Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Infographic-Design-PPT-Book

Infographic-Design-PPT-Book

Published by saipinpk63, 2020-11-13 17:07:12

Description: 20200909-Design-PPT-Book

Search

Read the Text Version

1

สารบญั หนา้ ที่ เร่ือง 1 หลกั การออกแบบ Design principles 2 6 หลักการออกแบบ 12 สี และการสอ่ื ความหมาย การเลือกใช้ตัวอักษรสาหรบั การออกแบบ 14 ดาวน์โหลด Font ฟรี และวธิ กี ารติดต้ังลง Windows 15 16 แนะนาเวบ็ ไซตส์ าหรบั ดาวนโ์ หลดแบบอกั ษร การตดิ ตง้ั ฟอนต์ (Font) ลงเครื่อง 21 ลบพ้ืนหลงั ด้วยเวบ็ www.remove.bg 22 24 Remove.bg ลบพื้นหลบั อตั โนมตั ผิ ่านเวบ็ Application Snapseed สาหรับการรีทชั ภาพด้วยมือถือ 27 แนะนาแหลง่ ดาวนโ์ หลด Vector Free 28 รวมเว็บไซตท์ ส่ี ามารถดาวนโ์ หลด Vector Free 35 แนะนาแหล่งดาวน์โหลด Vector Free 36 36 การใช้งานโปรแกรม PowerPoint 2016 38 เตรยี มพร้อมก่อนลงมือสร้างงานนาเสนอ 40 กระบวนการส่ือสาร (Communication Process) 41 วธิ ีเปดิ ใช้งานโปรแกรม PowerPoint แบบดว่ น 44 การกาหนดขนาด Slide หลังจากคลิกเลือกรปู แบบการสรา้ งสไลด์ 48 การสร้าง Slide Master ธีมหรอื เท็มเพลตต้นแบบสไลด์ วาดรูปทรงกราฟกิ (Shapes) 55 ตัวอยา่ งการสรา้ งงานนาเสนอในรปู แบบ Infographic

2 หลักการออกแบบ การออกแบบโดยท่ัวไปประกอบด้วยองค์ประกอบ เอกภาพและความกลมกลนื สาคัญหลายอย่าง ได้แก่ ตัวอักษร หรือข้อความ (Unity & Harmony) ภาพประกอบ เน้ือท่ีว่างและส่วนประกอบอ่ืนๆ การ ออกแบบส่ิงพิมพ์ต้องคานึงถึง การจัดวางองค์ประกอบ เอกภาพคือความเป็นหน่ึงเดียวกัน ซึ่งในการจัดทาเลย์ ต่างๆ ดงั กลา่ วเข้าไปด้วยกนั เอาท์ (Layout) หมายถึงการนาเอาองค์ประกอบท่ี แตกต่างกันมาวางไว้ในพ้ืนที่หน้ากระดาษเดียวกันได้ ทิศทางและการเคลอ่ื นไหว อย่างกลมกลืนทาหน้าท่ี สอดคล้องและส่งเสริมกันและ (Direction & Movement) กันในการสื่อสารความคิดรวบ ยอดและบุคลิกภาพของ ส่อื สิ่งพมิ พ์นน้ั ๆ การสรา้ งเอกภาพนส้ี ามารถทาได้หลาย เม่ือผรู้ ับสารมองดูส่ือส่ิงพิมพ์ การรบั รูเ้ กดิ ขึ้นเป็นลาดับ วธิ ี เช่น ตามการมองเห็น กลา่ วคอื เกิดข้ึนตามการกวาดสายตา การเลอื กใชอ้ งค์ประกอบที่มีความเท่ากัน จากองค์ประกอบหนึ่งไปยังอีกองค์ประกอบหน่ึง จึงมี ความจาเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องมีการดาเนินการวางแผน เช่น การเลือกใช้แบบตัวอักษรเดียวกัน การ กาหนด และชักจูงสายตาของผู้รับสารให้เคลื่อนไหวไป เลือกใช้ภาพขาว-ดา ทั้งหมด เป็นต้น ทิศทางที่ถูกต้องตามลาดับขององค์ประกอบที่ต้องการ ให้รับรู้ก่อนหลังโดยทั่วไปหากไม่มีการสร้างจุดเด่น การเลอื กใช้องคป์ ระกอบท่ีมีความเทา่ กัน ขึ้นมา สายตาของผู้รับสารจะมองดูหน้ากระดาษท่ีเป็น www.pinterest.com สื่อพิมพ์ในทิศทางของตัวอักษร “Z” คือการมองที่มุม บนด้านซ้าย ไปด้านขวา แล้วไล่ระดับลงมาที่มุมล่าง การสร้างความต่อเนื่องกันให้องคป์ ระกอบ ด้านซ้าย และไปจบที่มุมล่างด้านขวาตามลาดับการจัด เช่น การจัดให้พาดหัววางทับลงบนภาพ การใช้ องค์ประกอบที่สอดคล้องกับธรรมชาติของการมองน้ี เป็นสว่ นชว่ ยให้เกดิ การรบั รูต้ ามลาดบั ท่ตี ้องการ ตวั อักษรทเ่ี ปน็ ขอ้ ความ ลอ้ ตามทรวดทรงของภาพ เปน็ ตน้ ทิศทางและการเคล่อื นไหว (Direction & Movement) การสร้างความต่อเนื่องกันให้องคป์ ระกอบ

3 การเว้นพนื้ ทว่ี า่ งรอบองคป์ ระกอบท้ังหมด ซึ่งจะทาให้พื้นท่ีว่างน้ันทาหน้าท่ีเหมือนกรอบสขี าวล้อมรอบองค์ประกอบทั้งหมดไวภ้ ายใน ช่วยให้องค์ประกอบ ทง้ั หมดดูเหมอื นวา่ อยู่ด้วยกนั เปน็ กลุ่มกอ้ น การเวน้ พ้นื ที่วา่ งรอบองคป์ ระกอบทงั้ หมด จาก https://khaodesign.com ความสมดลุ (Balance) หลักการเร่ืองความสมดุลนี้เป็นการตอบสนองธรรมชาติ ของผู้รับสารในเร่ืองของแรงโน้มถ่วง โดยการจัดวางองค์ ประกอบทงั้ หมดในพ้ืนท่หี นา้ กระดาษ จะต้องไม่ขัดกับ ความรสู้ ึกนี้ คือจะตอ้ งไมด่ ูเอนเอียงหรือหนักไปด้านใด ดา้ นหน่งึ โดยไมม่ ีองคป์ ระกอบมาถว่ งในอีกดา้ น การจดั องคป์ ระกอบใหเ้ กิดความสมดุลแบง่ ได้ 3 ลกั ษณะคือ สมดุลแบบสมมาตร สมดุลแบบอสมมาตร (Symmetrical Balance) (Asymmetrical Balance) เป็นการจัดวางองค์ประกอบโดยให้องค์ประกอบ เป็นการจัดวางองค์ประกอบโดยให้องค์ประกอบ ในด้านซ้ายและด้านขวาของพ้ืนท่ีหนา้ กระดาษมีลกั ษณะ ในด้านซ้ายและด้านขวาของพื้นที่หนา้ กระดาษมีลักษณะ เหมือนกันสองข้าง ซึ่งองค์ประกอบท่ีเหมือนกันท้ังสอง ไม่เหมือนกันท้ัง 2 ข้าง แม้องค์ประกอบจะไม่เหมือนกัน ด้านน้ี จะถ่วงน้าหนักกันและกันให้เกิดความรู้สึกสมดุล ในแตล่ ะด้าน จะถ่วงนา้ หนกั กันให้เกิดความสมดลุ สมดลุ แบบอสมมาตร (Asymmetrical Balance) สมดลุ แบบสมมาตร (Symmetrical Balance)

4 สมดุลแบบรศั มี (Radial Balance) สัดส่วน (Proportion) เป็นการจัดองค์ประกอบโดยให้มีการกระจายหรือ การกาหนดสัดส่วนนี้เป็นการกาหนดความสัมพันธ์ใน การรวมตัวอยู่ที่จุดกลาง นิยมใช้ออกแบบลวดลายต่างๆ เรื่องของขนาด ซ่ึงมีความสาคัญโดยเฉพาะใน หน้า อาทิเช่น ลายดาวเพดาน และเครอ่ื งหมายการคา้ กระดาษของส่ิงพิมพ์ท่ีต้องการให้มีจุดเด่น เช่น หน้าปก หนังสือเป็นต้น เพราะองค์ประกอบท้ังหมดในสัดส่วนที่ ใกล้เคียงกันในการกาหนดสัดส่วนจึงต้องพิจารณา องคป์ ระกอบท้งั หมด ในพื้นท่ีหนา้ กระดาษไปพร้อมๆ กัน วา่ ควรจะเพ่มิ หรือลดองคป์ ระกอบใด ไม่ใชค่ อ่ ยๆ ทาไปที ละองคป์ ระกอบ สมดลุ แบบรศั มี (Radial Balance) www.freepik.com สรา้ งจุดสนใจด้วยการเน้นสดั สว่ น (Proportion) www.maxpointhridoy.com เทคนิคการแบ่งสาม ใช้เทคนิคแบ่งสาม ซ่ึงกาหนดให้ เกิดจุดแห่งความสนใจ 4 จุดในภาพซึ่งสามารถเลือกได้ ความแตกต่าง (Contrast) ตามความเหมาะสม เป็นวิธีการที่ง่ายท่ีสุด โดยการเน้นองค์ประกอบใด กฎ 3 สว่ น และจุดตัด 9 ชอ่ ง องค์ประกอบหนี่ง เด่นขึ้นมาด้วยการเพิ่ม ขนาดให้ใหญ่ กว่าองค์ประกอบอื่นๆ โดยรอบ เช่น พาดหัวขนาดใหญ่ การจัดวางตาแหน่งหลักของภาพถ่าย เป็นองค์ประกอบ เป็นต้น ซ่ึงโดยธรรมชาติแลว้ ผู้ดูจะเลอื กดูองค์ประกอบท่ี หนึ่งท่ีสามารถทาให้เกิดผลทางด้านแนวความคิด และ ใหญก่ ว่ากอ่ น ความรู้สึกได้ การวางตาแหนง่ ที่เหมาะสมของจดุ สนใจใน ความแตกตา่ งโดยขนาด ภาพ เป็นอีกส่ิงหนึ่งท่ีสาคัญ และท่ีนิยมกันโดยท่ัวไป สามารถทาได้ง่ายโดยการเน้นให้องค์ประกอบหน่ึง เด่น คือ กฎสามสว่ น ข้ึนมา ด้วยการเพ่ิมขนาดให้ใหญ่กว่าองค์ประกอบอ่ืนๆ โดยรอบ เช่น พาดหัวขนาดใหญ่ เป็นต้น โดยธรรมชาติ กฎสามส่วนกล่าวไว้ว่า ไม่ว่าภาพจะอยู่แนวต้ังหรือ แลว้ ผู้ดูจะเลอื กดู องค์ประกอบที่ใหญ่กว่ากอ่ น แนวนอนก็ตาม หากเราแบง่ ภาพน้นั ออกเปน็ สามส่วน ทัง้ ตามแนวต้ังและแนวนอน แล้วลากเส้นแบ่งภาพท้ังสาม เส้น จะเกิดจุดตัดกันท้ังหมด 4 จุด ซึ่งจุดตัดของเส้นท้งั ส่ี นี้ เป็นตาแหน่งที่เหมาะสมสาหรับการจัดวางวัตถุท่ี ต้องการเน้นใหเ้ ป็นจดุ เด่นหลัก สว่ นรายละเอยี ดอืน่ ๆ นน้ั เปน็ ส่วนสาคญั ทีร่ องลงมาการจัดวางตาแหน่งจดุ เด่นหลัก ไม่จาเป็นจะต้องจากัดมากนัก อาจถือเอาบริเวณ ใกลเ้ คยี งทง้ั สจ่ี ดุ นี้ กฎ 3 ส่วน และจดุ ตดั 9 ช่อง

5 ความแตกต่างโดยขนาด ความแตกตา่ งโดยความเข้ม ความแตกต่างโดยรปู รา่ ง ความแตกตา่ งโดยทิศทาง เป็นวิธีที่เน้นให้องค์ประกอบหนึ่ง เด่นขึ้นมาด้วยการใช้ ทิศทางเป็นวิธีที่เน้นให้องค์ประกอบหนึ่ง เด่นขึ้นมา รูปร่าง ท่ีแตกต่างออกไปจากองค์ประกอบอื่นใน ด้วยการ วางองค์ประกอบท่ีต้องการจะเน้นน้ันให้อยู่ใน กระดาษ เชน่ การไดคตั ภาพคนตามรปู รา่ งของร่างกาย ทิศทางท่ีแตกต่าง จากองค์ประกอบอื่นๆ ท่ีอยู่ร่วมกัน แลว้ นาไปวางในหน้ากระดาษ ท่มี ภี าพแทรกเล็กๆ ท่อี ยู่ ในหน้ากระดาษ เช่น การ วางภาพเอียง 45 องศา ใน ในกรอบสเี่ หลยี่ ม เปน็ ตน้ หน้ากระดาษที่เต็มไปด้วยตัวอักษร ที่เรียง เป็น แนวนอน เป็นต้น ความแตกต่างโดยรปู ร่าง ความแตกต่างโดยทศิ ทาง ความแตกต่างโดยความเข้ม เป็นวิธีที่เน้นให้องค์ประกอบใดองค์ประกอบหนึ่งเด่น ขึ้นมา ดว้ ยการใช้เพ่ิมหรือลดความเข้มหรือน้าหนักของ องค์ประกอบ น้นั ใหเ้ ข้มหรอื อ่อนกวา่ องคป์ ระกอบอ่ืนที่ อยู่ร่วมกันในหน้า กระดาษ เช่น การใช้ตัวอักษรท่ีเป็น ตัวหนาในย่อหน้าที่ต้องการ เน้น เพียงย่อหน้าเดียวใน หน้ากระดาษ เปน็ ต้น

จงั หวะ ลลี า และการซา้ 6 (Rhythm & Repetition) สี และการสอื่ ความหมาย การจัดวางองค์ประกอบหลายๆ ชิ้น โดยกาหนด ตาแหน่ง ขององค์ประกอบให้เกิดมีช่องว่างเป็นช่วงๆ สีของงานกราฟิก ถือเป็นหัวใจหลักสาคัญเลยก็ว่าได้ ตอนๆ อย่างมีการ วางแผนล่วงหน้า จะทาให้เกิด เพราะการเลือกใช้สีจะแสดงถึงอารมณ์ท่ีต้องการได้ จังหวะและลีลาข้ึน และหากว่า องค์ประกอบหลายๆ ชัดเจนมากกว่าส่วนประกอบอ่ืน ๆ ท้ังหมด เช่น สีโทน ชิ้นน้ันมีลักษณะซ้ากันหรือใกล้เคียงกัน ก็จะย่ิงเป็นการ ร้อน สาหรับงานที่ต้องการความต่ืนเต้น ท้าทาย หรือสี เน้นให้เกิดจังหวะและลีลา ได้ชัดเจนย่ิงข้ึน ลักษณะ โทนเย็นสาหรบั งานต้องการใหด้ ูสภุ าพ สบาย ๆ ตรงกันข้ามกับแบบแรก จังหวะและลีลาลักษณะน้ี จะก่อให้เกิดความรู้สึกทีต่ นื่ เตน้ ดูเคลอื่ นไหวและมีพลัง ทฤษฎีสีเป้นเรื่องท่ีไม่อาจมองข้ามได้ ถ้าอยากจะ ถ่ายภาพออกมาให้สวย สีมีโครงสร้างเเละลักษณะทาง จังหวะ ลลี า และการซา้ (Rhythm & Repetition) กายภาพที่เเตกต่างกัน การรู้จักผสมสี มองสี ก็จะ กาหนดภาพถ่ายที่ออกมาได้ ทาใจให้คุ้นชินกับการใช้สี 50 เทคนคิ การออกแบบกราฟฟกิ เเล้วผลลัพท์ของภาพที่ออกมาจะมีการเปลย่ี นเเปลง ไป ในทางท่ีดี นอกจากน้ี อารมณ์ของภาพก็จะเด่นขึ้นมา ทีม่ า khaodesign.com อกี ดว้ ย ความสมั พันธ์ของสี สีมีความสัมพันธ์กันอย่างไรล่ะ เม่ือลองดูในวงจรสี (หรอื จะเรียกว่าวงล้อสีกไ็ ด)้ สามารถเข้าไปศึกษาและดูรายละเอียดเพ่ิมเติมพร้อม ตัวอย่างการออกแบบได้จากเว็บไซต์ ประกอบด้วย 4 ตอนสามารถเข้าดูไดจ้ ากลิงก์ดังน้ี เวบ็ ไซต์ khaodesign.com www.photoschoolthailand.com PART 1 https://qrgo.page.link/pf5WX สขี ั้นที่ 1 แม่สี (PRIMARY COLORS) PART 2 https://qrgo.page.link/QF3T4 คือสีท่ีเม่ือผสมกันเเล้ว จะได้สีอื่นอีก กลุ่มนี้คือสี แดง PART 3 https://qrgo.page.link/cM92u เหลอื ง น้าเงิน PART 4 https://qrgo.page.link/1XC4t สีขั้นที่ 2 (SECONDARY COLORS) คอื สีทเ่ี กดิ จากการผสมกนั ของสีขั้นท่ี 1 เช่น สีม่วง สสี ม้ สีเขยี ว สขี นั้ ท่ี 3 (TERTIARY COLORS) คือสที ่เี กดิ จากการผสมสีขน้ั ท่ี 1 และข้ันท่ี 2 เข้าด้วยกัน เช่น สีเเดงส้ม (vermilion) เหลืองส้ม (amber) แดง ม่วง (magenta) น้าเงินม่วง (violet) น้าเงินเขียว (teal) เหลอื งเขียว(chartreuse)

ความหมายของสี 7 นอกจากแต่ละสีจะสร้างความรู้สึกด้วยตนเองแล้ว เมื่อ สีท่อี ยใู่ นวรรณะเย็น (Cool Tone Color) นามาใช้ร่วมกันเรายังสามารถแบ่งสีออกเป็น 2 วรรณะ ไดแ้ ก่ สีน้าเงนิ สเี ขียว สฟี า้ สีกลมุ่ น้เี มือ่ ใช้งาน เพือ่ สร้างอารมณ์ท่ีแตกต่างกนั ออกไปเม่ือใช้งานร่วมกัน ไดอ้ ีกคือ จะได้ความรสู้ ึกสดชนื่ เยน็ สบาย ผ่อนคลาย ใช้โทนสรี ้อนเพ่ือใหภ้ าพดูอบอนุ่ เช่น กลุ่มสีโทนส้ม เเดง เหลือง และสีน้าตาล เเละเมื่อ ประกอบกับภาพของเเสงอาทิตย์ สีโทนร้อน ก็จะย่ิง กระตุ้น ความรู้สึกอบอุ่น ได้สมจริงมากขึ้น ส่วนมากสี โทนนี้จะถกู ใชใ้ นการเเต่งภาพท่ีเปน็ ช่วง Golden hour สที อี่ ย่ใู นวรรณะร้อน (Warm Tone Color) ได้แก่ สีแดง สีส้ม ให้ความรู้สึกอบอุ่น ร้อนแรง สนุกสนาน รวดเร็ว เรง่ รีบ สที อ่ี ยู่ในวรรณะเย็น ใช้โทนสีกลาง เป็นไดท้ ังสีรอ้ นและเยน็ สที ี่อยใู่ นวรรณะกลาง ได้แก่ สที ี่สามารถเปน็ ได้ทั้งวรรณะร้อนและเยน็ ไดแ้ ก่สี เหลอื ง และมว่ ง เมื่อสวี รรณะกลางอยกู่ ับสีวรรณะใดจะ กลายเป็นสีวรรณะนั้น ๆ การใช้สีเพ่ิมความโดดเด่น ให้กับจุดเด่นในภาพ และใช้สีตกแต่งส่วนอ่ืน ๆ ของ ภาพใหไ้ ด้ภาพรวมออกมาในอารมณ์ ตัวอย่างงานออกแบบสที ี่อยู่ในวรรณะร้อน ตวั อย่างงานออกแบบสีทอี่ ยใู่ นวรรณะกลาง ใชโ้ ทนสีเย็นเพอ่ื ภาพจะดูสบายตา กลมุ่ สโี ทนเย็น เชน่ สีเขียว สฟี า้ น้าเงิน จะให้ความรู้สกึ สบาย ผ่อนคลาย สโี ทนนจ้ี ะเกิดขนึ้ ก่อนดวงอาทติ ย์ขึน้ เเละหลงั ดวงอาทิตยต์ ก หรือข่วงทีเ่ รียกวา่ Blue hour น่ันเอง นอกจากนี้ ภาพสีโทนเย็น กบั ภาพทวิ ทัศน์ท่ี เเสดงออกถึงความเยน็ เข่าภเู ขาท่ีมีน้าเเขง็ ปกคลุม บางสว่ น จะยิง่ กระตนุ้ ให้คนดู ไดร้ ้สู ึก เเละสมั ผัสได้ถึง ความหนาวเยน็ และเงียบสงบ

อา่ นอารมณ์เเละใช้สใี หเ้ ขา้ กบั อารมณ์งาน 8 สีเเละอารมณ์ เป็นส่ิงท่ีเช่ือมโยงกันอย่างตัดไม่ขาด สีท่ีตัดกันหรือสีตรงกันข้าม เป็นสีที่อยู่ตรงข้ามกันใน ในภาพถ่าย คนท่ีมองภาพ จะมีความรู้สึกร่วมกับภาพ วงจรสี เช่น สีนา้ เงินตรงขา้ มกับสีแดงและสเี หลือง หรอื เเละย่งิ ชา่ งภาพสามาถสร้างความนา่ สนใจ เเละมกี ารลง สีแดงจะตรงข้ามกับสีเขียว ควรใช้สีใดสีหน่ึงจานวน น้าหนักท่ีอารมณ์ โดยเพ่ิมการใชส้ ีเข้าไปกระตุ้นอีกด้วย 80% และเลือกใช้สีคู่ตรงกันข้างเพียง 20% หรือ เเล้ว ภาพน้ันจะเป็นภาพท่ีเรียกได้เลยว่ามีอิทธิพลกับ 70-30 โดยประมาณ บนพื้นท่ีของงานโดยรวม จะทา จิตใจของคนดู และสีก็ยังเป็นการส่ือถึงระยะเวลาด้วย ให้ช้นิ งานเกิดเปน็ จุดเดน่ เมอื่ นามารวมกันจะทาให้สีท้ัง เช่น ภาพที่ถ่ายนั้น เกิดขึ้นในช่วงเวลาไน ฤดูอะไรท่ี สองนนั้ เดน่ ชัดมากขึน้ ต้องการ เทคนิคการเลือกใช้สีแบบสูตรสาเร็จจะมีอยู่ หลายรูปแบบ ตัวอย่างสีคตู่ รงกันข้าม หาดทรายสนี า้ ตาลเเดงกบั นา้ ทะเสสฟี า้ การใช้สคี ่ตู รงขา้ ม (COMPLEMENTARY COLORS) การใช้สีแบบสที ี่ตดั กันหรอื สตี รงกันขา้ ม เหลืองสม้ -น้าเงินมว่ ง สีท่ีอยู่ตรงข้ามกันบนวงจรสี เป็นสีที่มีค่าสีตัดกันอย่าง ชัดเจน โดยสีคู่น้ีจะให้ความร้สู ึกรนุ แรง จัดจ้าน ฉูดฉาด การใช่สีคู่ตรงข้าม จะทาให้ภาพสะดุดอย่างมาก สร้าง ความรู้สกึ เปน็ เอกลกั ษณใ์ นการอยู่เคียงคูก่ นั สที ่ตี ดั กันหรือสีตรงกนั ขา้ ม

9 การแยกคู่สที ่อี ยตู่ ดิ กบั สคี ตู่ รงกันขา้ ม (SPLIT COMPLEMENTARY COLORS) การใช้สีท่ีสองสีท่ีอยู่ติดกับสีคู่ตรงข้าม ก็เป็นการใช้ เพ่ือไม่ให้หลุดจากความกลลมกลืนตามคอนเซปต์สเี ป็น ความสัมพันธ์ของสีท่ีน่าสนใจ เช่น ในภาพที่มีสีแดงส้ม การใช้สีท่ีไปในโทนเดียวกันทั้งหมด เช่น จุดเด่นเป็นสี สีเขียว เเละสีน้าเงิน อยู่ด้วยกัน จะสร้างความเเตกต่าง นา้ เงนิ สสี ว่ นท่เี หลอื ก็จะเป็นสที ี่ใกลเ้ คยี งกบั น้าเงนิ โดย เเละความฉูดฉาดมากขึ้น เเต่ก็ให้ภาพที่ดูน่าสนใจ ใชว้ ิธีลดน้าหนกั ความเข้มของสนี ้าเงนิ ลงไป มากกวา่ ภาพทใ่ี ช่ค่สู ีตรงข้าม ตัวอยา่ ง SPLIT COMPLEMENTARY COLORS ภาพการใช้สแี บบโทนเดยี วกันใกลเ้ คียงกนั การใช้สีทใี่ กลเ้ คยี งกนั (ANALOG COLORS) สีท่ีใกล้เคียงกัน คือสีท่ีอยู่เรียงติดกันในวงจรสี จะสร้าง ความกลมกลืนข้ึนในภาพ ในการถ่ายภาพทิวทัศน์ ลอง จัดภาพให้มีสีใกล้เคียงกัน ลองมองวิว เเล้วเอามาเทียบ กับวงจรสี เเล้วจะจินตนาการได้ว่าภาพจะออกมาใน ลักษณะไหน รวมท้ังการเเต่งภาพหลังจากนั้น จะได้ กาหนดทิศทางสีได้ว่า จะต้องเเต่งภาพให้ออกมาเป็นสี อะไรบา้ ง

10 การเลอื กใชโ้ ครงสีสามเหล่ียม (TRIAD COLORS) คอื การใชส้ สี ามสีที่อยู่หา่ งกนั โดยจะอยู่ที่มุมของสามเหลี่ยมแตล่ ะมุม เช่น เมื่อเลอื กสีแดง สเี หลือง และสีฟา้ กจ็ ะถูก จัดว่าเป็นกลุ่มเดียวกัน ในการถ่ายภาพทิวทัศน์ กลุ่มสามสีก็กระตุ้นความนา่ สนใจของภาพ รวมทั้งเป็นการสรา้ งมติ ิ ให้กับภาพอกี ด้วย ภาพตัวอยา่ งการใช้โครงสีสามเหลีย่ ม (TRIAD COLORS)

11 สีกับการสอื่ อารมณ์ สีเขียว เป็นสีท่ีพบเป็นปกติในการถ่ายภาพทิวทัศน์ สี เขยี ว ใหค้ วามรู้สกึ ถงึ ความมีชวี ติ ชวี า สงบรม่ เยน็ สีน้าเงิน เป็นสีเเห่งความสงบ โล่ง กว้าง เม่ือมีการใช้สี นา้ เงินลงในภาพ จะให้ร้สู ึกถงึ พ้นื ที่กว้าง มีพน้ื ทใี่ นภาพ สเี ทา กระตุ้นใหร้ ู้สึกถึง สายฝน นา้ ไอหมอก กอ้ นเมฆ สีแดง เก่ียวข้องกับความโกรธ ความปรารถนา ความ เเละท้องฟ้า นอกจากน้ี สีเทาก็สื่อได้ค่อนข้าง รกั พบโทนสีนใี้ นธรรมชาติ เชน่ ดวงอาทิตย์ตก ดอกไม้ หลากหลาย เช่น สัมผัสได้ถึงความเยือกเย็น และความ เเละสขี องฤดูใบไมร้ ว่ ง รุนเเรง สีม่วง ให้ความรู้สึกผ่อนคลาย อาจจะไม่ค่อยพบใน สีส้ม พบบ่อยครั้งเม่ือถ่ายภาพดวงอาทิตย์ตก เป็นสี ธรรมชาติ สีม่วงกลายเป็นสีที่เเสดงถึงสัญลักษณ์เเห่ง โทนอุ่น ให้ความรู้สึก สนุกสนาน เบิกบาน ความสุข ความงาม เเละความแปลกใหม่ เเละความหลงไหล

12 สนี ้าตาล เป็นสีของพืน้ ดิน (Earth tone) เป็นสีท่ีใชเ้ ม่อื สีเหลือง พบมากกับทิวทัศน์ที่มีดอกไม้ ทะเลทราย เเละ จะสือ่ ถงึ สภาวะของส่งิ แวดล้อม ใบไมใ้ นฤดูใบไม้ร่วง ถูกใชเ้ พ่ือกระตุ้น ความสุข พลังงาน การใช้ทฤษฎีสี ต้องคานึงอยู่เสมอว่า จะใช้สีนี้ในภาพ “ทาไม” เเละ “อย่างไร” การเข้าใจพ้ืนฐานของสีทาให้การ ถา่ ยภาพสื่อถงึ อารมณ์ เเละชน้ี าเพื่อใหร้ ้สู กึ ในสิ่งทีเ่ ราตอ้ งการจะนาเสนอไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ การเลือกใช้ตวั อกั ษรสา้ หรบั การออกแบบ Text Colors การเลอื ก Font ไปใช้ในงานออกแบบมขี ้อควรคานึง ง่าย ๆ อยู่ 2 ข้อคือ การเลือกใช้สีที่เหมือนใกล้เคียงกันมากจนเกินไปจะ ทาใหก้ ารอ่านตวั อกั ษรได้อยาก ดังนนั้ ในการเลอื กใช้สี 1. ความหมายตอ้ งเขา้ กนั หมายความวา่ ตัวอักษรและสีของพ้ืนหลังควรมีสีท่ีตัดกันชัดเจน ความหมายของคาและ Font ท่เี ลือกใชค้ วรจะไป เพ่ือให้ผ้อู ่านสามารถอา่ นตัวอกั ษรได้อยากสะดวก ด้วยกนั ได้ เช่น คาว่านา่ รกั ก็ควรจะใช้ Font ท่ดี ูนา่ รกั ไปด้วย ไม่ควรใช้ Font ที่ดเู ป็นทางการดังภาพ วิธเี ลอื ก Font ไปใชใ้ นงานออกแบบ ตัวอย่าง 2. อารมณ์ของฟอนต์ และอารมณ์ของงานต้องไป ในทิศทางเดียวกัน เช่น งานท่ีต้องการความน่าเช่ือถือ ก็ จ ะ เ ลื อ ก ใ ช้ Font แ บ บ Serif ท่ี ดู ห นั ก แ น่ น น่าเชื่อถือ ส่วนงานที่ต้องการความฉูดฉาดอย่าง โปสเตอร์ลดราคาก็ควรจะเลือกใช้ Font ที่เป็นกันเอง ไม่เป็นทางการมากนักอย่าง Font ในกลุ่ม Script เป็นตน้

นอกจากการเลือก Font มาใช้งานแล้ว การวาง 13 ตาแหน่งตัวอักษรก็เป็นอีกเร่ืองหน่ึงท่ีมีความสาคัญ กับการทางาน สาหรับการวางตาแหนง่ ตัวอักษร มีข้อ 2. จดุ เดน่ ควรจะมเี พยี งจดุ เดยี ว หรอื พูดงา่ ย ๆ ก็ ควรคานงึ ถึงไวใ้ ห้อยู่ 3 ขอ้ คือ คือมีตัวอักษรตัวใหญ่ๆ อยู่เพียงชุดเดียว จึงจะเป็น จดุ เดน่ ทม่ี องเห็นได้ง่าย ไมส่ ับสน ส่วนจุดอ่นื ๆ ขนาด 1. ธรรมชาติการอ่านของคนไทยจะอ่านจากซ้าย ควรจะเล็กลงมาตามลาดบั ความสาคญั ไปขวา และบนลงล่าง โดยมีรัศมีการกวาดสายตา ตามลาดับ ดังน้ันถ้าอยากให้อ่านง่าย ควรจะวาง 3. ไม่ควรใช้ Font หลากหลายรูปแบบเกินไป เรียงลาดับให้ดีด้วย ไม่เช่นน้ันจะเป็นการอ่านข้ามไป จะทาให้กลายเป็นงานที่อ่านยากและชวนปวดศรีษะ ข้ามมาทาใหเ้ สยี ความหมายของข้อความไป มากกว่าชวนอ่าน ถา้ จาเป็นจริง ๆ แนะนาให้ใช้ Font เดมิ แต่ไม่ตกแต่งพวกขนาด, ความหนาหรือกาหนดให้ ตัวอยา่ งการใช้ Font ในงานออกแบบ เอียงบ้าง เพ่ือเพ่ิมความน่าสนใจไม่ให้งานดูน่าเบ่ือ แบบนี้จะดกี ว่า ไมม่ หี ัว มหี ัว

14

15 แนะนา้ เวบ็ ไซตส์ ้าหรบั ดาวนโ์ หลดแบบอกั ษร ฟอนต์ Font.com ไทยเฟซ Thaifaces.com

16 กูเกิลฟอนต์ fonts.google.com การติดตงั ฟอนต์ (Font) ลงเครอ่ื ง 1. ไปที่ชอ่ งคน้ หาและพิมพข์ ้อความ “Control” หลังจากน้ันจะปรากฏคาส่งั Control Panel ข้นึ ใหค้ ลกิ เลือกคาสงั่ ดังกลา่ ว 2 คลิกเลือกคาส่งั “Control Panel” 1 จุด จากตวั อยา่ ง 1 พมิ พข์ ้อความ “Control Panel”

17 2. เมือ่ เข้าสู่ Control Panel หากปรากฏหนา้ ต่าง แบบ Category ให้ปรับเปน็ แบบ “Large icon” คลกิ เพอื่ เปล่ียนการแสดงผลหนา้ จอ 3 เปน็ แบบ “Lage icons” ภาพแสดงหนา้ ต่าง Control Panel แบบ Category 3. คลิกเลือกที่ icon “Fonts” 4 ดบั เบลิ คลิกเลือก “Fonts”

18 4. เมอ่ื ดังเบิลคลิกท่ี icon “Fonts” แล้วจะปรากฏหน้าตา่ ง ดังภาพ 5. จากน้นั ให้นาฟอ้ นท่ดี าวนโ์ หลดแลว้ ยกเลิกการแพ๊คไฟล์ด้วยคาสั่ง “Extract filcs...” ดงั ภาพ 5 คลิกเมาส์ขวาเลือกคาส่งั “Extract files...”

19 6. หลงั จากเสร็จส้ินการยกเลิกการแพค๊ ไฟลจ์ ะปรากฏโฟลเดอร์ ของฟ้อนท่ีแพ๊คดังภาพ โฟลเดอร์ทยี่ กเลิกการ แพค๊ ไฟล์จะมีช่ือเหมือนกันชื่อไฟล์ท่แี พค๊ มา ดบั เบิลคลกิ ทโ่ี ฟลเดอร์ 6 7. เมื่อเขา้ ไปท่ีโฟลเดอร์ใหค้ ัดลอกฟอ้ นท้งั หมดในโฟลเดอร์นี้ คลกิ เลือกฟอ้ น 7 8 คลกิ เมาสข์ าว เลือกคาส่งั Copy

20 8. ไปทห่ี นา้ จอ Control Panel จากนนั้ คลกิ เมาสข์ วา เลือกคาส่ัง “Paste” ระบบจะนาฟ้อนท่เี ลอื กติดต้ังลง ใน Windows 9 คลกิ เมาส์ขาว เลือกคาสงั่ “Paste” หน้าจอแสดงการทางานเม่ือมีการตดิ ตั้ง Fonts เพมิ่ ใหร้ อจนกวา่ การทางานจะเสร็จสมบูรณห์ นาต่าง Installing Fonts กจ็ ะหายไป 10 เครือ่ งกาลังประมวลผลติดต้ัง Fonts หมายเหตุ : หลงั จากตดิ ตง้ั เรียบร้อยแลว้ หากท่านต้องการใช้ฟอ้ นทโ่ี ปรแกรมใด ถ้าเคร่ืองเปดิ โปรแกรมน้ันอย่กู ่อนตดิ ตง้ั ใหป้ ดิ โปรแกรมไปก่อน แล้วเปิดโปรแกรมข้นึ มาใหม่ฟอ้ นท่ีติดตง้ั จะมีให้เลือกใชง้ านได้ตามปกติ

21

22 Remove.bg ลบพืนหลบั อตั โนมตั ผิ ่านเว็บ 1. เปดิ เว็บไซต์ www.remove.bg วธิ ีการใชง้ านคลิกเลือกปุ่ม Upload Image > อพั โหลดภาพทต่ี ้องการลบ พืน้ หลงั ออกจากเครือ่ งเว็บจะทาการประมวลผลและปรากฎภาพทไ่ี ดล้ บพื้นหลักงออกจากน้ันใหค้ ลกิ เลอื กปุ่ม คลิกเลือกป่มุ Upload Image 1 2. คลกิ ปุม่ Download จะมใี ห้เลอื ก 2 แบบคือ 2.1 Preview Image 612 × 408 แบบฟรคี ณุ ภาพภาพทไี่ ดจ้ ะมีขนาด 612 × 408 pixcel 2.2 Full Image 2048 × 1365 แบบเสียเงนิ คุณภาพภาพที่ไดจ้ ะมีขนาด 2048 × 1365 pixcel

23 เมื่อคลิกปุ่มดาวน์โหลดเรียบร้อยแล้วเครื่องจะดาวน์โหลดไฟล์ไว้ท่ีเคร่ืองดังน้ี ท่านสามารถนารูปท่ีได้ทาการลบ พื้นหลงั ออกอัตโนมัติไปใช้กบั งานออกแบบได้

24 Application Snapseed ส้าหรับการรีทัชภาพด้วยมือถือ คุณสมบตั ิหลักของ การใช้งาน Application Snapseed Application Snapseed 1. เปิดแอพเข้ามาจะเจอหน้าหลักของแอพ 1 Application Snapseed 2. จะปรากฏหน้าจอของ Application Snapseed ซึ่งมีเมนูเดียวคือ “+ แตะท่ีใดก็ได้เพื่อเปิดรูปภาพ” ให้เลือกรปู ภาพท่ตี ้องการจะแต่งเพ่ือนาไปใชต้ ่อไป Application Snapseed เป็นแอพสาหรับใช้ในการ 2 แก้ไขรูปภาพระดับมืออาชีพท่ีมีฟังก์ชัน ด้วยฟีเจอร์ท่ี หลากหลาย เช่นการทาให้ภาพดูโดดเด่น, หมุนภาพ, ลบรอยสิว, ลบจุดด่างดา มากไปกว่าน้ันแอพนี้ยังมี คุณสมบัติ คล้ายๆ โปรแกรมอย่าง Photoshop โดยมี เคร่ืองมือและฟิลเตอร์ใหใ้ ช้งานถงึ 25 รายการ แตะทใี่ ดกไ็ ดเ้ พือ่ เปิดรปู ภาพ ภาพตัวอยา่ งการแตง่ ภาพดว้ ย Application Snapseed

25 3. เลือกภาพทต่ี ้องการปรบั แตง่ เครื่องมอื 6. ภาพท่ีได้หลังจากการปรบั ค่าแลว้ 4. คลกิ เลอื กท่เี มนู “เคร่อื งมือ” 5. ตวั อย่างการใชค้ าสั่ง “ปรบั แตง่ ภาพ” โดยกาหนดคา่ 3 ส่วนคอื 5.1 ความสวา่ ง 5.2 ความอ่มิ ตัว 5.3 บรรยากาศ

26 7. บันทึกไฟลเ์ พ่ือนาไปใช้งาน บนสอ่ื ออนไลนห์ รือเซฟลงในเครื่อง 8. รปู ท่ไี ด้ ภาพหลงั ปรับ ภาพก่อนปรับ

27

28 รวมเวบ็ ไซต์ทีส่ ามารถดาวน์โหลด Vector Free www.freepik.com เปน็ แหล่งรวบรวมเวกเตอร์ฟรีท่ีใหญท่ ่ีสดุ เม่ือพูดถงึ เวกเตอรฟ์ รี นกั ออกแบบมักจะคิดถงึ เว็บนเ้ี ป็นทแ่ี รกๆ ไฟล์ท่ีมใี ห้ ดาวน์โหลดในเว็บจะมีท้งั แบบฟรแี ละเสียเงนิ ซึ่งจะมีไฟลน์ ามสกลุ ดังต่อไปน้ี 1. Vectors คอื ไฟลท์ ี่มนี ามสกลุ .ai หรอื .EPS 2. Photos คือไฟลภ์ าพถา่ ย หรอื รปู ภาพท่ีมนี ามสกุล 3. Psd 4. Icons www.freevectors.net เวกเตอรใ์ นเวบ็ นี้สามารถโหลดไปใชไ้ ด้ฟรี 100% จะเอาไปใชส้ ว่ นตวั หรอื ทาธุรกจิ ก็ยังฟรีเหมอื นเดมิ

29 freevectormaps.com แหลง่ รวมเวกเตอรร์ ูปแผนท่ที ี่มใี หเ้ ราเลอื กดาวนโ์ หลดไปใช้กันฟรๆี ไม่วา่ จะต้องการส่วนไหนของโลก ประเทศอะไร ทวีปอะไร ท่ีน่มี ีให้หมด vector4free.com เวบ็ นี้ได้ช่อื วา่ เป็นเว็บแจกของฟรที ี่เก่าแต่ยงั เกา๋ อยู่ถ้าไม่เช่อื กล็ องคลิกเขา้ ไปดูสิ แล้วจะติดใจ

30 www.vecteezy.com เปน็ อีกเว็บท่ีแจกฟรีเวกเตอร์ โดยทีเ่ ราสามารถนาไปใช้ได้ทั้งแบบสว่ นตวั หรือจะเอาไปทาธรุ กจิ การคา้ กไ็ มเ่ ปน็ ไร เพียงแตต่ ้องใสเ่ ครดติ ให้เคา้ สักหนอ่ ย pixelbuddha.net ถ้ากาลงั มองหาเวกเตอร์แปลกๆ ที่หาไม่ไดจ้ ากที่ไหนแนะนาให้ลองเข้าไปดูใน Pixel Buddha

31 www.vexels.com ถ้าใครอยากไดเ้ วกเตอร์ฟรีๆ ใหม่ๆ ท่ไี ม่ตกยคุ หรือลา้ สมัยต้องอย่าพลาดเว็บน้ีนะคะ เพราะเค้าอัพเดทกนั วันต่อวนั เลย www.flaticon.com

32 www.canva.com เว็บนีไ้ มใ่ ช่เวบ็ ที่เราเข้าไปดาวน์โหลดเวกเตอร์มาใช้รว่ มกับ Ai แตเ่ ป็นเว็บสรา้ งงานกราฟิกออนไลน์ ท่ีจะมขี องฟรีๆ มา ให้เราไดใ้ ชก้ นั ซึ่งหนึง่ ในน้ันก็คือเวกเตอร์ และเรากส็ ามารถดาวน์โหลดเป็นไฟลภ์ าพพร้อมใชง้ านได้ทันที undraw.co/illustrations

33 www.drawkit.io pixelbuddha.net/vectors

34 dryicons.com

35

36 การใช้งานโปรแกรม PowerPoint 2016 โปรแกรม PowerPoint คือ โปรแกรมที่ช่วยงานนาเสนอให้สวยงามด้วยรูปแบบที่ทันสมัย และง่ายต่อการ ใช้งาน ทใ่ี ชส้ าหรบั สรา้ งงานนาเสนอหรืองานพรีเซนเตชัน่ (Presentation) นาเสนอขอ้ มูลได้ท้ัง ข้อความ รปู ภาพ เสียง วิดีโอ ตาราง กราฟ ผังองค์กร การใส่เอฟเฟ็กต์ต่าง ๆ เพื่อเพิ่มความสนใจให้กับสไลด์ เช่น การนาเสนอผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ต และการนาเสนองานในรูปแบบของไฟล์วิดีโอ เป็นต้น ด้วยความสามารถเหล่าน้ี โปรแกรม PowerPoint จึงได้รับความนยิ มในการสรา้ งานนาเสนอ ในการทางาน ธรุ กิจ การตลาด และการศึกษา เปน็ ต้น การนาเสนอข้อมลู (Presentation) คอื การสื่อสารเพ่อื เสนอขอ้ มลู ความรู้ ความคิดเหน็ หรอื ความ ต้องการไปสู่ ผู้รบั สาร โดยใช้เทคนคิ หรอื วธิ ีการตา่ ง ๆ อนั จะทาใหบ้ รรลคุ วามสาเร็จตามจุดมุง่ หมายของการนาเสนอ เตรยี มพรอ้ มก่อนลงมอื สร้างงานนา้ เสนอ ในการนาเสนอทดี่ ี ไม่ได้อยู่ท่ีทักษะการพดู เพยี งอย่างเดียว การสรา้ งงานนาเสนอที่ดีจะเป็นตวั ช่วยดึงดูดความ สนใจใหก้ บั ผฟู้ ังได้ ดังน้ันก่อนลงมือสร้างงานเสนอ หรอื Presentations ไม่ใช่แค่การใช้ทกั ษะการนาเสนอสร้างงาน นาเสนอทส่ี วยงาม การนาเสนออย่างมคี ุณค่า การนาเสนอท่ีแขง็ แกรง่ และการนาเสนอแบบมสี ่วนรว่ ม ล้วนเปน็ ส่ิงที่ ต้องนามาใช้อยา่ งผสมผสานกัน จึงจะทาให้การนาเสนอประสบผลสาเร็จและบรรลุถงึ เป้าหมายท่ีต้องการได้ ซ่ึงมเี ทคนิค ในการสรา้ งงานนาเสนอดงั นี้ 1. วางแผนงานนาเสนอ (Prepare) เพอ่ื ให้งานนาเสนอตรงตามวัตถปุ ระสงค์ของการนาเสนอ ผู้นาเสนอจะต้องทราบวัตถุหประสงของการนาเสนอวา่ ต้องการพดู คุย บอกเล่า หรือบรรยายเร่อื งอะไร นาเสนอในสถานท่ีใด เช่น หอ้ งเรยี น ห้องประชุม หอ้ งสัมมนา ทราบว่า กลมุ่ เปา้ หมายคือใคร ตอ้ งใช้เวลาในการนาเสนอนานเทา่ ไหร่ มีความคาดหวงั หลงั จากการนาเสนอจบคืออะไร เรอื งอะไร ความคาม ให้ใครฟงั หวงั นาเสนอ นานแค่ ทไี่ หน ไหน อยา่ งไร

37 ในการเตรียมการนาเสนอ คุณอาจจะวางเค้าร่าง หรือ Outline ของเร่ืองท่ีจะนาเสนอเอาไว้คร่าวๆ เพ่ือให้ เห็นภาพรวม จะได้มีแนวทางในการออกแบบสไลด์และลงในรายละเอียด นอกจากนี้จะได้ประมาณการใช้เวลาในการ นาเสนอและความยาวของงานนาเสนอดว้ ย

กระบวนการส่ือสาร (Communication Process) 38 ผู้ส่งสาร ผรู้ ับสาร (Sender) (Receiver) องค์ประกอบของการส่อื สาร ประกอบดว้ ย 1. ผสู้ ง่ ขา่ วสาร (Sender) 2. ข้อมูลข่าวสาร (Message) 3. ส่ือในช่องทางการส่ือสาร (Media) 4. ผรู้ ับขา่ วสาร (Receivers) 5. ความเข้าใจและการตอบสนอง (Feedback หรือ Response) ผู้ส่งข่าวสารทาหน้าที่เก็บรวบรวมแนวความคิดหรือข้อมูล จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เม่ือต้องการส่งข่าวไปยังผู้รับ ข่าวสารก็จะแปลงแนวความคิดหรือข้อมูลท่ีเก่ียวข้องออกมาเป็น ตัวอักษร น้าเสียง สี การเคล่ือนไหว ฯลฯ ซึ่งเรียกว่า ข่าวสารจะได้รับการใส่รหัส (Encoding) แล้วส่งไปยังผู้รับข่าวสารผ่านสื่อกลาง (Media) ในช่องทางการส่ือสาร (Communication Channels) ประเภทต่าง ๆ หรืออาจจะถูกส่งจากผู้ส่งข่าวสารไปยังผู้รับข่าวสารโดยตรงก็ได้ ผู้รับ ข่าวสาร เม่ือได้รับข่าวสารแล้วจะถอดรหัส (Decoding) ตามความเข้าใจและประสบการณ์ในอดีต หรือสภาพแวดล้อม ในขณะน้ัน และมีปฏิกิริยาตอบสนองกลับไปยังผู้ส่งข่าวสารซ่ึงอยู่ในรูปขอความรู้ ความเข้าใจ การตอบรับ การปฏิเสธ หรอื การนง่ิ เงียบกเ็ ปน็ ได้ ท้งั นข้ี ่าวสารท่ีถูกสง่ จากผสู้ ่งขา่ วสารอาจจะไม่ถงึ ผ้รู บั ขา่ วสารท้ังหมดก็เป็นได้ หรือขา่ วสารอาจ ถกู บิดเบือนไปเพราะในกระบวนการสื่อสาร ย่อมมโี อกาสเกิดส่งิ รบกวน หรือตวั แทรกแซง (Noise or Interferes) ได้ทุก ข้นั ตอนของการสอ่ื สาร กาหนดกลมุ่ เปา้ หมาย (Audience) Who is the audience ? กลุม่ เปา้ หมายคือใคร แบคกราวดเ์ ป็นอยา่ งไร

39 What is the purpose of the event ? วัตถปุ ระสงค์ของการนาเสนอคอื อะไร Why were you speak to ? พดู เพื่ออะไร ความคาดหวัง Where is it ? พดู ท่ีไหน When is it ? เม่ือใด มเี วลาในการเตรียมตวั แค่ไหน ใชเ้ วลาเทา่ ไหร่ เนือ้ หา (Content) Content หรือเนอื้ หาท่ีจะนาเสนอ เนือ้ หาเปน็ สง่ิ สาคัญในการนาเสนอ การออกแบบสไลด์ การวางเนอ้ื หาต้องมี สดั ส่วนทีพ่ อดี ทัง้ ข้อความ, รปู ภาพ, ตาราง, กราฟ และกราฟิกได้ตามความเหมาะสม นอกจากน้กี ารนาเสนอทปี่ ระสบ ความสาเรจ็ ไม่ได้อยู่ทเ่ี นื้อหา 100% เสมอไป แตจ่ ะอยู่ทตี่ ัวผ้นู าเสนอ20% ที่บอกเลา่ เร่ือง และเน้ือหาในสไลด์ 80% 2. การออกแบบ การออกแบบงานนาเสนอท่ีได้รับความสาเร็จต้อง Simple & Clear คือ ง่ายและชัดเจน การออกแบบ ง่ายๆ แต่สวยงาม นอกจากนีต้ ้องง่ายต่อการเข้าใจด้วย ท้ังน้ีก็อาจจะขึ้นอยู่กับเน้ือหาท่ีนาเสน อ แ ล ะ กลุ่มเป้าหมายท่ีรับชมด้วย เช่น การนาเสนอทางด้าน ธุรกจิ ต้องออกแบบให้เรียบงา่ ย แตข่ อ้ มลู นน้ั ต้องส่อื ให้ ชัดเจน เชื่อมโยงเนื้อหาได้ดี ลูกเล่น สีสันในสไลด์ต้อง ไม่มากจนขาดความน่าเชื่อถือ การออกแบบโดยท่ัวไป ประกอบด้วยองค์ประกอบสาคัญหลายอย่าง ได้แก่ ตัวอักษร หรือข้อความ ภาพประกอบ เน้ือท่ีว่างและ ส่วนประกอบอ่ืนๆ การออกแบบสิ่งพิมพ์ต้องคานึงถึง การจัดวางองค์ประกอบต่างๆ ดังกล่าวเข้าไปด้วยกัน แตก่ ารออกแบบงานนาเสนอที่ตอ้ งการสรา้ งแรงจูงใจ ชกั ชวนและทาให้ผูช้ มรสู้ กึ มีส่วนรว่ มในกิจกรรมก็ออกแบบใหม้ สี สี นั ทีฉ่ ดู ฉาด สะดุดตา ดูนา่ ตื่นเตน้ ถ้าเป็นงานนาเสนอ ดา้ นอาหาร กต็ ้องมีสสี ันท่นี ่ารับประทาน เป็นตน้ การนาเสนอ (Delivery) การนาเสนองานพรีเซน คือขั้นตอนสุดท้ายของการนาเสนอ แต่ก่อนท่ีจะนาเสนอ คุณต้องทดสอบงานนาเสนอ ก่อน เช่น ทดสอบการแสดงผลของข้อความ, รูปภาพ, เอฟเฟิกต์การเปล่ียนสไลด์, การเคลื่อนไหว ลาดับการแสดงผล และเวลาทใี่ ช้ในการนาเสนอ เพ่ือใหก้ ารนาเสนอเข้าถึง กล่มุ เปห้ มาย และใหไ้ ด้ผลลพั ธ์ตามวัตถปุ ระสงคท์ ต่ี อ้ งการ สาหรับการนาเอางานนาเสนอไปใช้งานน้ัน ใน PowerPoint นอกจากการนาเสนอด้วยตนเองผ่านเครื่อง คอมพิวเตอร์ หรือโปรเจ็กเตอรท์ ี่เปน็ มาตรฐานท่ัวไปแลว้ คณุ สามารถเลอื ก ชอ่ งทางการนาเสนอไดอ้ ีกหลายรปู แบบ 1. Side show นำเสนอสไลดโ์ ชวผ์ ่ำนเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ หรอื หน้ำจอโปรเจก็ เตอร์ 2. Present Online แชรก์ ำรนำเสนอออนไลน์สดๆ รว่ มกบั ผอู้ ื่นผำ่ นเครือข่ำยอินเทอรเ์ นต็ 3. Video บันทึกสไลด์เป็นไฟล์วิดีโอนำเสนออัตโนมัติ พร้อมแสดงเอฟเฟิกต์ แจกจ่ำยให้ผู้อ่ืนได้เปิดดูผ่ำน อุปกรณ์ตำ่ งๆ หรอื อัพโหลดขึน้ ไปบนช่องของ YouTube

40 4. Picture บันทึกสไลด์เป็นไฟล์รปู ภำพ แจกจ่ำย ให้ผู้อื่นได้เปิดดูผ่ำนโปรแกรม หรือแอพ ดูรูปภำพในอุปกรณ์ ตำ่ งๆ 5. Handout จดั พมิ พ์ออกทำงกระดำษ เปน็ คูม่ อื กำรนำเสนอของตนเอง หรอื นำไปแจกผู้ชม 6. PDFIXP บนั ทึกเป็นไฟล์ pdfxps นำไปแชร์ หรือสง่ แนบไปทำงอีเมลใหผ้ ู้อ่นื 7. CD/DVD รวบรวมไฟลง์ ำนน้ำเสนอลงแผ่น ซดี ดี วี ีดี เพ่ือนำไปเปิดท่ีเครอื่ งอ่ืน หรอื นำไป แจกจ่ำย กอ่ นนำเสนอ วิธเี ปิดใช้งานโปรแกรม PowerPoint แบบดว่ น 1. ท่ีปมุ่ ค้นหำใกล้ Windows ให้พมิ พช์ อ่ื โปรแกรม “powerpoint” จะปรำกฏไอคอน (Icon) ของโปรแกรม 2. ใหเ้ ลือกคลกิ เลือกทต่ี ัวใดตวั หน่ึง จะเปดิ เข้ำส่โู ปรแกรม PowerPoint 3. คลกิ เลือกรูปแบบธีมของงำนนำเสนอใหม่ท่ีตอ้ งกำรสร้ำง เม่ือเปิดใช้งานโปแกรม PowerPoint 2016 โปรแกรมจะให้เลือกการเร่ิมต้นการสร้างงาน ว่าต้องการที่จะสร้าง งานนาเสนอเป็นแบบใด เช่น สร้างงานนาเสนอจาก Blank Presentation คือการสร้างงานนาเสนอแบบสไลต์ว่างๆ การสร้างพรเี ซนต์แบบ Theme (ธีม) ที่มกี ารออกแบบโครงสร้างพน้ื ฐานของสไลดเ์ อาไว้แล้ว

41 การกา้ หนดขนาด Slide หลงั จากคลกิ เลือกรูปแบบการสรา้ งสไลด์ 1. เมอื่ สร้าง Slide เปล่าเรียบรอ้ ยแล้วเลอื กต้ังเมนู > Design 2. จากนน้ั คลกิ Ribbon > Slide Slize 3. กาหนดขนาด Slide ทีต่ ้องการ

42 4. ตง้ั ค่าสไลด์ตามขนาดทีต่ อ้ งการ 5. เม่อื ตั้งคา่ ขนาดที่ตอ้ งการเรยี บร้อยแลว้ ใหค้ ลกิ ปุ่ม OK 6. หลงั จากกดปมุ่ OK จะปรากฏหนา้ ต่างใหก้ าหนดการตัง้ คา่ เพมิ่ เตมิ โดยใหเ้ ลือก Maximize หรอื Ensure Fit 7. หลังจากเลอื กเรยี บร้อยแล้วจะปรากฏหน้าสไลดต์ ามที่ต้ังค่าใหม่ดงั ภาพ

43 Note : ในการสรา้ งงานนาเสนอใหด้ ูสถานทแ่ี ละ อปุ กรณ์ท่ใี ช้ว่าหน้าจอโปรเจก็ เตอรเ์ ปน็ ขนาดใดให้สรา้ ง PowerPoint เปน็ ขนาด เดยี วกบั จอท่ีใช้ในการนาเสนอซงึ่ จะเป็น คา่ ท่ีเริม่ ตน้ ท่ีโปรแกรมมใี ห้เลือกแล้วดังนี้ - Standard (4:3) - Widescreen (16:9) การสรา้ ง Slide Master ธมี หรือเทม็ เพลตตน้ แบบสไลด์ Slide Mater คือต้นแบบสไลต์ เป็นมุมมองต้นแบบสไลด์ เพื่อใช้สาหรับออกแบบหรือแก้ไขธีมของสไลด์ใน มุมมองน้ีจะเห็นรูปแบบของ Loyout ของสไลด์ทุกรูปแบบก่อนที่จะใส่เนื้อหาซึ่งสามารถตั้งค่าธีมได้ที่นี้ในกรณีท่ีสร้าง ตน้ แบบสไลดด์ ้วยตนเอง การกาหนดหรอื ใส่สว่ นประกอบต่างๆ ของธีม PowerPoint เพอ่ื ให้ทุกๆ สไลด์มรี ูปแบบเดียวกนั เช่น ตอ้ งการให้ สไลด์ทุกสไลด์มีช่ือองค์กร หรือโลโก้ (logo) ปรากฏอยู่ด้านล่างของสไลด์ทุกๆ สไลด์ ต้ังค่ารูปแบบของตัวอักษรแบบ เดยี วกันในทกุ ๆ สไลด์ โดยการตัง้ ค่าทีเ่ มนคู าส่ัง View ตามดว้ ยคาสง่ั Slide Master ใส่เพียงแค่ครั้งเดียวสามารถเพ่ิมใน Slide Master ได้ ขั้นตอนต่างใน PowerPoint 2010, 2013, 2016 และ 2019 กจ็ ะเหมือนๆ กัน เช่น การออกแบบหน้าเคา้ โครง (Layout) รูปแบบตา่ ง ๆ ให้มสี ีพน้ื หลังงหรือ ตาแหน่งการจัด วางตวั อกั ษร และกราฟฟิก ในตาแหนง่ ใด ใช้ฟอ้ นอะไร เมื่อคลกิ เลือกทีร่ ิบบนิ Layout และเลือกรปู แบบ Layout

44 วธิ ีการสรา้ ง Slide Master 1. คลิกทีแ่ ถบเมนู > View ตามด้วยคาส่ัง 2. ท่แี ถบเคร่ืองมือคลิกเลือกริบบอน “Slide Master” 2. เลือก Ribbon “Slide Master” 3. จากนน้ั จะปรากฏหน้าต่างการตัง้ ค่า Slide Master โดยจะสามารถตั้งคา่ Slide Master จานวนทง้ั หมด 12 หนา้ ดงั ภาพ จากนั้นเรากส็ ามารถตัง้ คา่ รูปแบบธมี ทตี่ ้องการได้ เช่น กาหนดสพี น้ื ของ Slide ตน้ แบบ เลอื กฟอ้ นต์และกาหนด ขนาดตัวอกั ษรทีต่ อ้ งการ ดว้ ยการคลิกเลอื กท่ี Layout ตา่ ง ๆ และแก้ไขรูปแบบตามทตี่ ้องการ 4. รบิ บอนกลมุ่ Insert Placeholder ใหส้ าหรบั การกาหนดการแทรกรปู แบบโครงสรา้ งเน้ือหาตน้ แบบ

45 5. เมื่อกาหนดค่าตา่ ง ๆ ตามทต่ี ้องการเรียบรอ้ ยแล้วใหเ้ ลือกเมนูคาสงั่ View 6. คลกิ เลอื กทร่ี ิบบอน Normal เพื่อเขา้ สู่การทางานโหมดปกติ หนา้ ต่างการทางานโหมดปกติ

46 วธิ กี ารเลอื ก Layout Slide มาใชง้ าน 1. คลิกเลือกเมนู Home 2. คลิกเลอื ก Ribbon > Layout 3. คลกิ เลอื กรปู แบบของ Layout ทีต่ ้องการ เชน่ Title Slide เป็นตน้ หนา้ จอจะเปล่ียนเปน็ รูปแบบตามสไลด์ ตน้ แบบที่สร้างไว้

47 หน้าตัวอยา่ งหลังจากคลกิ เลือก Layout แบบ Title Slide

48 วาดรูปทรงกราฟิก (Shapes) การสร้างงานนาเสนอบางคร้ังต้องมีก็ต้องมีการขีดเขียนหรือวาดรูปประกอบ เพ่ือให้มองเห็นภาพรวม หรือการ สรุปเน้อื หาให้เขา้ ใจง่ายข้ึน การวาดรูปน้จี ะใช้เครือ่ งมือในกลุม่ Shapes วาดจากรูปทรงสาเรจ็ และตกแต่งรปู ทรงท่ีวาด ใหส้ วยงามด้วยคาส่ังในแท็บ Format ของเคร่อื งมอื กลุ่ม Drawing Tools ดังนี้ การคัดลอก (Copy) รูปภาพ รปู ทรง ขอ้ ความ การสร้างเนื้อหาลงใน PowerPoint เชน่ การแทรกขอ้ ความ การแทรกรปู ทรง การแทรกรูปภาพ สามารถใชค้ าส่ัง คดั ลอกด้วยแป้นพิมพ์ Ctrl ได้ในกรณีทีต่ อ้ งการคัดลอกข้อมลู ทีเ่ หมือนๆ กัน เช่น Shape หลงั จากคดั ลอกเรยี บรอ้ ยแลว้ แลว้ ตกแต่งหรอื ปรับขนาดเพ่ิมเติมให้แตกต่างกันโดยไมต่ อ้ งวาด Shape ใหม่ โดยมวี ิธีการใช้งานดงั ต่อไปนี้ 1. คลิกเลือกท่ี Shape ท่ตี ้องการคัดลอก 2. กดแป้นพมิ พ์ Ctrl ค้างไว้ + คลิกเมาสค์ ้างแล้วลากเมาส์ออกจากตาแหน่งของรูปที่ตอ้ งการคดั ลอก 3. ปรากฏ Shape ท่คี ัดลอก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook