Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปเนื้อหาการเรียนรู้ CBL 30.06.66

สรุปเนื้อหาการเรียนรู้ CBL 30.06.66

Published by maliwan getsak, 2023-07-03 04:33:08

Description: สรุปเนื้อหาการเรียนรู้ CBL 30.06.66

Keywords: cbl

Search

Read the Text Version

สรุปเนอื้ หาการเรียนรู ประจำวนั ที่ 30 มถิ ุนายน 2566 ภาคเชา : เวลา 09.00-12.00 น. การบรหิ ารยทุ ธศาสตรช าตดิ า นสาธารสขุ ชี้แจงแนวทาง หลกั การ กระบวนการ CBL 1 บรรยายโดย ดร.ไพสิฐ บุณยะกวี CBL:Community- based Learning การเรียนรูโดยใชชุมชนเปนฐาน มีกระบวนการดังนี้ 1. ใหค วามรูเ รอ่ื งแนวคดิ และกระบวนการ CBL กอนลงเกบ็ ขอมูลในพนื้ ทจ่ี ริง (CBL 1) 2. ศึกษาขอมลู พ้ืนทีเ่ บื้องตน เพือ่ วเิ คราะห ปญ หา และสาเหตขุ องปญหาสาธารณสุข หรือ ปญ หาทีส่ งผลตอ สขุ ภาพ (CBL 2) 3. วางแผนและสรางเครอ่ื งมือเพมิ่ เตมิ เพอื่ เก็บขอมูลทจี่ ำเปนสำหรับการวิเคราะห (CBL 3) 4. นำเสนอผูเชยี่ วชาญวพิ ากษใหข อ เสนอแนะ และปรับแกต ามขอ สนอ (CBL 4) 5. ลงพื้นท่เี พื่อเก็บขอมูลเพิ่มเติมเพอื่ หาปจ จัยทางดา นการบรหิ ารที่สงผลตอการจัดการสาเหตุ ของปญหา สาธารณสขุ หรือปญหาท่ีสง ผลตอ สุขภาพ (CBL 5, CBL 6, CBL 7) 6. รวบรวมและวิเคราะหข อ มลู ทไ่ี ด/ แผนการดำเนนิ การเดิมของพนื้ ท่ี เพอื่ แกไขหรือปรบั ปรุง แผนกลยุทธเ ดิม (CBL 8) 7. นำเสนอผูเชี่ยวชาญวิพากษใ หข อเสนอแนะ และปรับแกต ามขอเสนอ (CBL 9) 8. ศึกษาขอมลู พื้นที่ (เพ่ิมเตมิ ) และปรับแกไ ขผลการวเิ คราะหข อมลู (CBL 10) 9. นำเสนอผูเชยี่ วชาญวิพากษใ หข อเสนอแนะ และปรับแกต ามขอเสนอ (CBL 11) 10. สรปุ รายงานและนำเสนอกลยุทธ และแผนปฏบิ ัติการเพอื่ เปนขอมลู ปอนกลบั เพื่อการพัฒนา แกพ้ืนที่ พื้นท่ีรบั ฟง และใหข อ เสนอแนะ (CBL 12)

กระบวนการการเรยี นรูโ ดยใชชุมชนเปน ฐาน 1.การประเมินชมุ ชน (Community Assessment) : การศกึ ษาชมุ ชน รวบรวมขอ มลู และวเิ คราะหข อ มลู 2. การวนิ จิ ฉยั ปญ หาสุขภาพชมุ ชน (Community Diagnosis) : การวินิจฉยั ปญหา และการจัดลำดบั ความสำคญั ของปญ หา 3. การวางแผนเพ่อื แกปญหาสขุ ภาพชมุ ชน (Community Planning) 4. การปฏิบัติตามแผนงานสุขภาพชุมชน (Community Implementation) 5. การประเมนิ ผลการดำเนนิ งานสุขภาพชุมชน (Community Evaluation) 1.การประเมนิ ชมุ ชน (Community Assessment) “ ข้ันตอนของการประเมินชุมชน มี 5 ขนั้ ตอน 1.การสรางสมั พันธภาพกบั ผูนำชุมชน 2.การศึกษาชมุ ชน 3.การรวบรวมขอ มูล 4.การวเิ คราะหข อมูล 5.การสรุปผล และนำเสนอขอ มูล 2. การวินจิ ฉัยปญ หาสุขภาพชมุ ชน (Community Diagnosis) ข้ันตอนการวนิ ิจฉัยปญหาสขุ ภาพชุมชน 1. การระบปุ ญหาสุขภาพชุมชน (Identify problem) 2. การจดั ลำดบั ความสำคญั ของปญ หา (Priority setting) 3. การศกึ ษาสาเหตขุ องปญหา (Web of causation) การระบุปญ หาสขุ ภาพชุมชน (Identify problem) ปญหาสุขภาพชุมชน หมายถึง สภาวะท่เี กดิ ขน้ึ แลว มี ผลตอ สขุ ภาพอนามยั ของชุมชนโดยสวนรวม แบง เปน 2 ประเภท คอื -ปญหาความเจบ็ ปว ย หรอื โรค (Diseases) -ปญหาสภาพการณ (Conditions)

ปญ หาสขุ ภาพชมุ ชน วิธกี ารระบุปญ หาสขุ ภาพชุมชน (Identify problem) 1. ใชห ลัก 5 D (Death, Disability, Disease, Discomfort, Dissatisfaction) 2. เปรยี บเทียบกับเกณฑ หรอื คามาตรฐานสากล 3. ใชก ระบวนการกลุม ใชกระบวนการกลุม ▸ เปน การใหประชาชนมีสว นรวมในการตดั สินใจดวยตนเองวา อะไรเปน ปญหาอนามยั ชมุ ชน เปน การแสดงใหเห็นถงึ การรบั รขู องชมุ ชนตอ ปญหา ▸ ผดู ำเนินงานจะตองนำเสนอขอ มูลทผี่ า นการ วิเคราะหแ ลว ท้ังในเชิง ปรมิ าณ และคุณภาพใหชมุ ชนทราบกอน พรอ มทั้งเปด อภปิ รายถงึ ผลดี ผลเสยี ท่ีมผี ลตอ สขุ ภาพ หลงั จากน้นั จึงใหป ระชาชนลงความเห็นวา ขอ ใดสมควรเปนปญหาอนามยั ชมุ ชน การจดั ลำดบั ความสำคญั ของปญหา ❖ ปญ หาสขุ ภาพชมุ ชนมีหลายปญ หา แต ไมส ามารถแกปญหา ทัง้ หมด พรอ มกนั ในเวลาเดยี วกัน เนือ่ งจากขอจำกัดเรอ่ื ง เวลา งบประมาณ กำลังคน ฯลฯ ❖ บุคคลทเี่ ขา รว ม ควรมีความรู มปี ระสบการณ และมคี วามสามารถในการ มองเห็นปญหา เชน เจาหนา ท่ีสาธารณสุข และบุคคลใน ชมุ ชน เครื่องมอื และเทคนคิ การทำงานแบบมีสว นรวมของชุมชน 1 การประชมุ แบบมสี วนรว ม (Appreciation Influence Control : AIC) 2 การประชมุ เพอ่ื แสวงหาอนาคตรวม (Future Search Conference : FSC) 3 การวเิ คราะหจ ุดออน จุดแข็ง โอกาส ขอ จำกัด (SWOT) 4 กระบวนการเรยี นรูแบบมสี วนรวม (Participatory Learning) การเรยี นรแู บบมีสว นรว มเพอ่ื การพัฒนาสาธารณสขุ (Participatory Learning for Health Development) มขี ั้นตอน 5 ข้นั ตอน ดังน้ี 1. การศกึ ษาชมุ ชน 2. ระบปุ ญ หาสาธารณสขุ และจดั ลำดบั ความสำคญั ของปญ หา 3. จัดทำแผนปฏบิ ัตกิ าร และ จัดทำประชาคม 4. ดำเนินการตามแผน / โครงการ 5. ประเมนิ โครงการ

ขนั้ ตอนการศึกษาชุมชน ▸ สภาพโดยท่ัวไปของชุมชนเปนอยางไร ท้งั ในแง กายภาพ ประชากร เศรษฐกจิ สังคม และวฒั นธรรม และแหลง ประโยชนต างๆ ▸ โดยใชก รอบแนวคดิ ทางวิทยาการระบาด นเิ วศวทิ ยา สังคมวิทยา – วฒั นธรรมสุขภาพ มีปจจยั เส่ยี ง หรอื ภาวะเสี่ยงใดบา งในชมุ ชน เครือ่ งมือศึกษาชุมชน นพ.โกมาตร จึงเสถยี รทรัพย1 แผนที่ เดินดนิ 2 ผังเครอื ญาติ 3 โครงสรางองคกรชุมชน 4 ระบบสขุ ภาพชมุ ชน 5 ปฏทิ ินชุมชน 6 ประวตั ิศาสตรช ุมชน 7 ประวัตชิ ีวติ การทำกรณศี ึกษา (การเรียนรแู บบ CBL) ศึกษาที่ เกาะลันตา จ.กระบี่ การจดั ทำแผนยุทธศาสตร มี 3 ระยะ 1.ระยะสัน้ 1ป 2.ระยะกลาง 3-5 ป 3.ระยะยาว 10-20 ป

สรปุ เนื้อหาการเรียนรู้ ประจาํ วนั ท่ี 30 มิถนุ ายน 2566 ภาคบา่ ย : เวลา 13.00-16.00 น. : การบริหารยทุ ธศาสตรช์ าติด้านสาธารณสขุ ศึกษาข้อมลู พืน้ ท่ีเบอื้ งต้น CBL2 + RBM บรรยายโดย อ.ดร.ไพสิฐ บณุ ยะกวี การกาํ หนดจุดหมายปลายทาง (Ends) ทีต่ องการบรรลุ 1) จุดมุงหมายหรือเปาประสงค (Goals) เปนการแสดงถึงความคาดหวังที่ตองการ ใหเกิดขึ้นในชวงระยะเวลา ขางหนา ซึง่ มักจะมองในรปู ของผลลพั ธ (Outcomes) ใน อนาคตกาํ หนดอยางกวา งๆ 2) วัตถุประสงค (Objective) เปนองคประกอบที่เปนผลมาจากการแปลง จุดมุงหมาย (Goal) ใหเปนรูปธรรม มากขึ้นเพื่องายในการนําไปปฏิบัติ วัตถุประสงคจึง เปนการกําหนดผลผลิต (Output) ที่คาดหวังใหเกิดขึ้นอยาง กวาง ๆ แตชัดเจน และ สามารถปฏิบตั ิได 3) เปาหมาย (Targets) เปนองคประกอบที่เปนผลมาจากการแปลงวัตถุประสงคให เปนรูปธรรมในการปฏิบัติ มากขึ้น เปาหมายจึงเปนการกําหนดผลลัพธสุดทายที่เกิดขึ้น ระยะเวลาที่จะบรรลุผลสําเร็จน้ันดวยจากการปฏิบัติ ตามแผนโดยจะกําหนดเปน หนวยนับที่วดั ผลไดเ ชิงปรมิ าณ และกาํ หนดระยะเวลาทจ่ี ะบรรลุผลสำเรจ็ นน้ั ดว ย ขอ มลู DATA แผนท่ีดีเกดิ จากขอมูลมีคณุ ภาพ ผูนํามสี วนรวม ใครเปน คนวิเคราะห ตองใชขอมูลกี่รายการ ปจจยั ภายนอกก่ี รายการ ปจ จัยภายในกร่ี ายการ มแี หลง รวบรวมจากไหน/เพยี งพอไหม/เสถียรไหม/zoneปลอดภยั ใชเทคนิคอะไร ในการวิเคราะห – การวิเคราะหแ นวโนม การวิเคราะหความ ตองการของผูรับบรกิ าร SWOT ANALYSIS คอื การวเิ คราะหส ํารวจตรวจสอบสภาพแวดลอมภายในองคกรและสภาพแวดลอ มภายนอก องคก รซ่งึ เปนสวนหนงึ่ ของกระบวนการวางแผน SWOT คืออะไร? คําวา “SWOT” เปนคาํ ทยี่ อ มาจากตัวอกั ษรตวั แรกของคาํ 4 คาํ S = Strength คือ จุดแข็ง W = Weakness คือ จุดออ น O = Opportunity คือ โอกาส T = Treat คอื อปุ สรรคหรอื ภัยคุกคาม S กบั W จะเปนการวเิ คราะหส ภาพแวดลอ มภายในองคก ร

0 กบั T จะเปน การวเิ คราะหสภาพแวดลอ มภายนอกองคก ร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook