Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore powerpoint-12

powerpoint-12

Published by aporn_onn11, 2020-11-30 22:29:23

Description: powerpoint-12

Search

Read the Text Version

การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อมเพื่อพัฒนาทางด้าน สวัสดิการ สังคมและเศรษฐกิจย่อมมีจุดมุ่งหมายเพื่อเป็ นหลักประกนั ถึง สมรรถภาพของโลกท่ีมีต่อการพฒั นา และเกื้อหนุนชีวิต ปัญหาสิ่งแวดล้อมส่วน ใหญ่เกิดจากการกระทาของมนุษยท์ ี่ส่งผลกระทบมายงั ส่ิงแวดล้อม ไดแ้ ก่ เกิด ภาวะแห้งแล้ง การเกิดมลพิษ การสูญเสียพื้นท่ีเพาะปลูก การพงั ทลายของดิน เป็นต้น จึงทาให้มองเหน็ ความสาคญั ท่ีจะต้องมีการอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ ท่ีครอบคลุมถึงการจดั ระบบสิ่งแวดล้อม หรือการผลิตการดารงไว้ให้คงอย่นู าน ความจาเป็นท่ีต้องมีการจดั การทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เนื่องจาก 148

149

ความรุนแรงของปัญหาส่ิงแวดล้อมของไทย เกิดจากการใช้ทรพั ยากร ธรรมชาติ ของมนุษยท์ ี่ขาดการประเมินผลกระทบหรือการคาดคะเนผลเสียและ ผลดีที่จะเกิดขึ้นก่อนใช้ทรพั ยากรธรรมชาติ นักวิทยาศาสตรส์ ่ิงแวดล้อมเชื่อว่า หากมีการต่ืนตัวในการประเมินผลกระทบส่ิงแวดล้อมในอดีตแล้ว มลพิษ ส่ิงแวดล้อมท่ีปรากฏในปัจจบุ นั อาจมีน้อยกว่านี้ หรือไม่มีเลยกไ็ ด้ จากหลกั การ ดงั กล่าว รฐั จึงได้มีมาตรการแก้ไขปัญหาส่ิงแวดล้อม คือ “การวิเคราะห์ผล กระทบสิ่งแวดล้อม” (Environment Impact Assessment: EIA) 150

การวิเคราะหผ์ ลกระทบสิ่งแวดล้อม หมายถึง กิจกรรมในการจาแนก และการคาดคะเน ผลกระทบก่อนดาเนิ นโครงการพฒั นา โดยการวิเคราะหผ์ ลกระทบส่ิงแวดล้อมจะให้แนวทาง ในการแก้ไขผลกระทบสิ่ งแวดล้อมที่ จะเกิ ดขึ้น ตลอดจนระบบติ ดตามตรวจสอบเพ่ือการ อนุรกั ษ์ส่ิงแวดล้อมให้เกิดความยงั่ ยืน การศึกษาประเมินผลกระทบส่ิงแวดล้อมเร่ิมใช้ในประเทศสหรฐั อเมริกาในปี พ.ศ. 2512 สาหรบั ประเทศไทย นโยบายด้านส่ิงแวดล้อมเริ่มกาหนดในรฐั ธรรมนูญ พ.ศ. 2517 แต่เป็ น กฎหมายท่ีเป็ นเพียงแนวทาง ต่อมามีการประกาศใช้กฎหมายส่ิงแวดล้อมอย่างเป็ นทางการ ฉบบั แรก คือ พระราชบญั ญตั ิส่งเสริมและรกั ษาคณุ ภาพส่ิงแวดล้อมแห่งชาติพ.ศ. 2518 และ ได้กาหนดให้มีการจดั ทารายงานการประเมินผลกระทบส่ิงแวดล้อม (EIA) อย่างจริงจงั  ใน ปี 2524 โดยมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ให้มีการศึกษาเกี่ยวกบั ทรพั ยากรส่ิงแวดล้อมและคณุ ค่าต่างๆ ที่อาจจะถกู กระทบจากโครงการหรอื กิจการท่ีพฒั นานัน้ 151

การจดั การส่ิงแวดล้อม หมายถงึ การดาเนินการต่อสิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือให้ส่ิงแวดล้อมสามารถเอื้ออานวยประโยชน์ต่อมนุษยไ์ ด้ตลอดไปโดยไม่ขาด แคลน และไม่มีปัญหาใดๆ แนวคิดในการจดั การสิ่งแวดลอ้ มมีดงั นี้ 1 การสงวน (Preservation) หมายถึง การธารงไว้ซึ่งความสมดุลของ ธรรมชาติ โดยปล่อยให้ทรพั ยากรและส่ิงแวดล้อมมีการเจริญเติบโตและมี ความสมั พนั ธแ์ บบพ่ึงพาอาศยั ซึ่งกนั และกนั ตามธรรมชาติทุกประการ โดย มนุษยไ์ ม่ควรเข้าไปเกี่ยวข้อง 2 การอนุรกั ษ์ (Conservation) หมายถึง การดูแล ป้องกนั  รกั ษา ซ่อมแซม และการใช้ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มเพ่ือให้เกิดประโยชน์ต่อมนุษย์ มากที่สดุ 152

3 การพฒั นา (Development) หมายถงึ การปรบั ปรงุ ฟื้ นฟู บรู ณะส่ิงแวดล้อมให้ มีสภาพท่ีดีขนึ้ และสามารถนามาใช้ให้เกิดประโยชน์ 4 การใช้ประโยชน์ (Utilization) หมายถึง การนาทรพั ยากรธรรมชาติ และ สิ่งแวดล้อมมาใช้ประโยชน์อยา่ งถกู หลกั วิชาการ การวางแผนจดั การส่ิงแวดล้อม ต้องเป็ นไปตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วยขนั้ ตอนตามลาดบั ต่อไปนี้ 1 การสารวจเบอื้ งต้น 6 การประเมินสถานภาพของระบบ 2 การวางแผนเกบ็ และวิเคราะหข์ ้อมลู ทรพั ยากรและส่ิงแวดลอ้ ม 3 การสารวจ/เกบ็ ข้อมลู 7 การหาปัญหา 4 การวิเคราะหข์ ้อมลู 8 การสรา้ งมาตรการ 5 เปรียบเทียบ/ประเมินผล 9 การสร้างแผนงาน การวิเคราะหก์ บั ค่ามาตรฐาน 153

แนวทางในการจดั การสิ่งแวดล้อมมีหลายแนวทาง แต่ละประเทศจะมี การ กาหนดกฎหมายส่ิงแวดล้อม กฎข้อบงั คบั หรือมาตรฐานการจดั การสิ่งแวดล้อม เป็นมาตรฐานของตนเอง ซ่ึงอาจมีหลกั การดาเนินการบริหารจดั การที่แตกต่าง กนั ไป ซ่ึงอาจทาให้เกิดความขดั แย้งและความไม่เท่าเทียมกนั ด้านการค้า ระหว่างประเทศ ดงั นัน้ องคก์ ารการค้าโลก (World Trade Organization: WTO) จึงได้มีการปรบั ปรงุ มาตรฐานต่างๆ ขึน้  เพื่อใช้เป็ นมาตรฐานสากล (International Organization for Standardization: ISO) สาหรบั นามาเป็นมาตรฐานท่ีใช้จดั การ คณุ ภาพผลิตภณั ฑ ์ และการจดั การสิ่งแวดล้อม มาตรฐานสากลที่เก่ียวข้องกบั การผลิต และการจดั การสิ่งแวดล้อม ท่ีสาคญั ๆ มีดงั นี้ 154

155

แผนการจดั การสิ่งแวดล้อมหมายถึง การกาหนดกระบวนการและขนั้ ตอนในการ ดาเนิ นการต่อสิ่งแวดล้อมเก่ียวกบั การใช้การป้ องกนั แก้ไข ปรบั ปรุง และการฟื้ นฟูให้ เกิดผล ตอบสนองต่อมนุษยแ์ ละทรพั ยากรอื่นอยา่ งยนั่ ยืนและต่อเนื่อง มีขนาดและทิศทางที่ ชดั เจน ขนาดหรือปริมาณจะรวมไปถึงทรพั ยากรที่จะใช้ เช่น คน เงิน พื้นท่ี และเคร่ืองมือ ส่วนทิศทาง หมายถึง การกาหนดแนวทางการดาเนิ นการว่าจะไปทางใด สุดท้ายต้องนึกถึง เวลาที่ใช้ทงั้ โครงการหรือทงั้ แผนงาน การวางแผนจดั การทรพั ยากรและส่ิงแวดล้อมบางครงั้ ใช้คาว่า “สิ่งแวดล้อม” เพียงอย่างเดียวและบางครงั้ ใช้คาว่า “ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม” ให้เข้าใจว่า เป็ นส่ิงเดียวกนั “ทรพั ยากรธรรมชาติ” เป็ นส่วนหนึ่งของ “ส่ิงแวดล้อม” ฉะนัน้ คาว่า “สิ่งแวดล้อม” จึงใช้ครอบคลมุ คาว่า “ทรพั ยากรธรรมชาติ” ด้วย 156

1 แนวคิด 2 ขอบเขตของแผน 3 องคป์ ระกอบของแผนปฏิบตั ิการ 157

การจดั การทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็ นการบริหารงานท่ีเป็ นระบบ เพ่ือป้องกนั การ เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมจาก การบุกรกุ ธรรมชาติของมนุษย์ ด้วยกระบวนการบริหารจดั การตามแผนงานและบงั คบั ใช้กฎหมาย และท่ีสาคญั จะต้องให้คนในท้องถิ่นได้มีส่วนร่วม บริหารจดั การ สร้างเครือข่ายในชุมชนให้ ตระหนัก ถึงความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อม โดยยึดหลักการอนุรักษ์ รักษา และพัฒนา ทรพั ยากรธรรมชาติ เพ่ือให้ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการแก้ปัญหา หรือเสียน้อยลง ช่วยประหยดั การใช้ทรพั ยากร และทาให้ใช้ทรพั ยากรอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทงั้ ทาให้เกิดความปลอดภยั ต่อชีวิต และสิ่งแวดล้อม พระราชบญั ญตั ิส่งเสริมและรกั ษาคุณภาพส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 กาหนดให้จงั หวดั จดั ทาแผนปฏิบตั ิการ เพื่อจดั การคณุ ภาพสิ่งแวดล้อม โดยประกอบด้วยโครงการสร้างจิตสานึกและความตระหนัก โครงการเฝ้าระวงั และป้องกนั โครงการบาบดั และฟื้ นฟู และโครงการศึกษาวิจยั ปฏิบตั ิการในการจดั ทาแผนปฏิบตั ิ การต้องดาเนินการให้สอดคล้องกบั การอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ และครอบคลมุ การจดั การส่ิงแวดล้อมในด้าน คณุ ภาพของน้า คณุ ภาพอากาศและเสียงกากของเสีย และวตั ถอุ นั ตราย การจดั การทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในชมุ ชนต่างๆจะดาเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถป้องกนั และแก้ไขปัญหาด้านส่ิงแวดล้อมท่ีมีอยู่ได้นัน้ จาเป็ นต้องได้รบั ความร่วมมือร่วมใจจากประชาชน ทุกๆคน ภายในชุมชนนัน้ ๆ ตลอดจนการประสานความร่วมมอื จากภาครฐั และภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง 158


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook