกราคม 2564) 22
บรรณานกุ รม NATIONAL GEOGRAPHIC.2020.เหตใุ ด สงครามเกาหลี จงึ ยงั ไมจ บส้ิน.[ระบบออนไลน]. แหลง ทมี่ า HTTPS://NGTHAI.COM/HISTORY/29909/ KOREANWAREXPLAIN/ (11 มกราคม 2564) 2020.ใหความรเู กยี วกับสงคราม ขอ ดี ขอ เสยี การขัดแยง สงครามกลางเมือง สงครามเย็น ท่ผี ลทตี่ ามมา.[ระบบออนไลน]. แหลง ที่มา HTTPS://SNOWCOALITION.ORG/ (11 มกราคม 2564) 23
จัดทําโดย นายชัชชัย พว งรกั ษ เลขท่ี8 นายนันทกร จันทรแ พง เลขท่ี10 นางสาวพรหมพร สนุ ทะโร เลขที2่ 5 นางสาวรวิพร พระเวก เลขท2่ี 6 นางสาวสชุ านันท พรหมชนะ เลขท2่ี 7 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที่ 6/1 โรงเรยี นเบญจมราชูทิศ ราชบรุ ี 24
Search
Read the Text Version
- 1 - 24
Pages: