48 ธนาคารอาหารของชุมชน โหน่-นอแง หรือ หนองน้า เป็นแหล่งผลิตโปรตีนให้กับคน ในชุมชนตลอดปี ไม่เฉพาะหมู่บ้านท่ีมีโหน่-นอแง หรือ หนองน้า เทา่ นั้น แม้แต่หมู่บ้านข้างเคียงก็มาหาอาหารเช่นกัน ทั้งนี้ข้ึนอยู่กับ แต่ละฤดกู าล ถือไดว้ า่ เปน็ ธนาคารอาหารของชุมชน เม่ือความรอ้ นระอแุ ห่งเดือนลาเซอ (ราวเดือนเมษายน )สุก งอมติดต่อกัน 3-4 วัน มองไปท่ีท้องถนนดินแดง ความร้อนจาก แสงอาทิตย์กระทบผิวดินแห้งส่งผลให้ดินถูกย่างจนระเหยเป็นไอ ในช่วงเช้าก่อนท่ีแสงอาทิตย์จะเพ่ิมอุณหภูมิให้สูงข้ึนแก่โลก พอหมื่ อปก่า แม่บา้ นไดช้ วนลกู สาวออกจากบ้านพร้อมก๋วยไม้ไผ่ท่ีใส่ขวาน เล่มใหญ่ เมอ่ื เข้าสู่เขตป่าใช้สอย สายตากวาดไปท่ีพื้นในพ้ืนท่ีป่าสน ภูเขาธรรมชาติ ค้าสอนเดิมที่แม่เคยสอนเมื่อสมัยเยาว์วัยยังดังอยู่ ก้องหู ครัง้ นีก้ เ็ ชน่ กัน เธอจงึ ถ่ายทอดค้าสอนท่ีได้รับจากแม่ส่งต่อให้ ลูกสาว
49 “จ้าไว้นะ อย่าเลือกต้นสนท่ีถูกฟ้าผ่า มันจะมีสะเก็ดตอน เผาและมันจะกระโดดไปหาเสื้อผ้า ฝาบ้าน หรือหลังคาบ้านก่อเกิด ไฟไหม้ได้ อย่าผ่าเกี๊ยะที่ยังไม่ตายมาใช้งาน ควันมันจะเยอะท้าให้ เปน็ หวัดไดง้ า่ ย เลอื กผา่ เฉพาะต้นทลี่ ม้ ตายแลว้ เทา่ น้ัน” หลังจาก ท่ีเธอบอกลูกสาวเสร็จ เธอช้ีมือไปท่ีท่อนซุงสนที่นอนน่ิงสงบพร้อม จะเป็นครูใหญ่ในการผ่าฟืนให้เด็กสาวปกาเกอะญอ หลังได้รับ สัญญาณจากแม่ ผู้เป็นลูกจึงลงมือผ่าเก๊ียะโดยมีแม่คอยช้ีแนะวิธีให้ หลังจากท่ีหญิงสาวเรียนรู้การผ่าเกี๊ยะจนเหงื่อท่วมตัว ผู้เป็นแม่จึง บอกให้หยุด พร้อมกับน่ังพักครู่หนึ่ง จากน้ันทั้งสองแม่ลูกจึงน้า ทอ่ นสนเกยี๊ ะจากฝมี ือการผา่ ของลูกสาวใส่ก๋วยจนเต็ม แล้วยกก๋วย ใสห่ ลังลกู สาวเพอ่ื เดินทางกลับบา้ น “ตอนนี้ มีลูกสาวโตจนใช้งานได้แล้ว” ผู้คนในหมู่บ้านต่าง พดู กบั ผู้เปน็ แม่ที่ยมิ้ จนปากไมห่ บุ ในบ่ายวันที่มีลมพัดมาเฉื่อย ๆ ไม่แรงพอท่ีจะพัดก้อนเมฆ ก้อนใหญ่ให้เคล่ือนตัวออกไปจากชุมชนได้ แต่กลับมีเมฆก้อนเล็ก ก้อนน้อยจากที่อื่นทยอยมารวมกลุ่มสมทบกับก้อนใหญ่จนเริ่มยึด พ้ืนที่ทางอากาศในชุมชนเป็นบริเวณกว้างออกไปเรื่อยๆ เสียงฟ้า ร้องค้าราม จากเบา ๆ และดุดันมากย่ิงขึ้น แสงฟ้าแลบจากนาน ๆ ที จนถ่ี แวววับมากข้ึนเมฆคร้ึมมืด ปกคลุมทองฟ้า จนวันนี้ค้่าเร็ว กว่าปกติ ชาวบ้านทุกคนต่างรู้ดีว่าคืนน้ี มหกรรมบางอย่างก้าลังจะ เริ่มขน้ึ คนในชุมชนจึงรอคอยเม็ดฝนเม็ดแรกท่ีจะโปรยฝนลงมา ยัง ไม่ทันสิ้นเสียงลมท่ีพัดผ่านช่องหลังคาใบตองตึงและสังกะสี เริ่มมี บางอย่างตกลงมากระทบหลังคาบา้ น จากทีละเม็ดแล้วค่อยๆถ่ีข้ึนๆ จนมิอาจสามารถจ้าจา้ นวนได้ เสยี งเม็ดฝนที่กระทบหลังคาดังสนั่น
50 จนตอ้ งเสยี งพดู ตะโกนกนั ภายในบา้ น คนในบา้ นจึงเริ่มเตรียมเก๊ียะ สนโดยการผ่าเป็นซ่ีเล็กเรียวยาวประมาณ 60-70 เซนติเมตร แล้ว มดั เปน็ กองขนาดหนึง่ กา้ มอื แลว้ แตข่ นาดของมือแต่ละคน โดยมีข้อ ห้ามในการผ่าไม้เกี๊ยะคือห้ามผ่าโดยลักษณะการยกท่อนเกี๊ยะ กระแทกกับพ้ืน ต้องผ่าโดยการยืนแล้วกดหรือดันมีดลงสู่พ้ืนอย่าง นิ่มนวล เพราะมีความเชื่อว่าหากผ่าโดยลักษณะยกท่อนเกี๊ยะและ กระแทกกับพื้นจะท้าให้เจองูหรือตะขาบมาก เมื่อการเตรียมเก๊ียะ พร้อมแล้ว ทุกคนจึงรอเพียงการหยุดของสายฝน ระหว่างที่รอก็จะ มีการเตรียมกระบอกไม่ไผ่เพื่อเป็นภาชนะรองรับและใบกล้วยเพื่อ เปน็ ภาชนะปดิ หัวกระบอกไม่ไผ่ เมื่อฝนเริ่มซา ก้าเกี๊ยะชุดแรกจึงถูกจุดขึ้นมาพร้อมขบวน เดินทางสู่โหน่ หรือหนองที่ราบเชิงเขา ขบวนที่ออกมาโดยไม่มีการ นัดหมายแตต่ ่างร้กู ันโดยวิถี แสงไฟจากแต่ละหลังคาเรือนเคลื่อนสู่ ถนนมุ่งสู่โหน่ หูที่คอยเงี่ยงฟังเสียงจากในโหน่ จังหวะก้าวเริ่มเร่ง ตามเสียงร้องเรียกเหล่านั้น ยิ่งใกล้โหน่เสียงยิ่งเร่ิมดังและ หลากหลายมากขึ้น เมื่อมาถึงโหน่เสียงร้องที่ดังล่ันเหมือนวง ประสานเสียงที่มีโทนเสียงแตกต่าง ใหญ่ เล็ก สูง ต้่า กลาง แหลง นมุ่ ทมุ้ ในขณะทวี่ งรอ้ งประสานเสียงบรรเลง โดยเดะอ(ุ อ่งึ อา่ ง)
51 เดะโก๊ะ(กบ) ร้องเสียงเบส เดะชิ(เขียดนา) เดะลาเคลอ (เขียดหลังเขียว) ร้องเสียงโซปราโน เดะทอหน่า(เขียดหูยาว) เดะกวอเคลอ(เขียงหลังลาย) เดะหยื่อ(เขียดหนู) เดะพวอ (เขียด) ร้องเสียงอัลโต เดะแบคลี(เขียดแคระ) เดะงิเหง่ (เขียด) ร้องเสียง เทนเนอร์ ส่วนเดะลอ(เขียดยาว) ร้องเสียงเมลโซปราโน ดังสนั่น หวน่ั ไหวล่ันบริเวณโหน่จนแม้เสียงตะโกนก็ไม่สามารถกลบเสียงน้ัน ได้ การกระซิบกลายเป็นหนทางสื่อสารที่ดีท่ีสุดท่ามกลางเสียงดัง ลน่ั ทุกคนจึงแยกย้ายตัวเองกระจายรอบๆขอบโหน่ โดยที่ไม่อยู่ใน จดุ เดยี วกัน เพราะในพ้ืนท่ขี ้างในนั้นมีน้าขังอยู่ และท่ีนั่นเป็นท่ีหลบ ภัยช้ันดีของเหล่าเขียด รอบโหน่ตอนน้ีถูกจุดให้สว่างด้วยเชื้อเพลิง สนเก๊ียะ สีไฟได้ระบายล้อมรอบโหน่ เป็นเหมือนมหกรรมประจ้าปี ของชุมชน กระบวนการเลือกจึงเริ่มด้าเนินการ บางคนไม่ชอบกิน เขียดประเภทขนาดใหญ่ เช่น เดะอุ เดะ โกะ และเดะลอ จึงเลือก เก็บแต่ประเภทเขียดประเภทขนาดกลางและเล็ก บางคนชอบ เขียดขนาดเล็กเท่าน้ันจึงเลือกเก็บ เดะแบคลี เดะงิเหง่ และเดะ ทอหน่า เท่าน้ัน จึงแล้วแต่ความชอบของแต่ละคน คนท่ีช่้าชอง ย่อมจับได้เร็วและมากกว่า แต่ก็ใช่ว่าจะเก็บจนหมดหนอง เพราะ เกบ็ อย่างไรกไ็ ม่หมดอยู่แลว้ ขนาดของกระบอกไม้ไผ่จึงเป็นภาชนะ ที่จ้ากัดจ้านวนการเก็บ บางคนเมื่อของตนเองเต็มแล้วจึงช่วยคน อ่ืนท่ีเก็บไม่ค่อยเป็นถือเป็นกระบวนการถ่ายทอดทักษะให้แก่กัน และกัน เม่ือได้เขียดเต็มกระบอกไม้ไผ่แล้วผู้คนจึงทยอยกันกลับ บา้ น ทิ้งวงรอ้ งประสานเสียงให้บรรเลงต่อไปจนสุดคนื
52 เมื่อกลับมาถึงบ้าน เมนูเขียดต่างๆจึงเกิดข้ึน เมนูห่อหมก ต้มเผ็ด ตากแห้ง การส่องเขียดในคร้ังหน่ึง กินได้ประมาณ 2-3 วัน ส่วนใหญจ่ ะไปเก็บเขียดประมาณอาทิตย์ละครงั้ มขี อ้ ห้ามในการจบั เขยี ด กบ คือ ห้ามใส่ในถุงพลาสติกและ ห้ามใส่ในกระสอบ พือกอทูป่า ผู้เฒา่ แห่งบ้านทีแม่เกอ่ ลา หรือบ้าน หนองเจ็ดหนว่ ยเล่าว่า “พ่อแม่ ก้าชับพวกเราว่า เวลาจับเขียด จับ กบ อย่าใส่ในถุงพลาสติก อย่าใส่ในกระสอบ ให้ใส่ในกระบอกไม้ไผ่ เทา่ นั้น มเิ ชน่ นั้นท้ังกบ ท้ังเขยี ดจะสญู พันธ์ พวกเรากังวลว่ามันจะ สูญพันธ์ พวกเราจะจับกินและเคารพข้อห้ามท่ีปู่ ย่า ตาทวด ให้ไว้ อยา่ งเคร่งครดั ” แล้วท่ีสมัยน้ี กบ เขียดน้อยลงน้ัน เป็นเพราะคนจับกบ เขยี ดแลว้ ใสใ่ นถุงพลาสตกิ หรือ กระสอบหรอื เปล่า? “ฮึๆ(หัวเราะ) ถ้าว่าใช่ ก็ใช่ แต่มันก็มีหลายสาเหตุ ทุก วันน้ีคนกินเขียดไม่ส่องเขียด คนส่องเขียดไม่กินเขียดแต่กินปลา กระปอ๋ ง กินปลาทแู ทน....” หมายความวา่ มกี ารซอ้ื ขาย กบ เขียดกนั ในชมุ ชน? “บางทีก็ข้ามชุมชน ก็เห็นใจเขานะ(คนท่ีซื้อกิน) เขาอยาก กินแต่เขาไม่มีเวลาไปจับ บางทีจับไม่เป็น กบ เขียด สมัยน้ีมัน ฉลาดข้ึน มันซ่อนตัวมิดข้ึน มันกระโดดเร็วและไกลข้ึน จับมันยาก ขนึ้ ไม่งา่ ยเหมือนเม่ือก่อน ตอนน้ีจงึ มีการน้ากบ เขียดมาช่ังกิโลขาย จึงไม่พ้นการใส่ถุงพลาสติก บางทีจ้านวนมากเข้าจึงใส่ถุงกระสอบ ซะเลย” เหตุนใ้ี ชไ่ หมทท่ี ้าใหก้ บ เขยี ดในชมุ ชนเร่ิมลดจ้านวนลง
53 “น่ันเป็นส่วนหน่ึง แต่คนที่อ่านหนังสือไทยได้ อยากให้ ลองอ่านตัวหนังสือที่ปรากฏอยู่บนถุงพลาสติกก็ดี หรือบนถุง กระสอบก็ดี ส่วนใหญ่เป็นส่วนประกอบของยาเคมีท้ังนั้น ถุงพลาสติกและถุงกระสอบท่ีใช้อยู่ทุกวันน้ี ส่วนใหญ่เป็นถุงปุ๋ยบ้าง ถุงยาคุมย่าบ้าง ถุงพลาสติกก็เป็นยาฆ่าแมลงบ้าง ลองคิดดูเมื่อน้า ส่ิงเหล่าน้ีเข้าสู่ชุมชนมากข้ึน กบและเขียดก็ต้องสูญพันธ์ไม่วันใดก็ วันหนึ่ง ปีที่คิดในใจว่าแก่แล้ว ดายหญ้าไม่ค่อยไหว จึงลองใช้ยา คมุ หญ้าดู ปรากฏว่ามันคุมหญ้าได้ผล แต่ปลา หอย และเขียด ใน นาเกิดโรคผิวหนังและตายไปเป็นจ้านวนมาก สงสารมัน และ เสยี ดายดว้ ย เพราะดูแล้วไม่กล้ากิน ไม่รู้ว่ากินแล้วจะเกิดผลร้ายกับ คนหรือเปล่า มันตายเยอะ แต่ละมันตายไปกับยาที่มากับ ถงุ พลาสตกิ และกระสอบพวกนเ้ี ยอะ” ผเู้ ฒา่ กล่าวทง้ิ ท้าย ปีไหนท่ีปริมาณน้าในหนองมากความปลอดภัยของเขียด กบ ตา่ งๆ กจ็ ะสูงไปดว้ ย กบและเขียดจะออกไข่แล้วปล่อยให้น้าฟัก ไข่ให้ ตัวหนึ่งปล่อยไข่ออกมาเป็นร้อย ฤดูการส่องเขียด เก็บเขียด โหน่นั้นใช้เวลาประมาณ 2 เดือน ซ่ึงไม่ใช่เพียงคนในชุมชนเท่านั้น แตช่ มุ ชนละแวกใกล้เคียงกม็ ารว่ มหาเขยี ดดว้ ยเช่นกัน ถัดจากน้ันจะเป็นเวลาในการหาลูกอ๊อด ซ่ึงเป็นลูกของ เขียด กบ ซึ่งต้องใช้สวิงในการไปจับ ผู้ท่ีใช้เคร่ืองมือน้ีอย่างช่้าชอง เหน็ จะเป็นผหู้ ญิงมากกว่าผู้ชาย แต่ ศรัทตรู ของการไปจับลูกอ๊อด คือปลิงซึ่งอาศัยอยู่ในโหน่หรือหนองนั่นเอง เพราะเวลาไปหาลูกอ๊ อดนั้นต้องลงลุยน้าในหนอง ปลิงจึงเป็นผู้อารักษ์ขาลูกอ๊อดเป็น อยา่ งดี ในการจบั ลกู อ๊อดนัน้ จะเลือกเฉพาะลูกอ๊อดอ่อนท่ีไส้ยังเป็น สขี าว โดยดูจากท่ีทอ้ งของลกู ออ๊ ด เพราะทอ้ งของ ลูกอ๊อดนั้นจะใส
54 จนเห็นไส้เห็นพุงท้ังหมด หากแก่ข้ึนไปอีกนิดไส้จะเปล่ียนเป็นสีด้า ซ่ึงชาวบ้านจะไม่นิยมกิน ภาษาปกาเกอะญอเรียกว่า “เนออุ” แปลว่ากล่ินเหม็นฉุน รสชาติก็จะฝาด หากกินอาจจะส่งผลท้าให้ ท้องเสีย โดยเฉพาะคนที่ตั้งครรภ์และให้น้านมลูกอาจส่งผลกระทบ ต่อเด็กเป็นภูมิแพ้ได้ ดังสุภาษิตปกาเกอะญอที่ว่า “เอาะ เลอะ อะ โหม่ คละ เลอ อะ โพ” แปลว่า กินท่ีแม่แต่แพ้ท่ีลูก น่ันหมายความ ว่า การกระท้าอะไรบางอย่างท่ีเราท้าในรุ่นของเรา อาจจะส่งผล กระทบร้ายแรงต่อคนอีกรุ่นหนึ่งก็เป็นไปได้ เมื่อสีของลูกอ๊อด เปล่ียนสีเป็นสีด้าแล้ว จะถูกปล่อยให้เป็นเขียดเต็มตัวต่อไปใน อนาคต ฤดูกาลในการเก็บลูกอ๊อดน้ันใช้ระยะเวลาประมาณ 2 เดือนเศษ เพราะลูกอ๊อดจะเปล่ียนสภาพโดยเร่ิมมีขางอกและหาง เริ่มกูดน่ันส่งสัญญาณว่ามันก้าลังเปลี่ยนสภาพเป็นกบ เขียด แล้ว ต่อจากน้ันก็จะเป็นฤดูกาลของการจับ “โด ซู แมะ” หรือ ลูก แมลงปอ แมลงปอหรือท่ีภาษาปกาเกอะญอเรียกว่า “ เทาะ เทาะ แกวะ” จะบินวนเวียนอยู่อยู่เหนือน้าในโหน่ เม่ือได้จังหวะมันจะ หย่อนก้นลงแตะน้า น่ันคือ การทิ้งไข่ลงไปในน้า โหน่จึงเป็นแหล่ง ฟักไข่ส้าหรับแมลงปอ เมื่อลูกแมลงปอโตพอจะว่ายน้าได้ลักษณะ มันจะเหมือนหนอน จากสีน้าตาลอ่อนค่อย ๆ เปลี่ยนสีเป็นสีเขียว กระท่ังมันเร่ิมมีปีกแล้วมันจะค่อยลอยเหนือน้าแล้วกางปีกบินใน ทส่ี ดุ ฉะนนั้ ชว่ งทีว่ งจรชวี ติ แมลงปอในวยั ท่ีเป็นแมลงที่ยังไม่มีปีกขึ้น หรือ ช่วงที่เปน็ “โด ซู แมะ” นั้น จึงสามารถน้ามาเป็นอาหาร แกง ทอด หมก รสชาติไม่แพ้หนอนหรือแมลงชนิดอื่น นอกจาก โด ซู แมะ แล้วยังมี “ธีข่า” หรือ แมงดา มี กุริหม่ือ หรือ แมงน้า ที่อยู่ ร่วมกัน โดซูแมะ ธีข่า หรือ แมงดาน้ัน ตัวผู้ ตัวเมีย จะมีขนาดท่ี
55 ต่างกัน และความแรงของกลิ่นก็ต่างกัน ส่วนใหญ่จะน้าไปต้า น้าพริก ฤดูกาลในการจับ โด ซู แมะ ธีข่า และ กุริหม่ือ น้ัน ใช้ เวลาประมาณ 2 เดอื น เพราะหลังจากนั้นมนั จะเรม่ิ บนิ ไดแ้ ลว้ จากน้ันจะเป็นช่วงฤดูกาลเก่ียวข้าว โหน่ จึงได้พักจากการ หล่อเล้ียงผู้คน กลับมาอีกทีประมาณเดือนกุมภาพันธ์ – เมษายน จะเร่ิมมีการต้อนควายเข้าโหน่ เล็มหญ้าเขียวริมโหน่ และลงแช่น้า ในยามบ่าย น้าในโหน่จะค่อย ๆ ลดลงกระท่ังเดือนเมษายนน้าจะ เหลือเพียงจุดเดียวคือตรงกลาง รอบนอกท่ีน้าเคยขัง จะเริ่มเป็น โคลน บางจุดดินแตกออกมาเป็นร่อง เดือนนี้คนจะไปขุดตีตูหรือ ปลาไหล ในบริเวณที่ดินแห้งเป็นโคลน บางทีก็ได้ทั้งปลาไหลและ เขียดมาด้วย เมื่อหมดเดือนเมษายน คนในชุมชนจึงต้ังตารอคอย การกลับมาของสายฝนอีกคร้ังซ่ึงเป็นการเริ่มวงจรหล่อเลี้ยงชุมชน รอบใหม่ของโหน่หรือหนอง ในรอบปีนั้น โหน่ ได้ท้าหน้าท่ีผลิต อาหารให้กับคนในชมุ ชนเปน็ เวลา 9 เดือนหยุดพักเพียง 3 ต้าแหนง่ ที่ต้งั ของ โหน่-นอแง หนองเจด็ หนว่ ย ในบรเิ วณพนื้ ที่มือเจะคีมีโหน่หรือหนองทั้งหมด 7 หนอง ซึ่งมีชื่อตั้ง คณุ สมบัตแิ ละทมี่ าตา่ งกนั ไป หนองท่ี 1 นอแงปอโหล่ เป็นหนองน้า หรือเป็นโหน่ ท่ีเรียกช่ือตาม ปอโหล่พอ หรือ นายกะโน คนมือเจะคีที่ต้ังช่ือลูกสาวว่าโหล่พอ แปลว่า ดอกต้นตองก๊อ ในธรรมเนียมคนปกาเกอะญอเมื่อผู้หญิง หรือผู้ชาย มีลูก เขามักจะเรียกชื่อตามชื่อของลูก คนแรก เพราะฉะนั้น กะโน มีลูกสาวคนแรกช่ือ หน่อโหล่พอ จึงถูกเปลี่ยน ชื่อจากนายกะโน เป็นปอโหล่พอ แปลว่า พ่อของโหล่พอ เน่ืองจากว่า ปอโหล่พอ ได้เคยสร้างบ้านอยู่ที่น่ัน ท้ากินอยู่ท่ีแถว ๆ
56 ล้าห้วยเก่อชอลอเบลาะโกละ ซ่ึงต้ังอยู่ทางทิศเหนือของบ้านหนอง เจ็ดหน่วยปัจจุบัน ปอโหล่พออาศัยอยู่ท่ีนั่นสิบกว่าปีกระท่ังได้ล้ม ปว่ ยและตายในที่สดุ หลังจากทปี่ อโหล่พอตาย มีคนฝันเห็น ปอโหล่ พอ แบกฟืนไป ไป มา มา อยรู่ ิมหนองเปน็ ประจ้า เม่ือคนฝันอย่างน้ี หลาย ๆ คนเขา้ คนจึงเริม่ เรียกช่ือหนองที่นั่นว่า นอแงปอโหล่ หรือ หนองปอโหล่ นั่นเอง ลักษณะเด่นของนอแงตรงน้ีก็คือ เป็นนอ แงทม่ี เี ดะอุ หรอื อ่ึงอา่ ง เป็นจ้านวนมาก ในช่วงน้านองกระแสน้าจะ ไหลลงสู่ล้าห้วยทีบอละ เป็นการเตมิ เตม็ ลา้ หว้ ยทีบอละให้ใหญข่ ึน้ สถานภาพปัจจุบันของนอแงปอโหล่เป็นพ้ืนท่ีถือครองส่วนบุคคล ต้ังอยู่ทางทิศเหนือของบ้านหนองเจ็ดหน่วยและอยู่ภายใต้การถือ ครองของนายวีระชัย ลอแฮ หนองที่ 2 นอแงทีแม่เก่อลา หรือ นอแงพะโดะ แปลว่า หนองใส สะอาด หรอื หนองหลวง เน่ืองจากเป็นหนองน้าที่มีขนาดใหญ่ท่ีสุด ในมือเจะคี ในอดีตนอแงทีแม่เก่อลานั้น มีปลาดุก กบ เขียด ชุกชุม มีการไปวางไซเพ่อื ดักปลาดุก และช่วงเย็น ๆ จะมีการไปตกปลาดุก อยู่ริมหนองน้า ช่วงหน้าหนาวจะมีนกอพยพจากที่ต่าง ๆ เข้ามา แวะเวียนหลายชนิด นอกจากมีนกพ้ืนถ่ินอย่างนกเป็ดน้า และนก นางนวลอยู่เป็นประจ้าอยู่แล้ว ปริมาณน้าเมื่อย่ีสิบปีท่ีแล้วไม่เคย แห้ง แม้กระท่ังหน้าแล้ง ในช่วงท่ีน้านองเต็มหนองน้ันจะพบเห็น การทา้ แพไมไ้ ผเ่ พือ่ ไปตกปลาบริเวณใจกลางหนองน้า ปัจจุบันยังคง มีกอไผ่หกไผ่บงอายุมากกว่าร้อยปีอยู่รอบ ๆ หนองน้าเพื่อปลูกไว้ ท้าแพในอดีต ถึงแม้ว่าปัจจุบันปริมาณน้าเหลือไม่มากพอที่จะ สามารถล่องแพได้แล้วก็ตาม ประกอบกับปัจจุบันเร่ิมมีการขยายที่ อยู่อาศัย ขยับเข้าใกล้ หนองน้ากันมากข้ึน จนกระทั่ง ปี 2554 ท่ี
57 ผ่านมา ปริมาณน้าได้กลับมาสู่ร่องรอยเดิมในอดีต ท้าให้บ้านหลาย หลังที่อยู่ริมหนองถูกน้าท่วม ซอยบางซอยถูกปิดด้วยน้า เป็นเรื่อง ตลกท่ีกล่าวกันในหมู่บ้านหนองเจ็ดหน่วยว่า “ไม่ใช่กรุงเทพหรือใน เมืองเท่านั้นท่ีถูกน้าท่วม แต่บนดอยก็ถูกน้าท่วม” ไม่ใช่น้าป่าไหล หลากท่ีท่วม ไม่ใช่น้าจากแม่น้า ไม่ใช่น้าจากเขื่อน แต่เป็นน้าจาก หนอง ปัญหาเกิดจากการที่เราลืมร่องเก่ารอยเดิมของน้าว่าเขาเคย อยู่ เคยไหล เคยเอ่ือย เคยนองตรงจุดไหนบ้าง ถึงเวลาที่เราต้อง กลับมาตามวงจรของวิถีน้า นอแงทีแม่เก่อลา นั้น เม่ือน้านองเต็มท่ี จะไหลลงสู่ นอหมื่อโกละ เติมเต็มนอหมื่อโกละ ให้มีปริมาณน้า เพิ่มข้ึน แต่ปัจจุบัน มิอาจไหลลงสู่นอหมื่อโกละได้ เน่ืองจากถูกปิด เส้นทางการไหลจากถนนภายในหมู่บ้าน เน่ืองจากคนในหมู่บ้าน เองมองว่า ปริมาณน้าในหนองน้าทีแม่เก่อลานั้นมีไม่เพียงพอท่ีจะ ไหลไปสู่ล้าห้วยนอหม่ือโกละได้อีกต่อไปแล้วการสร้างถนนจึงไม่มี ผลใดใดตอ่ ความเป็นไปของนา้ สถานภาพของนอแงทีแม่เก่อลา ปัจจุบันยังคงเป็นพื้นที่ สาธารณะของชุมชน เพียงแต่ แปรสภาพจากหนอแงน้าธรรมชาติ เป็นบ่อปลาที่มีการปล่อยปลานิล ปลาตะเพียน ปลาย่ีสก และ อนุญาตให้มีการตกเพียงปีละคร้ัง และคร้ังละหน่ึงอาทิตย์เท่าน้ัน โดยในการตกปลาแต่ละคร้ังน้ันต้องมีการจ่ายค่าตกเบ็ดเพื่อเป็น กองทุนในการพัฒนาชุมชนต่อไป นอแงทีแม่เก่อลาน้ัน เป็นที่มา ของช่อื หมู่บา้ นทแี ม่เก่อลา หรอื บา้ นหนองเจด็ หนว่ ยในปจั จบุ นั หนองที่ 3 นอแงโพ เป็นนอแงท่ีมีขนาดเล็ก ไม่ใหญ่มากนัก มีความ เดน่ ตรงทม่ี ีเดะแบคลี เป็นจา้ นวนมาก เพราะฉะนั้นนอแงโพน้ี คนที่ ไม่ชอบกบหรือเขียดขนาดใหญ่ มักจะมาส่องเขียดที่น่ี เพ่ือจับเดะ
58 แบคลี ซึ่งเปน็ เขยี ดขนาดเล็ก เป็นอาหาร เมือ่ น้าเริ่มนอง น้าจากนอ แงโพกจ็ ะไหลลงส่ลู า้ หว้ ยทีบอละ สถานภาพของนอแงโพ ปัจจุบันเป็นพ้ืนที่ถือครองส่วน บุคคลของนายเดช เสรีชีวี ตงั้ อยใู่ นพนื้ ที่ชุมชนบ้านหนองเจ็ดหน่วย หนองที่ 4 นอแงห่อโข่แซ หรือ นอแงเสียงสะท้อนของดิน นอแง ห่อโข่แซน้ัน เป็นนอแงท่ีมีขนาดเล็กท่ีสุดในจ้านวนนอแงท้ัง 7 ลักษณะเด่นที่แตกต่างจากนอแงอ่ืนคือ เม่ือมีการเหยียบเดินเหนือ ดินในอาณาบริเวณนอแงนั้น จะมีเสียงสะท้อนกลับมาให้ได้ยิน ใน อดีตเวลาฝูงวัว ฝูงควายเดินผ่านนอแงแห่งนี้เสียงเดินย้่าของวัว ควาย จะดังสะท้อนบนบกระรัว คล้ายเสียงรัวกลอง ผู้เฒ่าทูละ แหง่ บ้านหนองเจ็ดหนว่ ยกล่าวว่า “ใต้ดินอาจจะมีหลุมหรือมีรูโดยมี หินแผ่นใหญ่ปิดหลุมนั้น และมีดินคลุมหินอีกทีหนึ่ง เหมือนหนัง กลองห่อหุ้มกลองเอาไว้ เวลามีคนเดินผ่าน หรือวิ่งผ่านก็จะเหมือน การสัมผัสหน้ากลองหรือการตีกลอง เสียงมันจึงดังขึ้นมา“ ผู้เฒ่าทู ละ ยังเล่าให้ฟังอีกว่า ในอดีตบ่อยครั้งท่ีนอแงแห่งนี้จะส่งเสียงเอง โดยธรรมชาติ โดยที่ไม่มีใครไปใกล้หรือเดินผ่าน ท้าให้เป็นที่ หวาดกลวั ของคนในพ้ืนท่ี แต่ส้าหรับตนนน้ั ตนคิดว่าอาจเป็นเพราะ สัตว์ป่า เช่น เก้ง หมูป่า ว่ิงผ่านก็เป็นได้ ท้าให้เกิดเสียงสะท้อน ข้ึนมา นา้ จากนอแงห่อโข่แซ จะไหลลงสู่ล้าห้วยทีบอละด้วยเช่นกัน สถานภาพปัจจุบันของนอแงห่อโข่แซ เป็นพื้นท่ีถือครองส่วนบุคคล โดยนายอดิศักด์ิ หนองท่ี 5 – 6 โหน่เดะลอ หรือโหน่เส่อฆ่ี แปลว่า หนองเขียดขายาว หรือ หนองแฝด เน่ืองจากหนองท้ังสองนั้นอยู่ ติดกัน ชาวบ้านจึงมักเรียกโหน่เดะลอทะคอ และโหน่เดะลอล่าคอ แปลว่า หนองเขยี ดขายาวบน กับหนองเขียดขายาวลา่ ง โหน่ทั้งสอง
59 แม้ว่าจะอยู่ติดกัน แต่ชาวบ้านจะรู้ว่ามีอะไรที่แตกต่างกัน ของโหน่ ทั้งสอง อาทิเช่น โหน่เดะลอล่างนั้นจะมี เดะลอ หรือ เขียดขายาว ชุกชมุ มากซ่ึงเขียดขายาวน้ีมีไม่มาในโหน่อ่ืน ๆ โหน่นี้จึงมีจุดเด่นใน เรื่องเดะลอ หรอื เขยี ดขายาว ในขณะท่ี โหน่เดะลอบนน้ันก็มีเดะลอ ห รื อ เ ขี ย ด ข า ย า ว เ ช่ น กั น แ ต่ จ ะ มี เ ด ะ อุ ห รื อ อึ่ ง อ่ า ง ม า ก ก ว่ า เช่นเดียวกันโหน่เดะล่างนั้นมีตาพวอหรือลูกอ๊อดท่ีมีรสชาติที่ดีกว่า เนือ่ งจากเป็นลูกของเดะลอ แต่โหน่เดะลอบนน้ันก็ทดแทนด้วยการ ท่ีมีโดซูแมะ หรือลูกแมลงปอมากกว่าโหน่เดะลอล่าง และอีก ประการหนึ่งที่แตกต่างคอื ในโหนเ่ ดะลอล่างจะไม่มีตีตูหรือปลาไหล แตโ่ หน่เดะลอบนมี โหน่เดะลอเป็นพ้ืนท่ีรอยต่อของ 3 ชุมชน ในมือเจะคี ได้แก่ หว่าซึโข่คีหรือห้วยบง โหน่เดะลอหรือบ้านใหม่พัฒนา และ มอเดหรือบา้ นกิ่วโป่ง แต่พื้นท่ีของโหน่ทั้งสองอยู่ในพื้นท่ีรับผิดชอบ ของชุมชนบ้านใหม่พัฒนา นั่นเป็นเหตุให้ชุมชนแห่งนี้มีการตั้งช่ือ เปน็ ภาษาปกาเกอะญอวา่ โหนเ่ ดะลอ ทศิ ทางการไหลของน้าจากโหน่เดะลอท้งั สองนน้ั เดินทางลง สู่ล้าห้วยโกะแชแยโกละ หรือ ล้าห้วยตะไคร้น้าแต่ในปัจจุบันได้มี การสรา้ งถนนดินถมเช่อื มระหว่างบา้ นใหม่พัฒนากับบ้านกิ่วโป่ง ท้า ให้ต้องมีการวางท่อเพื่อเป็นทางระบายน้าจากโหน่ลงสู่ล้าห้วยโกะ แชแยโกละดังเดิม ปัจจุบันสถานภาพของโหน่เดะลอทั้งสองอยู่ใน การถือครองส่วนบุคคลโดยนายตา่ โปะ สา่ โล หนองท่ี 7 โหน่ปะ แปลว่า หนองที่มีรูปร่างกว้างและกลม เป็นหนองท่ีตั้งอยู่ในพื้นท่ีสูงที่สุดในบรรดาหนองท้ังหลาย คืออยู่ เหนือระดับน้าทะเลประมาณ 1,000 เมตร เป็นอีกหนองหน่ึงท่ีมี
60 เดะอุ หรือ อึ่งอ่างเป็นจ้านวนมากน้าจากโหน่ปะจะไหลลงสู่ล้าห้วย โกะแชแยโกละ สถานภาพปัจจุบันของโหนป่ ะนั้น ยังคงเป็นพนื้ ที่สาธารณะ เพยี งแต่เปลยี่ นสภาพจากหนองน้ากลายเปน็ สนามฟุตบอล จากการ ท่ีองค์การบริหารส่วนต้าบลแจ่มหลวง มีโครงการท่ีจะสร้างสนาม กฬี าประจา้ ต้าบลขนึ้ มา ไดม้ ีการแสวงหาพื้นทีห่ ลายแปลงแต่ก็ยังหา ขอ้ สรุปไม่ได้ สุดทา้ ยจงึ ได้มตขิ องทป่ี ระชุมให้มีการสร้างในพื้นที่ของ โหน่ปะ จากน้ันความเป็นโหน่หรือหนองจางหายไปจากโหน่ปะ กลายเป็นสนามกีฬาในท่สี ุด จากข้อมูลของโหน่หรือหนองทั้ง 7 หนองจะพบว่า หนองเหล่านี้ เป็นแหล่งน้าที่มีคุณูปการต่อชุมชนปกาเกอะญอในการด้ารงชีวิต เป็นอย่างมากเป็นแหล่งอาหารทีส่ า้ คัญ เป็นแหลง่ เรยี นรู้ เป็นที่เล้ียง สัตว์ เป็นแหล่งน้าที่เพ่ิมหรือไหลสมทบลงสู่แม่น้าทั้งล้าห้วย นอ หม่ือโกละ หรือห้วยเม่ียง ล้าห้วยทีบอละ และล้าห้วยโกะแชแยโก ละ เม่ือหนองน้าเหล่านี้หยุดท้าหน้าท่ีหรือหยุดไหลสมทบปัจจุบัน จะพบว่าล้าห้วยทั้งสามน้ันเริ่มเกิดวิกฤตเก่ียวกับปริมาณน้าในล้า หว้ ยที่ลดลง ซ่ึงอาจมีสาเหตุหลายประการท่ีเกิดขึ้น แต่ปฏิเสธไม่ได้ ว่าหนึ่งในนั้นคือ เกิดจาการท่ีขาดการไหลสมทบจากหนองน้า นั้นเอง เหตุการณ์น้ีได้ตอกย้าบท ธา หรือ สุภาษิตของคนปกา เกอะญอเก่ียวกับความส้าคัญของหนองน้าและล้าห้วยสาขาต่าง ๆ อกี ครั้งวา่ “ธี โกละ โดะ โดะ เลอ หมอื่ นอื โกละ โดะ โดะ เลอ หมื่อ นอื โดะ เลอ ที โพ โดะ เหน่ ออ โดะ เลอ โหน่ โพ โดะ เหน่ ออ ที โพ โหน่ โพ เหม่ ลอ ชอ ธี โกละ โดะ ชิ น๊ยุ เกะ กลอ”
61 แปลวา่ แม่น้าใหญ่ไหลได้อย่างไร ล้านา้ ใหญ่ ใหญไ่ ดอ้ ย่างไร ใหญ่เพราะล้าห้วยไหลสมทบ ไหลดว้ ยหนองน้าไหลสมทบ หากล้าห้วยหนองนา้ หยุดไหล น้าใหญแ่ หง้ ไปเจ็ดโคง้ นา้ ดังนั้นเมื่อวิถีหนองเปล่ียนไป วิถีล้าห้วยก็ย่อมเปล่ียนแปร ตามอย่างปฏิเสธไม่ได้ แต่มิใช่เพียงวิถีล้าห้วยเท่านั้นที่เปล่ียน วิถี เดะ หรือ เขียดชนิดต่าง ๆ วิถีโดซูแมะหรือลูกแมงปอ วิถีทีข่า กุริ หมื่อ หรือ แมงดา แมงน้า รวมถึงวิถีควายด้วย และสุดท้ายจึง กลับมาที่วถิ ีคน ท่มี ตี ัวเลือกน้อยลงในการหากินกับอาหารตามพื้นท่ี น้าที่ธรรมชาติได้รังสรรค์ข้ึนมาให้อย่างน่ามหัศจรรย์ในพื้นท่ีมือ เจะคี ในความเห็นของผู้เขียนนอกจากป่าสนภูเขาธรรมชาติท่ีเป็น เสน่ห์ของพื้นท่ีมือเจะคีแล้ว โหน่ หรือ หนองน้าท้ัง 7 ก็เป็นอีเสน่ห์ หน่ึงที่ไม่มีใครเหมือน บรรพบุรุษคนปกาเกอะญอมือเจะคีต่างรู้ดี มิ เช่นนัน้ แลว้ คงไม่ตัง้ ชอ่ื หมบู่ ้านจากจุดเดน่ ท่ีมาจาก โหน่ หรือ หนอง เช่น ชุมชนทีแมะเก่อลา หรือหนองเจ็ดหน่วย ดังท่ีเป็นอยู่ อนาคต หนองท้ัง 7 หนอง จะถูกเปลี่ยนสภาพเป็นอะไรต่อไปน้ันเป็นเรื่องที่ นา่ ติดตามต่อ เพราะน่ันเป็นส่วนหน่ึงของประวัติศาสตร์การจัดการ น้าของคนปกาเกอะญอมือเจะคี
62 ตาราง แสดงที่ตงั้ และสถานภาพของโหน่ 7 หนองในปัจจบุ ัน ลําดับ ช่อื ท่ีต้งั สภาพ สถานะ ที่ ปจั จบุ นั 1 นอแง หมทู่ ่ี 4 บา้ นหนองเจ็ด ที่ทา้ กนิ / ถอื ครองโดย ปอโล หนว่ ย ต.บา้ นจันทร์ สวน นายวรี ะชัย ลอ แฮ 2 นอแง หมู่ท่ี 4 บา้ นหนองเจด็ ทีสาธารณะ ทีส่ าธารณะ พะโดะ หนว่ ย ต.บา้ นจนั ทร์ / บ่อปลา ชุมชน ชุมชน 3 นอแงโพ หมทู่ ่ี 4 บา้ นหนองเจ็ด ท่ีท้ากนิ / ถอื ครองโดย หนว่ ย ต.บ้านจนั ทร์ สวน นายเดช เสรชี ีวี 4 นอแง หมูท่ ่ี 4 บา้ นหนองเจด็ ท่ีท้ากนิ / ถอื ครองโดย หอ่ โขแ่ ซ หนว่ ย ต.บ้านจันทร์ สวน นายอดิศักด์ิ 5-6 โหนเ่ ดะลอ หมทู่ ่ี 2 บา้ นใหม่พฒั นา บอ่ ปลา ถือครองโดย ต.แจม่ หลวง สว่ นตวั นายตา่ โปะ ส่าโล 7 โหน่ปะ หมู่ 2 บา้ นกิว่ โป่ง ทส่ี าธารณะ ทส่ี าธารณะ ต.แจม่ หลวง / สนาม ตา้ บล / ฟตุ บอล อบต.แจม่ หลวง
Search