หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 3 การใช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศ ตวั ชี้วดั ว 4.2 ป. 1/5 ใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยางปลอดภัย ปฏบิ ตั ติ ามขอ ตกลงในการใชค อมพิวเตอรรวมกนั ดแู ลรกั ษา อุปกรณเบือ้ งตน ใชง านอยางเหมาะสม นักเรียนรหู รอื ไมว า การใชเทคโนโลยี สารสนเทศอยา ง ปลอดภยั เปนอยา งไร
การใช้ เทคโนโลยีอย่างปลอดภัย เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งเทา่ ทันและปลอดภยั มีดงั น้ี 1.ไมเ่ ปดิ เผยข้อมูลสว่ นตวั 2.กำ�หนดรหัสผ่านให้รัดกมุ เปลี่ยนรหัสผา่ นทุกๆ 3 เดอื น 3.ออกจากระบบทกุ ครงั้ หลงั ใชง้ าน 4.ติดต้ังโปรแกรมปอ้ งกนั ไวรสั คอมพวิ เตอร์ 5.ขอความชว่ ยเหลอื เมื่อเกิดปัญหาในการใชเ้ ทคโนโลยี 6.ไมอ่ อกไปพบบุคคลรู้จักผ่านชอ่ งทางออนไลน์ 7. ไมส่ ่งรูปหรอื สิง่ ใดๆใหบ้ คุ คลทางอนิ เตอรเ์ น็ต 8. ไมใ่ ห้ความสำ�คญั หรือสนใจกับคนท่ีใช้ถ้อยค�ำ หยาบคาย อนั ตรายจากการเผยแพรข อมลู สว นตวั โดนลักพาตวั หรือลอลวงทรพั ย โดนบคุ คลอน่ื นําขอมูล ไปใชป ระโยชนสว นตัว 48
โดนสวมรอยเปนบคุ คลอนื่ โดยไมร ตู ัว โดนนาํ ภาพไปเผยแพร ในทางทีไ่ มเหมาะสม โดนนําขอมลู ไปแอบอา งเพือ่ หลอกลวงผอู ่นื เกร็ดน่ารู้ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) หมายถงึ ความกา้ วหน้า ทางเทคโนโลยที ่ีสง่ ผลใหม้ กี ารพัฒนาและสร้างสรรคส์ ง่ิ ใหม่ ๆ อยู่เสมอโดยเฉพาะการใช้ งานในการจดั การข้อมูลสารสนเทศ ทง้ั การจดั เกบ็ ข้อมูล การปล่อยข้อมลู ขา่ วสาร การ รบั ขอ้ มูล การเข้าถงึ ข้อมลู การสื่อสาร โดยมผี ลให้ ขอ้ มูลสาระสนเทศ หรอื อุตสาหกรรม ทางขอ้ มูลสารสนเทศ มีการพฒั นาใหม้ ีประสทิ ธิภาพและคุณภาพทีส่ งู ขนึ้ ขอ้ มูลส่วนตวั หมายถงึ ขอ้ มูลเก่ยี วกับลกั ษณะของบุคคลทที่ ำ�ให้สามารถระบไุ ด้ ว่าบุคคลนน้ั คอื ใครข้อมลู สว่ นตวั ทวี่ ่าน้เี ชน่ ชอื่ จริงท่ีอยหู่ มายเลขโทรศัพท์วันเดือนปี เกิดเลขประจำ�ตวั ประชาชนเปน็ ต้น 49
กจิ กรรม เสริมสรางการเรยี นรู ค�ำ ชีแ้ จง ใหน้ ักเรยี นสแกน QR CODE หรอื เขา้ ลิงค์ ดา้ นล่างเพื่อท�ำ กิจกรรมเสริมสร้างการเรยี นรู้ ใบกจิ กกรมท่ี 3.1 เรอ่ื ง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย https://www.liveworksheets.com/4-lo403719lt 50
ข้อควรปฏิบตั ิในการใช้งาน และการดแู ลรกั ษาอปุ กรณ์เทคโนโลยี การใชง้ านอปุ กรณเ์ ทคโนโลยคี วรปฏบิ ตั ิ ดงั นี้ ข ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ นการใชง้ าน ไม่ทานอาหาร เครอ่ื งดมื่ ใกลอ้ ุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ไมข่ ดู ขดี เขียนอปุ กรณค์ อมพวิ เตอร์ ไมเ่ ปิด-ปิดอุปกรณ์ดว้ ยความรุนแรง ไม่วางอุปกรณท์ ่มี ีสนามแมเ่ หล็กไฟฟาใกล้อุปกรณฯ์ ไม่วางอุปกรณท์ ี่มสี นามแม่เหลก็ ไฟฟา ใกล้อุปกรณฯ์ เปิด-ปดิ อปุ กรณ์ทกุ ชนดิ อย่างถูกวธิ ี 51
ข การดูแลรกั ษาอุปกรณ์เทคโนโลยี วางเครอ่ื งคอมพวิ เตอรใ์ หห้ า่ งจากผนังอยา่ งนอ้ ย 30 เซนติเมตร หม่นั ทาำ ความสะอาด จอภาพ คีย์บอรด์ ซีพียู เครอื่ งพมิ พ์หรอื อปุ กรณ์ อืน่ ๆ เสมอ ควรใชแ้ ผน่ รองเมาสข์ ณะใชง้ านทุกคร้งั หา้ มดงึ สายไฟท่ีตอ่ เชอื่ มอุปกรณ์ขณะใช้งาน ควรหาผา้ หรอื พลาสตกิ คลุมเคร่อื งคอมพวิ เตอรไ์ วเ้ มอ่ื ไม่เปิดใชง้ าน ไมค่ วรจดั วางซีพียไู ว้ในบริเวณทีร่ อ้ นเกนิ ไป 52
กิจกรรม เสรมิ สรางการเรียนรู คำ�ชแี้ จง ให้นักเรยี นสแกน QR CODE หรือเขา้ ลิงค์ ดา้ นลา่ งเพือ่ ทำ�กจิ กรรมเสริมสรา้ งการเรียนรู้ ใบกจิ กกรมที่ 3.2 เร่ือง การใชง้ านและการดูแลรกั ษาอปุ กรณเ์ ทคโนโลยี https://www.liveworksheets.com/4-cy404709ny 53
การใชง้ านอุปกรณเ์ ทคโนโลยี อย่างเหมาะสม ปัจจุบันเปน็ ยุคแห่งขอ้ มูลข่าวสารโดยการสอ่ื สารมี หลายช่องทางผ่านอปุ กรณต์ า่ ง ๆ เช่น โทรศัพท์เคลอ่ื นทหี่ รือสมาร์ทโฟน คอมพวิ เตอรเ์ ปน็ ตน้ เราจงึ ควรศึกษาวธิ กี ารใช้งานอย่างถกู ตอ้ งและเหมาะสม ปรับแสงสว่างของหน้าจอให้เหมาะสมกับดวงตา น่ังในทา่ ท่เี หมาะสมและไมอ่ ยใู่ กล้หนา้ จอมากเกินไป พักสายตาพักอริ ยิ าบถทุกๆ 20 นาที ใชเ้ ก้าอท้ี ม่ี ขี นาดเหมาะสมกับแต่ละบุคคล 54
กจิ กรรม เสรมิ สรา งการเรียนรู คำ�ชี้แจง ใหน้ กั เรยี นสแกน QR CODE หรือเขา้ ลงิ ค์ ด้านล่างเพื่อท�ำ กจิ กรรมเสรมิ สร้างการเรยี นรู้ ใบกิจกกรมที่ 3.3 เรือ่ ง ผลกระทบในการใช้อปุ กรณเ์ ทคโนโลยี https://www.liveworksheets.com/4-fi404817ak 55
สรุปสาระสาํ คญั 1.ไมเ่ ปิดเผยขอ้ มลู ส่วนตวั 1.ไม่ทานอาหารเคร่ืองดื่มใกลอปุ กรณค์ อมพวิ เตอร์ 2.ไมพ่ ูดขีดเขยี นอุปกรณค์ อมพวิ เตอร์ 2.กำาหนดรหัสผา่ นใหร้ ดั กมุ เปลีย่ นรหัสผา่ นทุกๆ 3 เดือน 3.ไม่เปิด-ปิดอปุ กรณด์ ้วยความรนุ แรง 4.ไม่วางอปุ กรณท์ ม่ี สี นามแม่เหล็กไฟฟา ใกลอ้ ุปกรณ์ 3.ออกจากระบบทกุ ครง้ั หลังใชง้ าน 5.ไม่วางอุปกรณท์ ม่ี สี นามแมเ่ หลก็ ไฟฟา โกอปุ กรณฯ์ 4.ตดิ ตงั้ โปรแกรมปองกนั ไวรสั คอมพวิ เตอร์ 6.เปิด-ปิดอุปกรณท์ ุกชนดิ อยา่ งถูกวธิ ี 5. ขอความชว่ ยเหลือเมอื่ เกดิ ปญ หา การใช การใชง าน เทคโนโลยี อุปกรณ อยา งปลอดภัย เทคโนโลยี อยางเหมาะสม การดแู ล การใช้ ข้อควร รักษา เทคโนโลยี ปฏิบัตใิ น อุปกรณ สารสนเทศ การใช้งาน เทคโนโลยี ขอ ควรปฏิบตั ิ 1.วางเคร่ืองคอมพิวเตอรใ์ ห้ห่างจากผนงั อยา่ งน้อย ในการใชง าน 30 เซนตเิ มตร และการดูแล 2.หมนั่ ทำาความสะอาดจอภาพคยี บ์ อร์ดซพี ยี ู รกั ษาอุปกรณ เคร่ืองพมิ พห์ รอื อุปกรณ์อนื่ ๆ เสมอ เทคโนโลยี 3.ควรใชแ้ ผ่นรองเมาสข์ ณะใช้งานทุกคร้ัง 4.หา้ มดึงสายไฟท่ีตอ่ เชือ่ มอปุ กรณข์ ณะใชง้ าน 1.ปรบั แสงสวา่ งของหน้าจอใหเ้ หมาะสมกบั ควงตา 2 นั่งในท่าทเี่ หมาะสมและไม่อยู่ใกล้หน้าจอมากเกนิ ไป 3. พกั สายตาพักอิริยาบถทกุ ๆ 20 นาที 4. ใช้เก้าอ้ีทีม่ ีขนาดเหมาะสมกบั แตล่ ะบคุ คล 56
บรรณานุกรม กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ม.ป.ป. ). ตวั ช้วี ัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลางกลมุ่ สาระ การเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลักสตู รแกนกลาง การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานพุทธศักราช 2551. ม.ป.ท. : ม.ป.พ. ณาตยา ฉาบนาค. (2550), คอมพวิ เตอร์ส�ำ หรบั เด็ก. กรงุ เทพฯ : เอส.พ.ี ซี.บุ๊คส์ ทศิ นา แขมมณี. (2552), ศาสตร์การสอนองค์ความรเู้ พ่ือการจดั กระบวนการเรียนรทู้ ี่ มปี ระสทิ ธภิ าพ. กรงุ เทพฯ: สำ�นักพิมพแ์ หง่ จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัยเทคนิค เทคนคิ เบ้ืองตน้ สำ�หรับเปล่ยี นแปลงตวั ละคร SCRATCH. สบื ค้นเมอ่ื 20 กันยายน,2564, จากเว็บไซต์ http://aha.ipst.ac.th/ change-sprito scratch / ผกามาศ บุญเผือก, (2551), เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารป.1. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์. _______.(2551), เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารป. 2, กรงุ เทพฯ: อกั ษรเจรญิ ทัศน์ เริม่ ตน้ สอนเขยี นโปรแกรมงา่ ยนิดเดยี ว. สืบคน้ เมื่อ 20 กนั ยายน, 2564 จากเวบ็ ไซต์ http://oho.ipst.ac.th/intro-to-programming/ เวบ็ ไซต์ Code.org. สืบคน้ เมื่อ 20 กนั ยายน, 2564, จากเว็บไซต์ https://code.org เวบ็ ไซต์ iStock. สบื คน้ เมอ่ื 20 กนั ยายน, 2564, จากเวบ็ ไซต์ https://www.istockphoto.com/th เว็บไซต์ Scratch. สบื คน้ เมอ่ื 20 กนั ยายน, 2564, จากเวบ็ ไซต์ https://scratch.mit.edu 57
Search