ประเทศไทยมีเศรษฐกิจใหญ่เป็ นลำดบั ที่สองในภมู ิภำคเอเชียตะวนั ออก เฉี ยงใต้ ควำมต้องกำรพลังงำนส่วนใหญ่รวมศูนย์อยู่ในพื้นที่บริ เวณ กรงุ เทพมหำนครและปริมณฑล ประเทศไทยยงั เป็นฐำนกำรผลิตอตุ สำหกรรม หนักจำนวนมำก และมีนักท่องเที่ยวจำนวนมำกในหลำยจงั หวดั ทวั่ ประเทศ ประเทศไทยเติบโตอย่ำงรวดเรว็ และมีจำนวนชนชนั้ กลำงเพิ่มขึ้น ด้วยเหตุนี้ ประเทศไทยจึงเผชิญกบั กำรเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้ำง ซ่ึงจะส่งผลต่อรปู แบบ ของกำรใช้พลงั งำนของประเทศในอนำคต 111
กำรกำหนดนโยบำยพลงั งำนของประเทศไทย ได้คำนึงถึงหลกั กำรดงั นี้ 112
กำรกำหนดนโยบำยพลงั งำนของประเทศไทยที่สอดคล้องกบั สถำนกำรณ์ พลงั งำนของโลกและเกิดควำมยงั่ ยืนในกำรพฒั นำ จึงมุ่งเน้นนโยบำยหลกั 4 ประกำร ดงั นี้ นโยบำยควำมมนั่ คงด้ำนกำรจดั หำพลงั งำน นโยบำยด้ำนกำรอนุรกั ษ์พลงั งำนและพฒั นำพลงั งำนทดแทน นโยบำยรำคำและกำรปฏิรปู ตลำดพลงั งำน นโยบำยด้ำนส่ิงแวดล้อมพลงั งำน 113
เพื่อให้สอดคล้องกบั นโยบำยของรฐั บำลที่ต้องกำรผลกั ดนั ยทุ ธศำสตร์ ไทยแลนด์ 4.0 กระทรวงพลงั งำน จึงได้กำหนดนโยบำยพลงั งำน 4.0 เพื่อ ขับเคลื่อนและสนับสนุนเศรษฐกิ จ ภำยใต้หลักกำร คือ กำรยกระดับ ประสิทธิภำพของระบบพลงั งำน และนำนวตั กรรมที่เหมำะสมมำใช้ในกำร พฒั นำซึ่งต้องครอบคลุมทงั้ ระบบ ตงั้ แต่กำรผลิต จดั หำ แปรรปู จนถึงกำรใช้ ตำมประเภทพลงั งำน ได้แก่ น้ำมนั เชื้อเพลิง กำ๊ ซธรรมชำติ ด้ำนไฟฟ้ำ 114
น โ ย บ ำ ย ก ำ ร ป ร ะ ห ย ัด พ ล ัง ง ำ น ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ไ ด้ เ ร่ิ ม ต้ น เ มื่ อ ปี พ.ศ. 2516 ซ่ึงอยู่ในช่วงแผนพฒั นำฯ ฉบบั ที่ 3 (พ.ศ. 2515-2519) โดยรฐั บำล ในขณะนัน้ ได้กำหนดมำตรกำรป้ องกนั กำรขำดแคลนน้ำมนั และประหยดั กำรใช้น้ำมนั และไฟฟ้ ำหลำยประกำร ซ่ึงบำงมำตรกำรมีลกั ษณะชวั่ ครำว สำหรบั มำตรกำรด้ำนกำรอนุรกั ษ์พลงั งำน หรือกำรประหยดั กำรใช้พลงั งำนที่ ใช้ในแผนพัฒนำฯ ฉบบั ที่ 4 (พ.ศ. 2520-2524) ก็ยังคงมีอย่ำงต่อเน่ื อง เน่ืองจำกกำรใช้น้ำมนั ยงั มีอตั รำท่ีสูงมำก อีกทงั้ กำรผลิตไฟฟ้ำยงั พึ่งพำน้ำมนั ปิ โ ต ร เ ลี ย ม จำกต่ำงประเทศในอตั รำที่สงู มำก มำตรกำรประหยดั พลงั งำนในขณะนัน้ ครอบคลุม ทงั้ กำรคมนำคมขนส่ง อตุ สำหกรรม ภำคส่วนรำชกำรซึ่งส่วนใหญ่เป็นมำตรกำร ชวั่ ครำวที่เน้นกำรแก้ไขปัญหำเฉพำะหน้ำเท่ำนัน้ 115
จำกมำตรกำรต่ำงๆ ที่รฐั บำลได้ใช้เพ่ือเป็ นกำรลดกำรใช้น้ำมนั และ ไฟฟ้ำในช่วงที่รำคำน้ำมนั ดิบในตลำดโลกมีรำคำแพงและขำดแคลนนัน้ ยงั ไม่ สำมำรถลดกำรใช้น้ำมนั และลดกำรพ่ึงพำน้ำมนั ปิ โตรเลียมจำกต่ำงประเทศลง ได้อย่ำงมีประสิ ทธิ ภำพ จวบจนกระทัง่ แผนพัฒนำเศรษฐกิ จและสังคม แ ห่ ง ช ำ ติ ฉบบั ที่ 5 (พ.ศ. 2525-2529) จึงได้มีกำรกำหนดนโยบำยทำงด้ำนพลงั งำนไว้ เพ่ือใช้เป็ นหลกั ในกำรพฒั นำด้ำนพลงั งำนของประเทศที่ก่อให้เกิดประโยชน์ สงู สดุ ต่อกำรพฒั นำประเทศโดยรวมถึงกำรปรบั โครงสร้ำงกำรผลิตและกำรใช้ พลังงำนให้ลดลง มำตรกำรประหยัดพลังงำนท่ี นำมำใช้เพื่อปรับปรุง ประสิทธิภำพกำรใช้พลงั งำนในสำขำอุตสำหกรรม และคมนำคมขนส่งตำม แผนพฒั นำฯ ฉบบั ท่ี 5 นัน้ กำหนดให้เน้นถึงประสิทธิภำพกำรใช้พลงั งำนต่อ หน่วยกำรผลิตให้เกิดกำรประหยดั และลดกำรใช้พลงั งำนลง โดยให้มีกำร ดำเนินงำนในรปู โครงกำรประหยดั พลงั งำนของประเทศ 116
โครงกำรดังกล่ำวได้ดำเนิ นมำอย่ำงต่อเน่ื องและขยำยขอบเขต กว้ำงขวำงเพ่ิมขึ้นจนถึงในช่วงของแผนพฒั นำฯ ฉบบั ที่ 6 (พ.ศ. 2530-2534) จึงได้กำหนดเป้ำหมำยเพ่ิมขึ้นให้มีกำรอนุรกั ษพ์ ลงั งำนในอำคำรพำณิ ชยแ์ ละ ที่อย่อู ำศยั ด้วย ภาพ หน่วยงานภาครฐั และเอกชนร่วมกนั รณรงคเ์ พอื่ ประหยดั พลงั งาน 117
แผนอนุรักษ์พลังงำน 20 ปี (พ.ศ. 2554-2573) เป็ นแผนกำหนด เป้ำหมำยกำรดำเนินงำนอนุรกั ษ์พลงั งำน มีรำยละเอียดและสำระสำคญั ดงั นี้ มีเป้ำหมำยที่จะลดควำมเข้มกำรใช้พลงั งำน (energy intensity) ลง 25% ในปี 2573 เมอื่ 1 เทียบกบั ปี 2548 หรือเทียบเท่ำ กำรลดกำรใช้พลงั งำนขนั้ สดุ ท้ำย (final energy) ลง 20% ในปี 2573 หรือประมำณ 30,000 พนั ตนั เทียบเท่ำน้ำมนั ดิบ (ktoe) 2 ภำคเศรษฐกิจท่ีจะต้องมีกำรอนุรกั ษ์พลงั งำนมำกที่สดุ คือ ภำคขนส่ง (13,400 ktoe ในปี 2573) และภำคอตุ สำหกรรม (11,300 ktoe ในปี 2573) 3 จะทำให้ค่ำ Energy Elasticity (อตั รำส่วนของอตั รำกำรเพ่ิมขึน้ ของกำรใช้พลงั งำนต่อ กำรเติบโตของGDP)ลดลงจำกค่ำเฉล่ียเมือ่ 20ปี ท่ีผำ่ นมำคือ0.98เหลือ 0.70ใน20 ปี ข้ำงหน้ำ 118
4 จะก่อให้เกิดผลกำรประหยดั พลงั งำนสะสมเฉล่ีย 14,500 ktoe ต่อปี คิดเป็นมลู ค่ำ 272,000 ล้ำนบำทต่อปี และหลีกเลี่ยงกำรปล่อยคำรบ์ อนไดออกไซดส์ ะสมเฉล่ีย 49 ล้ำนตนั ต่อปี 5 จะมีมำตรกำรทงั้ ภำคบงั คบั ด้วยกฎระเบียบกบั ภำคกำรสนับสนุนและส่งเสริม โดยภำคบงั คบั ท่ีสำคญั คือ กำรบงั คบั ใช้พระรำชบญั ญตั ิกำรส่งเสริมกำรอนุรกั ษ์พลงั งำน พ.ศ. 2535 และฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2550 และกำรกำหนดมำตรฐำนขนั้ ตำ่ และฉลำกประสิทธิภำพ พลงั งำน ส่วนภำคกำรสนับสนุนและส่งเสริมท่ีสำคญั คือ กำรให้เงินอดุ หนุนเพือ่ ชดเชย ผลประหยดั พลงั งำนที่ตรวจพิสจู น์หรอื ประเมินได้ (Standard Offer Program หรอื SOP) 6 จะเน้นมำตรกำรท่ีทำให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงทิศทำงตลำด (market transformation) และพฤติกรรมของผใู้ ช้พลงั งำน โดยกำรบงั คบั ให้ติดฉลำกแสดงประสิทธิภำพพลงั งำน ของอปุ กรณ์/เคร่อื งใช้ อำคำร และยำนยนต์ เพ่อื ให้ผบู้ ริโภคมีทำงเลือก 7 จะมีกำรบงั คบั ให้ธรุ กิจพลงั งำนขนำดใหญ่ เช่น ธรุ กิจไฟฟ้ำ น้ำมนั และกำ๊ ซ ต้องดำเนิน มำตรกำรส่งเสริมกำรอนุรกั ษ์พลงั งำนให้กบั ผใู้ ช้พลงั งำนตำมมำตรฐำนขนั้ ตำ่ (Energy Efficiency Resource Standard หรือ EERS) แทนกำรดำเนินกำรแบบสมคั รใจในอดีต 119
8 จะมีมำตรกำรช่วยเหลือทงั้ ด้ำนกำรเงินและเทคนิคสำหรบั ผปู้ ระกอบกำรรำยย่อย เช่น SMEs โดยเฉพำะกำรให้เงินอดุ หนุนผำ่ น Standard Offer Program (SOP) และกำรให้ควำมช่วยเหลือ ทำงเทคนิคผำ่ น Energy Efficiency Resource Standard (EERS) 9 เน่ืองจำกในอนำคตกำรใช้ยำนยนตม์ ีแนวโน้มเพิ่มสงู ขึน้ เร่ือยๆ แผนนี้จึงมีมำตรกำร ส่งเสริมกำรใช้ยำนยนตท์ ่ีมีประสิทธิภำพพลงั งำนสงู เช่น กำรบงั คบั ติดฉลำกแสดง ประสิทธิภำพพลงั งำน กำรบงั คบั เกณฑม์ ำตรฐำนขนั้ ตำ่ และกำรใช้มำตรกำรทำงภำษี เป็ นต้น จะมีกำรกระจำยภำระควำมรบั ผิดชอบด้ำนกำรส่งเสริมกำรอนุรกั ษ์พลงั งำนส่ภู ำคส่วน 10 ต่ำงๆ ของสงั คมมำกขึน้ โดยให้ภำคเอกชนเป็นห้นุ ส่วนที่สำคญั และกำรเพิ่มบทบำท ขององคก์ ำรบริหำรส่วนท้องถิ่น รวมทงั้ กำรให้หน่วยงำนภำครฐั แสดงบทบำทเป็น แบบอย่ำงท่ีดีในกำรอนุรกั ษ์พลงั งำน 120
แผนปฏิบตั ิการอนุรกั ษ์พลงั งาน 20 ปี (พ.ศ. 2554-2573) 121
กระทรวงพลงั งำน ได้จดั ทำแผนบูรณำกำรพลงั งำนระยะยำว 5 แผน เพื่อช่วยให้ กำรดำเนิ นนโยบำยด้ำนพลงั งำนในระยะยำวมีทิศทำงท่ีชดั เจนขึ้น ซึ่งเป็นกรอบที่จะนำมำ พฒั นำพลงั งำนของประเทศให้เกิดควำมมนั่ คงและยงั่ ยืน ในระยะยำว 21 ปี นับตงั้ แต่ พ.ศ. 2558-2579 ซึ่งประกอบด้วย 1 แผนพฒั นำกำลงั ผลิตไฟฟ้ำของประเทศไทยระยะ 21 ปี (พ.ศ.2558-2579) หรือ PDP 2015 2 แผนอนุรกั ษ์พลงั งำน พ.ศ. 2558-2579 หรอื EEP 2015 3 แผนพฒั นำพลงั งำนทดแทนและพลงั งำนทำงเลือก พ.ศ. 2558-2579 หรอื AEDP 2015 4 แผนบริหำรจดั กำรน้ำมนั เชื้อเพลิง พ.ศ. 2558-2579 หรือ Oil Plan 2015 5 แผนบริหำรจดั กำรกำ๊ ซธรรมชำติ พ.ศ. 2558-2579 หรือ Gas Plan 2015 122
ควำมต้องกำรพลงั งำนของไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในขณะที่เกิดปัญหำขำดแคลน พลงั งำน ดงั นัน้ จึงต้องมีกำรหำแหล่งพลงั งำนสำรอง และมีกำรนำพลงั งำนทดแทนมำใช้ จำกปัญหำ ดงั กล่ำวรฐั บำลจึงได้กำหนดนโยบำยกำรประหยดั พลงั งำนเป็ นครงั้ แรกในแผนพฒั นำเศรษฐกิจและ สงั คมแห่งชำติฉบบั ที่ 3 (พ.ศ. 2515-2519) และในแผนพฒั นำฯ ฉบบั ที่ 5 (พ.ศ. 2525-2529) ได้เน้น ประสิทธิภำพกำรใช้พลงั งำนต่อหน่วยกำรผลิต เพื่อให้เกิดกำรประหยดั โดยดำเนิ นกำรในรูป โครงกำรประหยดั พลงั งำน และในแผนพฒั นำฯ ฉบบั ท่ี 6 (พ.ศ. 2530-2534) ได้กำหนดเป้ำหมำยให้มี กำรอนุรกั ษ์พลงั งำนในอำคำรพำณิ ชย์และท่ีอยู่อำศยั ต่อมำในปี พ.ศ. 2535 ได้มีกำรประกำศใช้ พระรำชบญั ญตั ิกำรส่งเสริมกำรอนุรกั ษ์พลงั งำน และได้มีกำรจดั ทำแผนปฏิบตั ิกำรอนุรกั ษ์พลงั งำน 20 ปี (พ.ศ. 2554-2573) โดยมีกำรจดั ทำแผนปฏิบตั ิกำรทงั้ ระยะสนั้ ระยะปำนกลำง และระยะยำวเพ่ือ ขบั เคลื่อนกำรดำเนินงำนด้ำนกำรอนุรกั ษ์พลงั งำนให้เกิดสมั ฤทธิผล และตอบสนองต่อพนั ธกิจด้ำน อนุรกั ษ์พลงั งำนภำยใต้ข้อตกลงของผ้นู ำประเทศในกลุ่มควำมร่วมมือเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิ ก (เอเปก) ในกำรลดควำมเข้มข้นของกำรใช้พลงั งำน (Energy Intensity) ต่อไป 123
Search
Read the Text Version
- 1 - 14
Pages: