หนว่ ยท่ี 11 หนว่ ยที่ 11 ดลุ การคา้ และดลุ ชาระเงิน Aporn On-nual
ดลุ การคา้ และดุลชาระเงนิ 1 ดลุ การค้าและดลุ การชาระเงิน ความหมายและความสาคญั ของการค้าระหว่างประเทศ การค้าระหว่างประเทศ หมายถึง การซื้อขายสินค้าและบริการระหว่างประเทศต่างๆ ประเทศท่ีทาการซื้อขายสินค้าระหว่างกัน เรียกว่า \"ประเทศคู่ค้า\" สินค้าท่ีแต่ละประเทศซ้ือเรียกว่า \"สินค้าเข้า\" (imports) และสินค้าท่ีแต่ละประเทศขายไปเรียกว่า \"สินค้าออก\" (exports) ประเทศ ท่ีซื้อสินค้าจากต่างประเทศ เรียกว่า \"ประเทศผู้นาเข้า\" ส่วนประเทศที่ขายสินค้าให้ต่าง ประเทศ เรียกว่า \"ประเทศผู้ส่งสินค้าออก\" โดยท่ัวไปแล้ว แต่ละประเทศจะมีฐานะเป็นท้ังประเทศ ผู้นา สนิ ค้าเข้า และ ประเทศผู้สินค้าออกในเวลาเดียวกนั เพราะประเทศตา่ งๆ มีการผลิตสินค้า แตกต่าง กนั เชน่ ประเทศไทยส่ง สาเหตทุ ่ีมกี ารคา้ ระหว่างประเทศ เหตุผลทางเศรษฐกิจท่ีทาให้ประเทศต่างๆในโลกทาการค้าขายกัน ที่สาคัญมีอยู่ด้วยกัน 2 ประการ คอื 1. ความแตกต่างทางด้านทรัพยากรทใี่ ช้ผลิตในแต่ละประเทศ เน่อื งมาจากความ แตกต่างในเร่ืองสภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศ เช่น ประเทศ ไทยมีพ้ืนดินท่ีอุดมสมบูรณ์ เหมาะสมแกก่ ารเพาะปลูกมากกว่าญปี่ ่นุ คูเวตมีน้ามันมาก กว่าไทย จีนมีประชากรมากกว่าประเทศ อื่นๆ ดังน้ัน ประเทศใดที่มี ทรัพยากรชนิดใดมาก ก็จะผลิตสินค้าท่ีใชท้ รัพยากรชนิดนั้นๆเป็นปัจจัย การผลิตสนิ ค้าออกเพือ่ แลกเปลีย่ น กบั สนิ คา้ อ่นื 2. ความแตกตา่ งในเรื่องความชานาญในการผลติ เน่ืองจากผ้ผู ลิตของแตล่ ะประเทศ จะมีความชานาญและเทคโนโลยีในการผลิตสินค้าและ บริการแตกต่างกัน บางประเทศ ผ้ผู ลิตมีความร้คู วามชานาญเป็นพิเศษในการผลิตสินค้า บางชนดิ เช่น ประเทศญี่ปุ่นมีความรู้ความ ชานาญในการผลิตเคร่ืองมืออิเล็กทรอนิกส์ ประเทศเนเธอร์แลนด์มีความรู้ความชานาญในการผลิต เคร่ืองจักรกลการเกษตร ประเทศสวิตเซอร์แลนด์มีความรู้ความชานาญในการผลิตนาฬิกา ความ แตกต่างของ ปัจจัยดงั กลา่ วนผ้ี ลกั ดันให้แต่ละประเทศเลง็ เหน็ ประโยชน์จากการเลอื กผลิตสินคา้ บาง อย่างทม่ี ีต้นทนุ ตา่ มีความรูค้ วามชานาญ และเลือกสัง่ ซื้อสนิ คา้ แตะละประเภทท่ผี ู้บริโภค ในประเทศ ของตนต้องการแต่ไม่สามารถผลิตได้ หรือผลิตได้ในต้นทุนที่สูงเกินไป และปัจจัยเหล่าน้ีก้อให้เกิด การคา้ ระหว่างประเทศเกดิ ขนึ้
สาเหตสุ าคญั ที่กอ่ ใหเ้ กิดการคา้ ระหวา่ งประเทศ การค้าระหว่างประเทศเกิดข้ึนเนื่องจากประเทศต่าง ๆ ผลิตสินค้าได้ด้วยต้นทุนไม่เท่ากัน ประเทศทส่ี ามารถผลิตสินค้าชนิดใดชนิดหน่ึงด้วยต้นทุนท่ีต่า เม่ือเปรียบเทยี บกบั ประเทศอน่ื ๆ ประเทศ นั้นจะเป็นผู้ผลิตและส่งสินค้าไปขายที่อ่ืน ๆ เหตุที่ประเทศต่าง ๆ ผลิตสินค้าด้วยต้นทุนที่ต่างกัน เพราะว่า มีความแตกต่างในปริมาณและทรพั ยากร กลา่ วคือ บางประเทศมีแร่ธาตมุ าก บางประเทศเป็น แหล่งน้ามัน บางประเทศมีป่าไม้มาก เป็นต้น ประกอบกับความแตกต่างของสภาพภูมิประเทศและ ภูมิอากาศ ส่งผลให้สินค้าบางชนิดสามารถผลิตได้ในบางพื้นที่เท่านั้น เช่น ยางพาราส่วนมากผลิตใน ประเทศมาเลเซีย และหมู่เกาะอินเดียตะวันออก กาแฟส่วนมากมาจากบราซิล เป็นต้น ประเทศท่ีมี ทรัพยากรการผลิตชนิดใดมาก จะได้เปรียบในการผลิตสินค้าซึ่งต้องใช้ทรัพยากรชนิดนั้นเป็นปัจจัยการ ผลิต เพราะราคาของปัจจัยการผลิตชนิดนั้นจะต่า เน่ืองจากมีมากเม่ือเทียบกับความต้องการซ่ึงมีผลให้ ต้นทุนการผลิตตลอดจนราคาขายต่าไปด้วย ประเทศจึงควรผลิตสินค้าดังกล่าวเพื่อส่งออกและนาเข้า สินค้าท่ีขาดแคลน หรือสินค้าที่มีราคาสูงโดยเปรียบเทียบกับประเทศอื่น ๆ เช่น ประเทศไทยมีที่ดินมาก และสภาพภมู ิอากาศเหมาะสมสาหรับเพาะปลูกพืชผลทางการเกษตร เม่ือเทียบกับญ่ีปุ่น ดังนั้นไทยควร จะผลิตข้าวหรอื สินค้าทางการเกษตรอย่างอ่ืนเปน็ สินคา้ ส่งออกเพราะต้นทุนตา่ กว่า ในขณะทญ่ี ่ีปุ่นก็ควร ผลิตสินค้าประเภททุน เช่น เคร่ืองจักรเครื่องมือ รถยนต์ เน่ืองจากมีที่ดินน้อย แต่มีปัจจัยทุนมาก ส่งผล ให้ต้นทุนในการผลิตสินค้าในญี่ปุ่นต่ากว่าไทย จึงปรากฏว่า ญี่ปุ่นต้องซื้อข้าวจากไทยและไทยต้องซ้ือ เครอ่ื งจักรเครอื่ งมอื จากญปี่ นุ่ อย่างไรกต็ ามความมากน้อยของทรัพยากรตลอดจนปัจจัยการผลิตที่มีอยู่เพยี งอย่างเดียวมิใช่ เป็นส่ิงที่กาหนดต้นทุนให้ต่ากว่าประเทศอ่ืนเสมอไป ทั้งน้ีขึ้นอยู่กับปัจจัยอ่ืน ๆ ด้วย เช่น ความชานาญ ของประชากรระดับเทคโนโลยี เป็นต้น จริงอยู่ ไทยและฟิลิปปินส์ต่างก็เป็นประเทศที่มีแรงงานเป็น จานวนมากและค่าจ้างค่อนข้างต่าเม่ือเปรียบเทียบกับหลายประเทศ แต่มิได้หมายความว่าไทยและ ฟิลิปปินส์จะมคี วามได้เปรยี บในเรื่องต้นทุนการผลิตเท่ากับญี่ปุ่นหรอื สวิตเซอรแ์ ลนด์ เพราะวา่ คุณภาพ ของประชากรในการผลิต ตลอดจนความเจริญทางเทคโนโลยีของประเทศญ่ีปุ่นและสวิตเซอร์แลนด์สูง กว่าไทยมาก ทาให้ต้นทุนการผลิตนาฬิกาของญี่ปุ่นหรือ สวิตเซอร์แลนด์ ต่ากว่าไทย จึงปรากฏว่า ไทย ตอ้ งซื้อนาฬิกาจากประเทศเหล่าน้ี นั่นหมายถงึ ว่านอกจากปรมิ าณของทรัพยากรแลว้ ประสิทธภิ าพการ ผลิตหรือความชานาญของปจั จยั กเ็ ป็นสงิ่ สาคัญในการกาหนดต้นทนุ การผลิตสินค้า ความแตกต่างดังกล่าวข้างต้น คือ ความแตกต่างในปริมาณและชนิดของทรัพยากร สภาพ ภูมิอากาศและความชานาญในการผลิตประกอบกับความไม่สามารถผลิตสินค้าได้ทุกชนิดท่ีต้องการได้ เองภายในประเทศ จึงมีความต้องการแลกเปล่ียนสินค้าบางอย่างที่ผลิตได้กับสินค้าท่ีต้องการแต่ไม่ สามารถผลิตได้ภายในประเทศ หรือผลิตได้คุณภาพก็ไม่ดีพอการค้าระหว่างประเทศจึงเกิดขึ้นมาโดยมี
หลักการสาคัญคือ ประเทศจะผลิตสินค้าท่ีตนเองขาดแคลนหรือผลิตได้แต่ต้องใช้ต้นทุนสูงจาก ตา่ งประเทศการซื้อขายแลกเปล่ยี นกันตามหลักการแบง่ งานกันทาย่อมทาใหก้ ารใชท้ รพั ยากรของโลกที่มี อยู่อย่างจากัดมีประสิทธิภาพสูงขึ้น ซึ่งเราสามารถพิจารณาจากการค้าขายของบุคคลภายในประเทศ นนั่ คือ พ่อบ้านจะไม่ยอมตัดเสื้อเพ่ือสวมใส่เอง ถ้าหากเขาสามารถซือ้ เสื้อผ้าจากท้องตลาดในราคาท่ีต่า กวา่ ตน้ ทุนทีเ่ ขาผลติ เอง ในทานองเดียวกัน ช่างตดั เสื้อยอ่ มไมพ่ ยายามทารองเท้าใช้เองแต่จะซื้อรองเท้า ใช้จากช่างทารองเท้า ชาวนาย่อมไม่ตัดเสื้อหรือตัดรองเท้าโดยเขาจะจ้างช่างตัดเส้ือหรือจ้างช่างตัด รองเท้าเมื่อเขาเห็นว่า ราคาท่ีเขาจ่ายไปต่ากว่าต้นทุนที่เขาต้องจ่าย เป็นต้น ทุกคนควรจะผลิตสินค้าท่ี ตัวเองมีความถนัดและชานาญและนาไปขายหรือแลกเปลี่ยนกับสินค้าท่ีตนเองต้องการ จะทาให้ทุกคน ได้รับประโยชน์จากสินค้าและบริการเพื่อตอบสนองความต้องการท่ีเพิ่มขึ้นหรือราคาที่ต่าลง ดังนั้น ประเทศก็เช่นเดียวกับบุคคล โดยท่ีจะได้รับประโยชน์มากข้ึน ถ้าหากประเทศสามารถซื้อสินค้าจาก ประเทศอนื่ ๆ ในราคาต่ากวา่ ตน้ ทนุ ท่ีผลิตได้ภายในประเทศ นโยบายการคา้ ระหว่างประเทศ นโยบายการคา้ แบบเสรี เป็นนโยบายทีจ่ ะสง่ เสรมิ ให้ประเทศตา่ งๆ นาสนิ คา้ มาทาการคา้ ขายระหวา่ งกันอย่าง เสรี โดย ปราศจากขอ้ จากัดใดๆ ประเทศท่จี ะถอื นโยบายการค้าโดยเสรีจะต้องอยใู่ นเงอ่ื นไข ดงั นี้ 1. ต้องดาเนินการผลิตตามหลักการแบ่งงาน คือ ทุกประเภทจะต้องเลือกผลิตเฉพาะท่ีมี ประสทิ ธภิ าพการผลติ สงู 2. ต้องไม่มีการเก็บภาษี หรือมกี ารเกบ็ ภาษีแต่น้อย โดยไมม่ จี ดุ มงุ่ หมายให้เกิดความ ไดเ้ ปรียบ เสียเปรยี บ 3. ต้องไม่มีการให้สิทธิพิเศษและไม่มีข้อจากัดทางการค้ากับประเทศต่าง ๆ หากถือตาม เงื่อนไขนี้แล้วในปัจจุบันไม่มีประเทศใดท่ีจะมีนโยบายการค้าโดยเสรีได้ อย่างเป็นทางการเพราะ นโยบายลักษณะนี้ประเทศที่กาลังพัฒนาจะเสียเปรียบประเทศท่ีพัฒนาแล้วเป็นอย่างมาก แต่บาง ประเทศมกี ารตกลงรว่ มกันอยบู่ า้ ง เช่น กลุม่ สหภาพยโุ รป เปน็ ต้น
นโยบายการคา้ แบบคมุ้ กนั เป็นนโยบายที่มุง่ สนับสนนุ ภาพการผลิตในประเทศ มีหลักการตรงกันขา้ มกับนโยบาย การค้า โดยเสรี คือรฐั บาลจะใชเ้ ครื่องมือต่างๆ เพ่ือจากัดการนาเข้าและสง่ เสริมการส่งออก วัตถุประสงคข์ องนโยบายการค้าแบบค้มุ กัน พอสรปุ ได้ดังน้ี 1. เพ่ือให้ประเทศช่วยตนเองได้เม่ือเกิดภาวะฉุกเฉิน เช่น เมื่อเกิดสงครามข้ึน อาจจะไม่ มี สินค้าท่ีจาเป็นบางอย่างใช้ เพราะไม่สามารถนาเข้ามาตามปกติได้ ในยามปกติจึงควรเตรียม การผลิต สินคา้ ท่ีจาเปน็ สารองไว้ 2. เพ่ือคุ้มครองอุตสาหกรรมภายใน โดยเฉพาะอุตสาหกรรมที่เพิ่งเกิดใหม่ ถ้ารัฐบาล ไม่ห้าม สินค้าจากต่างประเทศเขา้ มาตีตลาด อุตสาหกรรมภายในจะต้องเลกิ ลม้ กิจการ 3. เพ่ือป้องกันการท่มุ ตลาด การทุ่มตลาด ได้แก่ การส่งสินค้าไปขายประเทศอื่น ในราคาที่ต่า กว่าต้นทุนเพือ่ ทาลายคู่แข่งขันในตลาดต่างประเทศ และเม่ือทุ่มตลาดสาเร็จได้ครองตลาดแห่งน้ันแล้วก็ จะเพิ่มราคาสนิ ค้าใหส้ งู ข้ึนในเวลาต่อมา 4. เพ่อื แกป้ ัญหาการขาดดลุ การคา้ การขาดดุลการค้า คือ มูลคา่ สนิ คา้ ทส่ี ่งไปขายต่างประเทศ นอ้ ยกว่ามลู ค่าสินค้าท่ีนาเขา้ มา ทาให้ต้องเสยี งเงินตราต่างประเทศออกไป จานวนมาก จึงต้องแก้ไขโดย จากดั การนาเขา้ และส่งออกใหม้ ากขนึ้ เคร่ืองมือท่ีใช้ในการดาเนินนโยบายการค้าคุ้มกัน จะมุ่งส่งเสริมการส่งสินค้าออกและกีดกัน การนาสินคา้ เข้า คอื 1. การตั้งกาแพงภาษี ( Tariff Wall ) จะใช้วิธีการจัดเก็บภาษีศุลกากรจากสินค้านาเข้า หลายอัตรา คือ จัดเก็บภาษีศุลกากรตั้งแต่ 2 อัตราข้ึนไปในสินค้าชนิดเดียวกัน และเลือกใช้อัตราสูงแก่ สนิ ค้าท่ตี อ้ งการจะกดี กันไม่ใหน้ าเข้า ซง่ึ เป็นมาตรการทางออ้ ม 2. การควบคมุ สนิ ค้า อาจเป็นการห้ามโดยเดด็ ขาดหรือกาหนดโควต้า ( Quota ) ให้ นาเข้าหรือส่งออก 3. การให้การอุดหนุน ( Subsidies ) เช่น การจ่ายเงินอุดหนุนให้แก่ผู้ผลิต ลดภาษี บางอย่างให้ เป็นตน้ 4. การทุ่มตลาด ( Dumping ) คือ การส่งสินค้าออกไปขายต่างประเทศในราคาทต่ี ่า กวา่ ราคาขายภายในประเทศ และดว้ ยราคาท่ตี ่ากวา่ ตน้ ทนุ การผลิต ซงึ่ มี 3 กรณี คอื 1.) การทุ่มตลาดเฉพาะกิจ เพ่ือล้างสินค้าเก่าที่ค้างสต๊อก หรือเป็นสินค้าท่ีล้าสมัย หรือเปน็ สนิ ค้าที่ไมข่ ายภายในประเทศ เพือ่ รกั ษาระดบั ราคาสนิ คา้ นน้ั ในตลาดภายในไว้
2.) การทุ่มตลาดเป็นการชั่วคราว เป็นนโยบายท่ีจะส่งสินค้าไปขายต่างประเทศใน ราคาต่ากว่าตลาดภายในประเทศเป็นการช่วั คราว และบางครง้ั ตอ้ งขายต่ากว่าทุน การคา้ ระหว่างประเทศของประเทศไทย การค้าระหว่างประเทศเกิดข้ึนเน่ืองจากการที่โลกได้ถูกแบ่งออกเป็นประเทศ แต่ละประเทศ ต่างผลิตสินคา้ หรือบรกิ ารแตกตา่ งกัน เมื่อแตล่ ะประเทศต่างเกิดความตอ้ งการท่ีจะแลกเปลยี่ นสินคา้ และ บรกิ ารท่ีตนผลิต ได้เป็นจานวนมากกับสินค้าและบริการที่ตนผลิตได้น้อยหรือผลิตไม่ได้เลยกับประเทศอ่ืน ประกอบกบั การคมนาคมไปมาหาสูก่ นั สะดวก การคา้ ระหว่างประเทศจงึ เกิดขน้ึ การที่แต่ละประเทศผลิตสินค้าหรอื บริการไดแ้ ตกตา่ งกนั เปน็ เพราะสาเหตตุ ่อไปนี้ 1. แต่ละประเทศต่างมีลักษณะท่ีต้ังต่างกัน ลักษณะท่ีตั้งของบางประเทศเอื้ออานวยให้เกิด การผลิตสินค้าหรือบริการ เช่น ประเทศท่ีมีชายฝ่ังทะเลก็จะมีอุตสาหกรรมต่อเรือเพื่อขนส่งสินค้าหรือ การให้ การบริการขนถ่ายสนิ ค้าโดยใช้ทา่ เรือนา้ ลกึ บางประเทศมีภมู ิประเทศงดงาม จะมอี ุตสาหกรรมการทอ่ งเทยี่ วเกดิ ข้นึ 2. แต่ละประเทศมีแร่ธาตุซ่ึงเป็นทรัพยากรธรรมชาติมากน้อยต่างกัน เช่น สวีเดนมีเหล็ก เยอรมันมีถ่านหิน เวเนซูเอลาและตะวันออกกลางมีน้ามัน แอฟริกาใต้มีทองคาและยูเรเนียม ประเทศ เหล่านีก้ ็จะนาแรธ่ าตขุ ึ้นมาใชแ้ ละสง่ เปน็ สนิ ค้าออก 3. แต่ละประเทศมีลักษณะดินฟ้าอากาศท่ีแตกต่างกัน เช่น สหรัฐอเมริกาและแคนาดาเป็น ประเทศท่ีอยใู่ นเขตอบอุ่นสามารถปลูกข้าวสาลีได้ ไทยอยู่ในเขตมรสมุ สามารถปลูกข้าวได้ บราซิลเป็น ประเทศในเขตศนู ยส์ ูตรสามารถปลูกกาแฟได้ จากการท่ีพืชผลสามารถข้ึนได้ดี ตามสภาพดนิ ฟ้าอากาศ แต่ละชนิดดงั กลา่ วทาให้แต่ละประเทศสามารถผลิตพชื ผลชนิดนัน้ ได้เป็นจานวนมาก เมอื่ มเี หลอื กส็ ามารถส่งเป็นสินค้าออก นอกจากนี้ยังมีทฤษฎียืนยันว่า \"ถ้าทุกประเทศแบ่งงานผลิตสินค้าและบริการตามที่ตนถนัด หรือเมื่อเปรียบเทียบแลว้ ได้เปรียบจะทาให้มผี ลผลติ เกิดขนึ้ มากกว่าตา่ งคนต่างผลติ \"
ดุลการคา้ และดุลการชาระเงนิ ในการทาการค้าระหว่างประเทศนน้ั ประเทศหน่ึง ๆ ย่อมต้องบนั ทึกรายการทีเ่ กิดขึ้น เพราะ จะทาให้ได้ทราบผลการติดต่อค้าขายกับต่างประเทศ รายการค้ากับต่างประเทศนี้อาจบันทึกอยู่ใน 2 รปู แบบดว้ ยกัน คอื ดลุ การคา้ และดุลการชาระเงนิ ดุลการค้า (Balance of Trade) ได้แก่ การเปรียบเทียบมูลค่าของสินค้าที่ประเทศหนึ่ง ส่งออกขาย (export) ให้ประเทศอื่น ๆ กับมูลค่าของสินค้าท่ีประเทศน้ันส่ังซ้ือเข้ามาจาหน่ายว่ามาก นอ้ ยต่างกนั เท่าไรในระยะ 1 ปี เพือ่ เปรยี บเทยี บว่าตนได้เปรยี บหรือเสียเปรยี บ ผลกระทบของการคา้ ระหวา่ งประเทศ แม้ว่าการค้าระหว่างประเทศ จะก่อให้เกิดประโยชน์แก่ประเทศคู่ค้าดังท่ีกล่าวมาแล้วข้างต้น การค้าระหว่างประเทศก็มีผลกระทบท่ีไม่พึงปรารถนาแก่ประเทศคู่ค้าได้เหมือนกัน ผลกระทบท่ีสาคัญ พอจะจาแนกได้อยา่ งน้อย 4 ประการ ด้วยกนั คอื 1. ผลต่อเสถียรภาพของราคา การค้าระหว่างประเทศท่ีมุ่งเน้นให้ประเทศผลิตสินค้าที่ตน ได้เปรียบโดยเปรียบเทียบไม่กี่ชนิด หรือชนิดเดียวนั้นจะเป็นผลให้รายได้ของประเทศข้ึนอยู่กับการ จาหน่ายสินค้าออกเพียงไม่กี่ชนิด การผลิตและรายได้ของประเทศจึงเปลี่ยนแปลงได้ง่าย ตัวอย่างเช่ น ในอดีตท่ีผ่านมา รายได้จากการส่งออกของไทยมาจากข้าว ยามใดที่ไทยสามารถส่งข้าวออกได้มาก เน่อื งจากความต้องการขา้ วในตลาดโลกมีสงู จะมีผลให้รายได้ของประเทศเพิ่มขนึ้ ทาให้เศรษฐกิจรุง่ เรอื ง และประชาชนมีการใช้จ่ายมากจะทาใหเ้ กิดภาวะเงินเฟ้อได้ ในกรณีตรงข้าม หากอุปสงค์จากตา่ งประเทศในการเสนอซ้ือข้าวลดลงอย่างฮวบฮาบ กจ็ ะทา ให้รายได้จากการจาหน่ายข้าวลดลง การใชจ้ ่ายในประเทศลดลง จนทาให้เกิดภาวะเงนิ ฝืด เป็นต้น และ ถ้าระบบเศรษฐกิจมีการพึ่งพา การนาเข้าจากต่างประเทศในระดับสูงก็จะก่อให้เกิดปัญหาของ เสถียรภาพราคาได้เช่นกัน เช่น การข้ึนราคาน้ามันดิบอย่างฮวบฮาบของกลุ่ม ผู้ผลิตน้ามันเพ่ือส่งออก (OPEC) เม่อื พ.ศ. 2516 และ พ.ศ. 2523 ทาใหเ้ กิดภาวะ เงินเฟอ้ ข้ึนท่ัวโลกและมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยเป็นอันมาก เนือ่ งจากน้ามันเป็นส่ิงจาเป็น ในการผลติ ทาให้ต้นทุนการผลิตสนิ ค้าสงู ขน้ึ ราคาสินคา้ จึงต้องสงู ขน้ึ ตาม ทาให้ระดับราคาสินคา้ โดยทัว่ ๆไปสูงข้นึ ได้ 2. ผลต่อเสถียรภาพทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ การเนินนโยบายการค้าระหว่างประเทศที่ สนับสนุนให้ประเทศผลิตสินค้าที่ตนเองมีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบน้ันมีผลให้หลาย ๆ ประเทศ อาจต้องซื้อสินค้าเข้าประเทศเป็นมูลค่ามากกว่ามูลค่าสินค้าออก ทาให้เกิดการขาดดุลในดุลการค้า
อาจจะทาให้ดุลการชาระเงินระหว่างประเทศขาดดุลดว้ ย ซง่ึ จะทาให้ประเทศตอ้ งสญู เสียทองคา หรือทุน สารองเงินตราตา่ งประเทศ (ดังจะไดก้ ล่าวต่อไป) สาเหตสุ าคัญเนื่องจาก อตั ราการค้า (term of trade) ของประเทศคู่ค้าไม่เท่ากัน ในกรณีของประเทศกาลังพัฒนาโดยท่ัวไป สินค้าส่งออกมักจะเป็นสินค้า เกษตรกรรม ซ่งึ ระดับราคามักจะต่ากว่าและขาดเสถียรภาพ เม่ือเทยี บกับราคาสินค้านาเขา้ ซ่งึ มกั จะเป็น สนิ ค้าจาพวกทนุ และสนิ ค้าอตุ สาหกรรม ผลท่ีตามมาคืออัตราการค้าของประเทศกาลังพัฒนามีแนวโน้ม ลดลง น่ันคือ มูลค่าจากการส่งสินค้าออกน้อยกว่ามูลค่าของสินค้านาเข้าส่งผลให้เกิดปัญหาเสถียรภาพ เศรษฐศาสตรต์ อ่ ประเทศคือ ปญั หาดุลการคา้ และดุลการชาระเงินขาดดลุ ในท่ีสุด 3. ผลต่อความเป็นธรรมในการกระจายรายได้ระหว่างประเทศ การท่ีอัตราการค้าระหว่าง ประเทศของประเทศกาลังพัฒนามีแนวโน้มลดลงนั้น ทาให้การกระจายรายได้ในระดับนานาชาติซึ่งไม่ เท่าเทียมกันอยู่แล้วย่ิงมีความไม่เป็นธรรมมากขึ้น ทั้งน้ีเพราะเป็นการโอนทรัพยากรจากประเทศกาลัง พัฒนาไปสู่ประเทศพัฒนาโดยกระบวนการขาดดุลการค้าและดุลการชาระเงินนั่นเอง ในขณะเดียวกัน การหล่อหลอมรสนิยมระหว่างประเทศให้อยู่ในแบบแผนเดียวกัน ก็เป็นกลไกสาคญั อีกประเภทหน่ึงที่ทา ให้การกระจายรายได้ระหว่างประเทศเลวลงเพราะว่าบริษัทการค้าขนาดใหญ่ในประเทศท่ีตามมาก็คือ การบริโภคสินค้าจาพวกอุปโภคและบริโภคในสินค้าอุตสาหกรรมนาเข้ามามีมากข้ึน ทาให้ต้องเสีย เงินตราต่างประเทศมากขึ้น ในขณะทร่ี ายได้จากการขายสินค้าออกเพ่มิ ข้ึนนอ้ ยกวา่ 4. ผลต่อประสิทธิภาพของ นโยบายทางเศรษฐกิจยิ่งภาคการค้าระหว่างประเทศขนาดใหญ่ ข้ึนเพียงใดทาให้ การดาเนินนโยบายทางเศรษฐกิจภายในประเทศจะมีประสิทธิภาพน้อยลงเท่านั้น เช่น เมื่อเกิดปัญหาเงินเฟอ้ ขึ้นภายในประเทศทผ่ี ่านกลไกของท้ังราคาสินค้าออกและราคาสินค้าเข้า นโยบาย เพ่อื แกป้ ัญหาเงินเฟ้อจะมีความยุ่งยากมากข้ึนตามไปด้วย เพราะในกรณี เชน่ น้ีรฐั บาลไม่เพยี งแต่จะตอ้ ง เข้าใจกลไกการทางานของระบบเศรษฐกจิ ภายในประเทศว่ามคี วามสมั พนั ธ์กันอย่างไร หากทวา่ ยงั ต้องมี ความรู้และความเข้าใจเก่ียวกบั เศรษฐกจิ และนโยบายทางเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้าดว้ ยว่ามีผลกระทบ อย่างไรต่อระบบเศรษฐกิจภายในประเทศ ทาใหก้ ลไกแก้ไขปัญหาดังกล่าวซบั ซอ้ นขนึ้
Search
Read the Text Version
- 1 - 8
Pages: