กล่มุ ท่ี ๑ พระพทุ ธศาสนามหายานในประเทคจีน รายวิชา พระพทุ ธศาสนามหายาน มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั วิทยา เขตสรุ นิ ทร์ จดั ทาโดย นิสติ ปีท่ี 3 พระพลวตั พลวโร รหสั 6409501021 นิสิตปีท่ี 3 พธ.บ พระสรุ นิ ทร์ สมุ งคุ โล รหสั 6409501024 นสิ ิตปีท่ี 3 พธ.บ พระบญุ มี ปรสิ ทุ โฺ ธ รหสั 6409501032 นิสิตปีท่ี 3 พธ.บ พระมหาวรี ะชยั ขนตธิ มโุ ม รหสั 6409501040 นสิ ติ ปีท่ี 3 พธ.บ นาเสนอ พระมหาสมพงษ์ ฐิตจติ โต ความนา พระพทุ ธศาสนาแผจ่ ากอินเดยี ไปส่นู านาประเทศ ตงั้ แตส่ มยั พระเจา้ อโศกมหาราช เร่มิ แผ่ไปส่จู ีนหลงั จากทาสงั คายนาครงั้ ท่ี ๔ ท่กี าศมี ในเบอื้ งตน้ แผ่ขนึ้ เหนอื โดยมฐี านท่มี ่นั อย่ทู ่บี ามิยนั (ปัจจบุ นั : อาฟกานสิ ถาน) หลักฐานทส่ีอคญั คือพระ พระพทุ ธรูปใหญ่ ๒ องคท์ ่ีหนา้ สรา้ งขนึ้ ประมาณ พ.ศ.๘๐๐ - ๙๐๐ โดยสกดั จากหนิ ทราย พระองคใ์ หญ่สงู ๑๗๕ ฟตุ องค์ เล็กก็ สงู ๑๒๐ ฟตุ ปัจจบุ นั ถกู ทาลายโดยรฐับาลตาลบีนบั ความจรงิ เสน้ ทางท่พี ระพทุ ธศาสนาแผจ่ ากอินเดียไปเมืองจีนมี ๔ เสน้ ทาง ประกอบดว้ ย (๑) ตอนเหนือสดุ ของอินเดยี (๒) เสน้ ทางผ่านภเู ขาหิมาลยั (๓) เสน้ ทางเดินเทา้ ผา่ นพมา่ ลาว เวียตนาม (๔)เสน้ ทางเรือผา่ นชวา ศรีวิชยั แลว้ ขนึ้ บนท่เี มอื งกวางตงุ้ พระพทุ ธศาสนามหายานในประเทคจีน
ในเสน้ ทางสายเหนอื สดุ ของอินเดีย พระพทุ ธศาสนาแผจ่ ากอนิ เดยี สบู่ าบิยนั ก่อนตอ่ จากนนั้ ขา้ มภเู ขาฮนิ ดกู ชู เขา้ บลั ข์ ขา้ ม เทอื กเขาปารม์ ี เขา้ กษั การ์ พทุ ธศาสนกิ ชนหรอื พอ่ คา้ ชาวเปอรเ์ ชยี ชาวตะวนั ตกพกั ท่กี ษั คาร์ ก่อนตดั สนิ ใจวา่ จะใชส้ าย เหนอื หรือสายใต้ สายใต้ จากกษั คาร์ ผ่านรฐั โขตนั เดินทางมงุ่ ส่ถู า้ ตนุ ฮวง ก่อนเขา้ ส่จู ีนตอนกลางรฐั โขตนั นมี้ ีความสมั พนั ธก์ บั แควน้ มคธอยู่ บา้ ง กลา่ วคือสมยั พระเจา้ อโศกมหาราช อคั รมเหสี ของพระเจา้ อโศก ช่ือวา่ พระนางกณุ าละ มีนิสยั โหดรา้ ย เม่ือพระเจา้ อโศกเลือ่ มใสพระพทุ ธศาสนา เสด็จไปไหวตน้ โพธิแ์ ละ ใชเ้ วลาอย่ทู ่นี ่นั จนไมม่ เี วลาอย่กู บั พระนาง พระนางอจิ ฉาตน้ โพธิ์ เอายาพษิ ไปรดจนตน้ โพธิต์ าย พวกนางสนมไมช่ อบ ความโหดรา้ ยของนางเลยหนไี ปอยรู่ ฐั โขตนั พากนั สรา้ งวดั ช่อื ว่า โคตรมีวิหาร สายเหนือ จากกษั คารไ์ ปทางเหนอื ขา้ มทะเลทรายตกั ละมะกนั ไปถงึ แควน้ กฉุ ะ(กจุ ี) ซง่ึ เป็นบา้ นเดมิ ของกมุ ารชีพ ผ่าน การษ์ คาร์ ผ่านเตอรฟ์ าน ม่งุ ส่ถู า้ ตนุ ฮวงกอ่ นเขา้ สจู่ นี กระจายไปตามภมู ภิ าคอ่นื ๆ ถา้ ตนุ ฮวงนเี้ ขา้ ใจวา่ เป็นถา้ ท่พี อ่ คา้ สญั ชาติตา่ ง ๆ สรา้ งไวเ้ พ่อื เป็นศนู ยก์ ลางการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาของพวกจารกิ แสวงบญุ ทงั้ ท่เี ป็นพทุ ธและไม่ใช่พทุ ธ ถือเป็นถา้ นานาชาติ พวกพระภกิ ษุชาวจีนทจ่ี ะไปอนิ เดยี ก่อนยคุ สมณะฟาเหียนมีมาก แตไ่ ปไมถ่ ึงอนิ เดีย ติดอย่ทู ่แี ควน้ กจุ ฉะเสยี เป็นส่วนมาก ไปติดลาภสกั การะ ศกึ ษาพระพทุ ธศาสนาท่ีกฉุ ะนน้ั แลว้ กลบั เมืองจนี ประวตั ิศาสตร์ ชาวจนี เร่มิ รูจ้ กั พระพทุ ธศาสนาในสมยั ราชวงศฮ์ ่นั พ.ศ. ๓๓๗-๗๖๓ มตี านานวา่ พระเจา้ อโศกมหาราช ตอนท่ที รงรบั ส่งั ให้ สรา้ งวิหาร สถปู เจดีย์ และเสาอโศก ๘๔๐๐๐ แลว้ ใหป้ ระดษิ ฐานท่วั อินเดยี ความจรงิ พระเจา้ อโศกไม่ไดท้ รงสรา้ งเอง ทง้ั หมด แตป่ ระกาศเป็นนโยบายออกไป ประชาชนท่เี ล่ือมใสพระพทุ ธศาสนากช็ ว่ ยกนั สรา้ งตามพระราชประสงคแ์ ลว้ ประดษิ ฐานไวท้ ่วั ชมพทู วีป มีการพบสถปู เจดยี แ์ ละเสาอโศกในจีน ๑๙ แหง่ บางแห่งมพี ระบรมสารีรกิ ธาตบุ รรจอุ ยู่ ซง่ึ เป็น หลกั ฐานแสดงวา่ คนในถ่นิ นนั้ รบั รูพ้ ระพทุ ธศาสนาในสมยั พระเจา้ อโศกมหาราช พ.ศ. ๖๐๐ พระเจา้ มง่ิ ต่ีแหง่ ราชวงศฮ์ ่นั ทรงเป็นผเู้ ร่มิ ในการน าพระพทุ ธศาสนาไปส่เู มอื งจนี พระองคท์ รงสบุ นิ เห็นเทวดา ตวั สีทองอมุ้ พระพทุ ธรูปเหาะผา่ นพระราชวงั โหรทานายว่าเทวดาสีทองหมายถงึ พระพทุ ธเจา้ เสดจ็ อบุ ตั ใิ นอินเดีย แมเ้ สดจ็ ดบั ขนั ธปรนิ ิพพานแลว้ แต่คาสอนยงั รุง่ เรอื งในอินเดยี พระองคร์ บั ส่งั ใหท้ ตู ไปสืบพระพทุ ธศาสนา ในยคุ นน้ั ศาสนาดงั้ เดิม ในจีนคือเตา๋ และขงจือ้ ยึดครองพนื้ ท่ี มีอิทธิพลตอ่ วฒั นธรรมประเพณีจีนค่อนขา้ งสงู เตา๋ เนน้ การปลกี ออกจากสงั คม นยิ ม น่งั สมาธิ น่งั กรรมฐานเหมอื นกบั พระพทุ ธศาสนา ขงจือ้ เนน้ จรยิ ศาสตร์ และสงั คม จากความฝันของพระเจา้ มง่ิ ตี่ ประมาณ พ.ศ. ๖๐๐ มกี ารส่งทตู ไปสืบพระพทุ ธศาสนาในอนิ เดียและนาพระสตู ร ๔๒ ตอน จากบรเิ วณเอเซยี กลางกลบั เขา้ จนี ต่อจากนนั้ ก็เรม่ิ มพี ระภกิ ษชุ าวเอเชียกลางเดนิ ทางเขา้ จนี ชดุ แรกคอื พระกสั สปะ มาตงั คะ ตอ่ มาพระอนั สเิ กาไปกบั คณะซ่งึ เป็นชาวเอเชยี กลางส่วนมาก มิใช่พระภิกษุท่เี ป็นชาวอนิ เดยี แทๆ้ แตเ่ ป็นพวกลกู ผสม อาจมีบางทา่ นเป็นชาวอนิ เดยี แต่เขา้ ไปอยทู่ ่วี ดั บรเิ วณเอเชียกลางเพราะพระพทุ ธศาสนาบรเิ วณเอเชียกลางเป็นศาสนา แบบมชี วี ติ (Living Buddhism)ซ่งึ ในอนิ เดยี ไม่คอ่ ยมี เพราะฉะนนั้ เวลาพระภิกษุไปจ าพรรษาท่เี อเชยี กลาง ภารกิจคอื
แปลพระสตู ร อย่างอืน่ ทาไม่ได้ เพราะถกู จ ากดั สทิ ธิบางสว่ นคือ คนชน้ั สงู โดยเฉพาะกลมุ่ ท่ีนบั ถือขงจือ้ กบั เตา๋ มากอ่ น ถวาย คาแนะน าแกก่ ษตั รยิ ใ์ หอ้ อกกฎขอ้ บงั คบั ไมใ่ หป้ ระชาชนเขา้ ไปยงุ่ เก่ยี วกบั ศาสนาอยา่ งเตม็ ท่ี เช่น ไม่อนญุ าตใหบ้ วช แตใ่ ห้ ไปชว่ ยงานแปลคมั ภีรไ์ ว้ เพราะฉะนน้ั งานท่พี ระสงฆจ์ ากเอเชยี กลางท าไดใ้ นการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาในจีนคอื สรา้ งงาน แปลคมั ภีรข์ นึ้ มา โดยวางยทุ ธศาสตรอ์ ย่างแรกคอื พยายานสรา้ งความเป็นมติ ร กบั เตา๋ ใหม้ ากท่ีสดุ เพราะเล็งเหน็ ความเหมอื นกนั ในหลายดา้ น ระหว่างพระพทุ ธศาสนากบั เตา๋ พระอนั สิเกาเป็นชาวปา เถียร์ ไปตงั้ ถ่ินฐานเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาทเ่ี มืองโลยาง(ล่วั หยาง) สรา้ งวดั มา้ ขาว (วดั แป๊ ะเบย๊ ่ี) เป็นศนู ยก์ ลางการเผยแผ่ พระพทุ ธศาสนา ใชย้ ทุ ธศาสตรก์ ารแปลคมั ภีรแ์ ละสรา้ งมติ รกบั พวกเตา๋ ลกั ษณะร่วมระหว่างพทุ ธกบั เตา๋ การผสมผสานระหวา่ งพทุ ธกบั เตา๋ เกิดจากการท่มี แี นวคิดหลายอยา่ งเหมอื นกนั แตอ่ งคป์ ระกอบท่สี าคญั ท่ที าใหม้ ี การผสมผสานกนั โดยงา่ ย คือ (๑) พธิ ีกรรมสาธารณะ เช่น การบชู าไม่ใช่การบชู ายญั แต่เป็นการบชู าสิ่งศกั ดิ์สิทธิ์ เพ่อื ใหเ้ กดิ ผลดงี าม ส่วนพธิ ีส่วนตวั เนน้ สมาธแิ ละสมถะเหมอื นกนั พระพทุ ธศาสนาเนน้ ช าระจิตใหบ้ รสิ ทุ ธิก์ าจดั กเิ ลส งด เวน้ ความหรูหราฟ่ มุ เฟือย พระพทุ ธศาสนาเช่ือวา่ ผไู้ ดฌ้ านเม่ือตายไป ยอ่ มไปเกิดในพรหมโลก สอนเร่ืองความต่อเน่อื งของวิญญาณ (Indestructibility of soul)และทาใหม้ กี ารเกิดใหม(่ Rebirth)สว่ นเตา๋ เช่ือในดนิ แดนแหง่ อมตภาวะในดนิ แดนทะเล ตะวนั ออก แสวงหาอมตภาพในสวรรคว์ ิสทุ ธิภมู ิ (๒) ชาวเตา๋ เขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการแปลคมั ภีรพ์ ระพทุ ธศาสนาในยคุ แรก ขอ้ นที้ าใหเ้ กิดความสนทิ สนมกบั พระภิกษุในพระพทุ ธศาสนา และชาวเตา๋ เหลา่ นน้ั น าศพั ทพ์ ระพทุ ธศาสนาไปใชท้ าใหเ้ กดิ ความเหมอื นกนั อีกประเดน็ หน่ึง คือ ชาวเตา๋ น าธรรมสาคญั ของพระพทุ ธศาสนาไปใชเ้ ช่น อรยิ สจั ๔ ปฏจิ จะสมปุ บาท นิพพาน อนตั ตา อนิจจตา อานาปานสติ ความใกลช้ ิดกบั พระสงฆแ์ ละความมีหลกั การสาคญั เหมอื นกนั ทาใหช้ าวเต๋าคดิ วา่ พระพทุ ธศาสนาเป็นเพยี งแงม่ มุ หนึ่ง ของเตา๋ ชาวเตา๋ เหน็ วา่ พระพทุ ธศาสนาเป็นเพียงวิธกี ารใหมแ่ หง่ การท่จี ะไดร้ บั บรรลอุ มตภาพ นิพพานแหพ่ ระพทุ ธศาสนา ไม่แตกตา่ งจากนิพพานเตา๋ พระอรหนั ตใ์ นพระพทุ ธศาสนาเหมอื นกบั วสิ ทุ ธชน(Chen Jen)ของเตา๋ ความคิดพนื้ ฐานของ เตา๋ คอื เหลาจือ้ (เตา๋ ) ตายจากเมอื งจีนแลว้ เดนิ ทางไปอินเดยี ไปเกดิ เป็นพระศากยมนุ พี ทุ ธเจา้ เมอ่ื พระองคป์ รนิ พิ พานแลว้
ก็เดนิ ทางกลบั มาท่เี มืองจนี มกี ารเช่อื มโยงกนั ดา้ นศาสนาตลอดเวลา เพราะฉะนน้ั ผกู้ อ่ ตงั้ พระพทุ ธศาสนากบั ผกู้ ่อตงั้ เตา๋ เป็นคนคนเดียวกนั สรุปสถานการณพ์ ระพทุ ธศาสนาในจนี ยคุ ท่ี ๑ ตอ่ จากสมยั ราชวงศฮ์ ่นั ยคุ ราชวงศช์ นิ ตะวนั ออกประมาณ พ.ศ. ๘๐๐ - ๙๐๐ พระพทุ ธศาสนาในจีน มรี ากฐานอยใู่ นคมั ภรี ป์ รชั ญาปารมิตา กจิ กรรมทางดา้ นพระพทุ ธศาสนาเป็นเรอื่ งของการแปลคมั ภรี เ์ ป็นส่วนมาก นกั แปลท่มี ีช่อื มากท่สี ดุ คอื กมุ ารชีพ มี ความสามารถทางภาษาถงึ ๑๐ภาษา เป็นชาวแควน้ กจุ ฉะ กมุ ารชพี รูม้ ากถงึ ๑๐ ภาษาจงึ เป็นนกั แปลได้ พ่อของกมุ ารชีพ เป็นชาวอนิ เดยี ช่ือวา่ กมุ ารายณะ แมเ่ ป็นชาวกฉุ ะ ช่อื วา่ ชวี า ช่ือพ่อและแม่รวมกนั เป็นกมุ ารชีพ พระพทุ ธศาสนายคุ ราชวงศช์ นิ ตะวนั ออก ประมาณ พ.ศ. ๘๐๐ - ๙๐๐ ถือคมั ภรี ป์ รชั ญาปารมิตาเป็นหลกั เพราะฉะนน้ั สานกั ต่าง ๆ ท่ปี รากฏช่ือประมาณ ๗ สานกั จงึ เป็น สานกั ในเชงิ ปรชั ญาทง้ั หมด โดยมคี มั ภีรป์ รชั ญาปารมติ าเป็นพนื้ ฐาน พระพทุ ธศาสนาจงึ ปรากฏในลกั ษณะวชิ าการมากกวา่ เชงิ ปฏบิ ตั ิ ในปลายยคุ ราชวงศช์ นิ ตะวนั ออก พระจนี ท่เี ขา้ มาสืบคน้ พระพทุ ธศาสนาในอินเดยี เรม่ิ ประสบความ สาเรจ็ มากขึน้ โดยมที ่านสมณะฟาเหียนเป็นคนแรกท่เี ดนิ ทางไปถงึ อินเดยี เขา้ ทางอินเดยี เหนอื แลว้ กลบั มาทางเรือ ตานานบอกว่าทา่ นไปศรีลงั กาดว้ ย ผา่ นประเทศไทยแถวบรเิ วณอาณาจกั รศรวี ชิ ยั แลว้ ขนึ้ เรือท่กี วางตงุ้ เขา้ อินเดยี ทางเหนอื กลบั เมอื งจีนทางใต้ เพราะเอาคมั ภรี ก์ ลบั ไปมาก จงึ ตอ้ งบรรทกุ เรือสาเภาของ พวกพ่อคา้ แตไ่ มว่ า่ จะเป็นทางเกวยี นหรอื เรอื กต็ อ้ งอาศยั ชาวบา้ นทงั้ นน้ั พวกพ่อคา้ กลบั จากขายสินคา้ พาหนะวา่ ง พระภกิ ษุเลยขอรอ้ งใหช้ ว่ ยขนคมั ภรี ก์ ลบั ตอนมาเอาสินคา้ มาขาย เม่ือขายสินคา้ หมด พาหนะวา่ ง ตอนเดนิ ทางกลบั เลย เอาพาหนะช่วยขนคมั ภรี ใ์ หพ้ ระ ยุคท่ี ๒ ยุคต่อมาครอบคลุม ๔ ราชวงศ์ ราชวงศห์ ลิวสงุ พ.ศ. ๙๖๒ -๑๐๒๒ ราชวงศเ์ หลียง พ.ศ. ๑๐๓๖–๑๑๐๐ ราชวงศเ์ หลยี ง พ.ศ ๑๐๓๖–๑๑๐๐ ราชวงศเ์ ชนิ พ.ศ. ๑๑๐๐ -๑๑๓๒ แมจ้ ะเป็นระยะเวลาสนั้ ๆ เพยี ง ๑๖๙ ปี กม็ ีการสารวจสามะโนจานวนประชากรสารวจจานวนพระภิกษุและวดั ไวด้ ว้ ย ในชว่ งสนั้ ๆ สมยั ราชวงศห์ ลวิ สงุ มพี ระภกิ ษุ ๓๖,๐๐๐รูป มวี ดั ๑,๙๖๓ วดั สมยั ราชวงศฉ์ ี มีพระจานวน ๓๒,๐๐๐ รูป มวี ดั ๒,๐๐๐ แห่งสมยั ราชวงศเ์ หลยี ง มีพระจานวน ๘๒,๐๐๐ รูป มวี ดั ๒,๘๐๐ วดั เม่ือเทียบกบั ประชากรจีนถือวา่ จานวนพระ ยงั นอ้ ยอยู่ วดั กย็ งั ไมม่ าก มีสาเหตสุ าคญั ๒-๓ ประการท่ที าใหจ้ านวนพระภิกษุนอ้ ยและวดั มีจานวนไม่มากเทา่ ท่คี วร สาเหตหุ ลกั มาจากพวกปโุ รหติ ท่นี บั ถือลทั ธิเตา๋ และขงจือ้ กลา่ วหาวา่ พระพทุ ธศาสนาในหลายเรื่อง เช่น เรือ่ งสร้างวหิ าร เจดียแ์ ละศาสนสถาน มลี กั ษณะเป็นการเลยี นแบบราชสานกั เลียนแบบสิ่งกอ่ สรา้ งพระราชวงั แลว้ ก็เอา ระฆงั ไปตงั้ ไวใ้ นวดั ตีบอกสญั ญาณเวลา เป็นการลดความสาคญั ของนาฬกิ าทรายท่รี าชสานกั มอบใหช้ าวบา้ นใชบ้ อก
เวลาประจาหม่บู า้ น (ประเพณกี ารใชน้ าฬกิ าทรายสืบทอดมาจากนาลนั ทา) ขอ้ กล่าวหานแี้ มจ้ ะไม่หนกั หนาแต่เหมือนกบั แมลงหวตี่ อมตาชา้ ง พระภกิ ษุในพระพทุ ธศาสนายยุ งใหป้ ระชาชนกระดา้ งกระเด่อื งตอ่ ราชสานกั โดยการสรา้ งงานขนึ้ หางานใหป้ ระชาชนทา แทนราชสานกั งานท่พี ระพทุ ธศาสนาใหแ้ กป่ ระชาชนกค็ อื งานแปลคมั ภรี ์ พระภกิ ษุเทศนส์ อนประชาชนเรือ่ งทาดีไดด้ ี ทาช่วั ไดช้ ่วั เรือ่ งทาดไี ดร้ บั รางวลั ทาช่วั ไดร้ บั การลงโทษ สรา้ งบทลงโทษแทน กฎของสวรรค์ ท่ฝี ่ายปโุ รหิตลทั ธดิ งั้ เดมิ เขาพดู ไวว้ า่ สวรรคล์ งโทษ สวรรคใ์ หค้ ณุ สวรรคใ์ หโ้ ทษ พวกปโุ รหิตบอกวา่ พระภิกษุ สรา้ งความหงดุ หงดิ เคอื งใจใหแ้ กส่ วรรค์ ขอ้ กลา่ วหาเล็กๆ นอ้ ยๆ นเี้ ป็นตวั จ ากดั ความรุง่ เรืองของพระพทุ ธศาสนาทง้ั จานวนพระภกิ ษุจานวนวดั และพธิ ีกรรมต่างๆ ยุคท่ี ๓ ราชวงศถ์ งั พ.ศ. ๑๑๕๑ - ๑๔๕๐ ยคุ ราชวงศถ์ งั เป็นยคุ ทอง แมก้ ระนนั้ กเ็ หมอื นไมใ่ ช่ยคุ ทอง เหมือนสมยั พระเจา้ อโศกในอนิ เดยี ซง่ึ เป็นยคุ ทองของ พระพทุ ธศาสนา แตว่ า่ พรอ้ ม ๆ กบั ความรุง่ เรืองกม็ ีความเสือ่ มแทรกอยู่ มคี นจานวนมากปลอมบวชเป็นพระภิกษุ มศี าสนา ธรรมปลอม ศาสนาวตั ถปุ ลอมมาก พระถงั ซ าจ๋งั (สมณะเฮ่ียนจ๋งั ) ซง่ึ เป็นพระในราชวงศถ์ งั เดนิ ทางมาอินเดยี ตอนเหนอื แลว้ น าคมั ภรี ก์ ลบั เมอื งจนี ทางตอนเหนือของอินเดียเหมือนกนั เอาคมั ภรี ก์ ลบั จีนเป็นจานวน ๖๕๗ เรื่อง๕๒๐ หวั ขอ้ ซ่งึ ตอ่ มามีการแปลเป็นภาษาจีนไดเ้ พยี ง ๗๓ เรื่อง ท่วี า่ รุง่ เรอื งแลว้ มคี วามเสื่อมแทรกเขา้ มาดว้ ย ก็คอื ประมาณ พ.ศ. ๑๓๘๘ มีการสารวจสมั มะโนประชากร มพี ระจานวน๒๖๐,๐๐๐ รูป ในราชวงศถ์ งั มวี ดั จานวน ๔๖,๐๐๐ วดั มสี ถปู ๔๐,๐๐๐ เป็น พระของนกิ ายสทั ธรรมปณุ ฑรกิ สตู ร นิกายเทยี นไท้ และนิกายฌาน เม่ือจานวนพระมมี ากเกินไป จงึ เรม่ิ มกี ารจากดั จานวน พระลงมา เพราะกลวั ว่าจะเป็นพระปลอม มกี ารสงั คายนาพระธรรมวินยั และบงั คบั ใหพ้ ระลาสกิ ขา(สกึ )ไป มีการทาลายวดั หลายแหง่ ซ่งึ เป็นวดั ท่ผี ิดกฎหมาย จานวนพระภิกษุภิกษุณี ตอ้ งมกี ารขึน้ ทะเบยี นไวอ้ ยา่ งเป็นทางการ นักปราชญอ์ กี ท่านหนึ่งคือสมณะอีจ้ งิ เป็นผทู้ ่บี นั ทกึ รอ่ งรอยการสืบสานพระพทุ ธศาสนาไวม้ ากตามเสน้ ทางท่ที า่ น เดนิ ทาง ท่านอจี้ งิ เดนิ ทางเรือกลบั ทางเรอื ใชเ้ วลาศกึ ษาตลอดเสน้ ทางยาวนานท่สี ดุ จากทา่ เรอื กวางตงุ้ ของจีนไปท่ที ่าเรอื ตามรลิปติของอนิ เดยี ใชเ้ วลา ๒ ปี สนั นษิ ฐานวา่ สมณะอจี้ ิงมาอยแู่ ถวอาณาจกั รศรวี ิชยั หลายเดือน มบี างคนบอกวา่ อาณาจกั รศรวี ชิ ยั เป็นท่ศี กึ ษาภาษาสนั สกฤตของพระจนี ก่อนเขา้ อนิ เดยี เรยี นใหอ้ า่ นออกเขยี นได้ กจ็ ะไปแปลคมั ภรี ใ์ น อินเดยี ในสมยั ราชวงศถ์ งั การท่พี ระพทุ ธศาสนารุง่ เรอื งมาก ทาใหม้ คี วามเสอื่ มแทรกอยู่ คอื รฐั เขา้ มาคมุ อานาจ บรหิ ารจดั การ คณะสงฆเ์ กือบทง้ั หมด ควบคมุ ดแู ลออกกฎหมาย รฐั บาลเขา้ มาดแู ลจดั ระบบใหพ้ ระสงฆ์ ตงั้ แต่การบวชเป็นพระ การ แตง่ ตงั้ สมณศกดั ิ์ การบรหิ ารการจดั การในวดั เพราะฉะนนั้ จานวนพระภิกษุภิกษุณีจงึ ลดลง เดมิ พระภกิ ษุมี ๒๖๐,๐๐๐ รูป เรม่ิ ลดลงในปลายราชวงศถ์ งั เหลอื จานวนพระภกิ ษุเพียง ๗๕,๐๐๐ รูป ภิกษุณีเหลือเพียง๕๐,๐๐๐
มีคนนยิ มบวชเป็นพระมาก รฐั กเ็ ขา้ มาจดั การ โดยตงั้ ขอ้ ก าหนดว่า ถา้ จะบวชตอ้ งมปี ระกาศนยี บตั รรบั รองคณุ สมบตั ซิ ่งึ ออกใหโ้ ดยรฐั ตอ้ งจา่ ยคา่ บวชแลว้ รบั ใบเสรจ็ ไปขอบวชจานวนพระก็มีก าหนดแนน่ อน คือ ฆราวาสคนหน่ึงจะบวชไดก้ ็ ตอ่ เม่ือมพี ระรูปหน่งึ มรณภาพหรอื ลาสกิ ขา(สกึ ) มตี าแหนง่ ว่างแลว้ มีคนไปสวมแทน เหมอื นตาแหน่งพระราชาคณะใน เมืองไทยตอ้ งมีพระราชาคณะรูปหนึ่งมรณภาพหรือลาสิกขาแลว้ จงึ จะแตง่ ตงั้ คนใหม่เขา้ สวมแทน มีการสอบวดั คณุ สมบตั ิ กอ่ นบวช คนท่จี ะบวชเป็นพระภิกษุตอ้ งท่องไดไ้ มน่ อ้ ยกวา่ ๑๕๐ สตู ร คนท่จี ะบวชเป็นภกิ ษุณีท่องไดไ้ ม่นอ้ ยกวา่ ๑๐๐ สตู ร สอบขอ้ เขยี นแลว้ จงึ สอบดว้ ยการสมั ภาษณ์ ในระหวา่ งนมี้ เี หตแุ ทรกซอ้ นคอื มกี บฎลซู านเกิดขนึ้ รฐั ตอ้ งใชเ้ งนิ ไปลงทนุ ปราบกบฎ จาตอ้ งระดมทนุ เขา้ ทอ้ งพระคลงั โดยมนี โยบายคอื การขายประกาศนียบตั รในการบวชเป็นพระใน พระพทุ ธศาสนา และบวชเป็นพระในลทั ธิเตา๋ สาเหตหุ น่ึงทม่ี คี นตอ้ งการบวชเป็นพระมาก คือบวชแลว้ ฐานะม่นั คงขนึ้ ขอ้ สาคญั คอื ไม่ตอ้ งถกู เกณฑท์ หารไปออกรบ ประเพณีนเี้ มอื งไทยก็ถอื ปฏบิ ตั ิอยู่ พระภิกษุสามเณรไดร้ บั การ ยกเวน้ การเกณฑท์ หาร เม่ือสอบไดน้ กั ธรรมชน้ั ตรีขนึ้ ไปก็ไมต่ อ้ งเกณฑท์ หาร ในเมอื งจีนครงั้ นน้ั มีหลกั ฐานบอกวา่ พระภกิ ษุ บางองคท์ าหนา้ ท่อี อกเงินกใู้ หท้ หาร ยิ่งมีการจากดั จานวนพระเขม้ งวด ยง่ิ มีคนอยากบวชมาก จงึ ใหร้ าคาประกาศนียบตั ร เพม่ิ ขนึ้ ยิง่ เม่ือเกดิ กบฏลซู าน รฐั ตอ้ งการระดมทนุ มกี ารเพม่ิ จานวนพระ เกดิ ระบบนายหนา้ มี การรบั ประกาศนยี บตั รบวชพระไปขายต่อ สถานการณใ์ นศาสนาพทุ ธเลยยงุ่ เหยงิ พอสมควรสรุปไดว้ ่า พ.ศ. ๑๒๗๒ มกี าร ขนึ้ ทะเบยี นพระจากดั จานวนพระอย่างชดั เจน โดยรฐั เป็นผกู้ าหนดฆราวาสคนหน่งึ จะบวชไดก้ ต็ อ่ เม่ือมีพระรูปหนง่ึ มรณภาพหรอื ลาสิกขากอ่ น มีระบบการเกบ็ ค่าธรรมเนียมการบวชอย่างชดั เจน มกี ารกาหนดประเภทของพระสงฆ์ ไว้ ๓ ประเภท คอื พระหลวง (Official Monk-ราชกลุ ปุ กะ) เป็นพระประจาราชส านกั พระของรฐั ทาหนา้ ท่ปี ระกอบพระราชพิธีและรฐั พิธี มี วดั สาหรบั พระหลวง ๔๗ วดั พระเอกชน (Private monk-กลุ ปุ กะ) พระประจาตระกลู คลา้ ยกบั พระรบั บาตรประจาครอบครวั (บณิ ฑบาตประจา) อปุ ถมั ภไ์ ว้ มวี ดั สาหรบั พระเอกชน ๘๗๙ วดั พระของประชาชน (Public monk) หรือ Monk of people มวี ดั สาหรบั พระของประชาชน ๓๐,๐๐๐ วดั ขอ้ กาหนดเบอื้ งตน้ ในการบวช มขี อ้ กาหนดเบอื้ งตน้ ในการบวช อนวุ ตั ตามนยั แหง่ พระวนิ ยั แตม่ บี างประเดน็ ท่กี าหนดใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพสงั คม เช่น (๑) ผจู้ ะบวชตอ้ งมีอายไุ ม่ตา่ กวา่ ๑๔ ปี (๒) ไม่เคยผา่ นการบวชมาก่อน (๓) สอบผา่ นการท่องพระสตู ร ชายตอ้ งทอ่ งได๑้ ๕๐ ผกู (Leave) หญิงท่องได๑้ ๐๐ ผกู นอกจากนยี้ งั ตอ้ งสอบผา่ นขอ้ เขยี น สอบสมั ภาษณบ์ รรยายธรรม ปฏบิ ตั กิ รรมฐาน
พุทธบริษทั ๘ รฐั ธรรมนญู จีนกาหนดพทุ ธบรษิ ทั ไว๔้ คู่ รวมเป็น ๘ กล่มุ คือ (๑) นาคหรอื พ่อขาวและแมข่ าว บาเพ็ญตนเป็นอนาคารกิ (๒) สามเณรและสามเณรี (๓) ภิกษุและภกิ ษุณี (๔) อบุ าสกและอบุ าสกิ า การบริหารกจิ การคณะสงฆ์ การบวชเป็นพระสามารถยกฐานะของตวั เองไดพ้ อสมควร มีหลกั ฐานระบวุ า่ “ชาวบา้ นยมื เงนิ พระ หรอื พระออกเงนิ กใู้ ห้ ทหาร” โครงสรา้ งสงั คมของพระมีความซบั ซอ้ นมากขึน้ รฐั จึงจาเป็นจดั ตงั้ องคก์ รขนึ้ มาดแู ล จานวนวดั พอสรุปไดด้ งั นี้ (๑) สมยั ราชวงศช์ ินตะวนั ตก (พ.ศ. ๘๐๘–๘๕๙) มีวดั ๑๘๐ (๒) สมยั ราชวงศช์ ินตะวนั ออก (พ.ศ.๘๖๐–๙๖๓) มีวดั ๑๖๘ (๓) สมยั ราชวงศเ์ ลยี ว สงุ (พ.ศ.๙๖๓–๑๐๒๒) มีวดั ๑,๙๑๓ (๔) สมยั ราชวงศฉ์ ี (พ.ศ.๑๐๒๘–๑๐๔๕) มวี ดั ๒,๐๑๕ (๕) สมยั ราชวงศเ์ หลยี ง (พ.ศ.๑๐๔๕–๑๑๐๐) มวี ดั ๒,๘๔๖ สมยั ราชวงศเ์ วยเหนือ(Northern Wei-พ.ศ.๙๒๙–๑๐๗๗) มกี ารสารวจและแบง่ ประเภทวดั โดยวดั หลวงมี ๔๗ แหง่ วดั เอกชนหรอื วดั ขนุ นาง มี ๘๓๙ แหง่ และวดั ราษฎรม์ ี วธี สี ืบทอดพระไตรปิ ฏกในจนี ในยคุ ตน้ ๆ มกี ารแปลคมั ภรี พ์ ระพทุ ธศาสนามาก การแปลมีหลายวิธี และลาบากมากท่ตี อ้ งใหผ้ เู้ ช่ยี วชาญทาง พระพทุ ธศาสนาเป็นผบู้ รรยายใหฟ้ ังเป็นภาษาบาลี–สนั สกฤต แลว้ มคี นฟังรูเ้ รอ่ื งไปบนั ทกึ เป็นภาษาจีน มกี รรมการขดั เกลา ภาษา ก่อนด าเนินการแปลเป็นภาษาจนี นิกายสาคัญและสารธรรม ๑. นิกายลุกจง (วนิ ัย)ในสมยั พระธรรมกาลเดินทางจากอินเดยี เขา้ สจู่ นี เร่มิ มกี ารบวชใหก้ ลุ บตุ รจีน โดยยดึ พระ วินยั ของนกิ ายมหาสงั ฆิกะเป็นหลกั ๒. นิกายกเู้ ส่ยี จง (อภธิ รรมโกศะ)เป็นนิกายท่ถี ือคมั ภรี อ์ ภิธรรมโกศะเป็นหลกั ทา่ นวสพุ นั ธุเป็นผเู้ ขยี นคมั ภีรน์ เี้ ป็นนกิ าย ท่สี ืบทอดมาจากสรวาสติวาทินหรอื ไวภาษิกะ ปรชั ญาสาคญั คือ “อาตมนั ไมม่ ีอยจู่ รงิ แตส่ ภาวธรรมท่ีรองรบั เช่น ขนั ธธ์ าตุ อายตนะ มีอยจู่ รงิ ”สง่ิ ทง้ั ปวงมีสภาวะของตวั เอง ดารงอยโู่ ดยปรมตั ถ์ มีอย่แู มจ้ ะปราศจากจติ และมอี ย่ตู ลอดกาลทง้ั ๓
สานกั อภิธรรมโกศะรุง่ เรืองอย่ใู นยคุ ของสมณะเฮยี้ นจ๋งั หลงั จากยคุ นเี้ ลก็ นอ้ ยไดเ้ สอื่ มลงกลายเป็นแขนงหนึ่งของสานกั โย คาจาร ๓. นิกายเทยี นไท้ของฉีอ(ี้ สทั ธรรมปุณฑริกสูตร) คมั ภีรม์ หาปรชั ญาปารมิตาและมาธยมกิ ศาสตรเ์ ป็นพนื้ ฐานของปรชั ญาเทยี นไท้ ตอ่ มามกี ารขยายความคมั ภีรท์ งั้ ๒ และ คณาจารยจ์ นี ไดต้ งั้ สานกั ขึน้ บนภเู ขาเทยี นไท้ เรียกช่ือส านกั วา่ “เทยี นไทจ้ ง”ในยคุ ต่อมา ปรากฏวา่ คมั ภีรส์ ทั ธธรรมปณุ ฑรกิ สตู รเป็นคมั ภีรส์ าคญั ของนิกายเทยี นไทน้ โยบายสาคญั คอื รวมสตั วโ์ ลกเป็นหนงึ่ เดยี วกนั แลว้ จดั กล่มุ ออกไปตามความแก่ กลา้ ของอปุ นิสยั ของแต่ละกล่มุ นโยบายปรับระดับอุปนิสัย แนวคดิ และอธั ยาศยั นิกายเทยี นไทบ้ อกวา่ พระพทุ ธเจา้ ทรงจาแนกกลมุ่ สตั วโ์ ลกก่อนแสดงธรรม กลมุ่ ท่มี อี ปุ นสิ ยั แกก่ ลา้ คือพระโพธิสตั วพ์ ระ พทุ ธองคท์ รงแสดงธรรมใหฟ้ ังกอ่ น เรียกวา่ ยคุ อวตงั สกะ ทรงใชเ้ วลาเพยี ง ๑๗ วนั กลมุ่ ท่ีมีอปุ นสิ ยั แกก่ ลา้ หยอ่ นลงมาคอื พระสาวก มโี อกาสไดฟ้ ังธรรมในยคุ ต่อมา เรียกวา่ ยคุ อาคม ค าวา่ “อาคม” หมายถงึ คณุ ธรรมท่เี กดิ ขึน้ ในตวั ของแตล่ ะบคุ คล ยคุ นมี้ กี ารตรสั รูธ้ รรมมากโดยเฉพาะในกลมุ่ ของบคุ คลท่มี ่งุ ความหลดุ พน้ เฉพาะ ตน บางครงั้ จงึ เรียกวา่ ยคุ สาวกยาน ทรงใชเ้ วลา ๑๒ ปี กล่มุ ต่อมามีอปุ นิสยั แก่กลา้ เหมอื นกบั กลมุ่ แรก มวี ิธีคดิ เหมอื นกนั แต่มอี ธั ยาศยั กวา้ งขวาง จงึ มคี วามแตกตา่ งใน ๒ เร่อื งท่ี พระพทุ ธเจา้ ทรงใชก้ บั คนกล่มุ นี้ คอื (๑) พระสตู รหรอื พระธรรมเทศนา (๒) วิธกี ารแสดง พระสตู รท่ที รงแสดงมเี นอื้ หาครอบคลมุ ในวงกวา้ ง แทนท่จี ะมงุ่ แสดงเฉพาะแก่พระสาวกกแ็ สดงแกอ่ บุ าสกอบุ าสิกา นอกจากนยี้ งั เนน้ สาระเชงิ ปฏบิ ตั ิ สอดคลอ้ งกบั สภาพจรงิ ของชวี ติ จากดั เนอื้ หาอยใู่ นเรือ่ งหลกั คอื ตถาคตครรภธ์ รรมกาย พทุ ธภาวะ โพธิจติ สว่ นวธิ ีการแสดง ทรงใชว้ ิธีการบรรยายภาพเหตกุ ารณม์ ากขนึ้ ทรงยกกรณีตวั อย่างบางเร่อื งเพ่อื ปลกุ เรา้ จติ ใจของผฟู้ ังใหฮ้ กึ เหมิ ยคุ นเี้ รยี กวา่ ไวปลุ ยะ ทรงใชเ้ วลา ๘ ปี กล่มุ ตอ่ มามีคณุ สมบตั ิหมอื นกบั กลมุ่ ในยคุ ไวปลุ ยะ พระพทุ ธเจา้ ทรงแสดงพระธรรมเทศนาลกึ ซงึ้ เชน่ ปรชั ญาปารมติ า มี วตั ถปุ ระสงคเ์ พ่อื เปลี่ยนวธิ คี ดิ ของผฟู้ ัง ความยดึ ม่นั ไมใ่ ชส่ งิ่ ท่คี วรสละทงิ้ เฉพาะในสว่ นอกศุ ลธรรมเทา่ นนั้ ยงั รวมถงึ กศุ ล ธรรมดว้ ย ความว่างไมไ่ ดม้ เี ฉพาะในสตั วบ์ คุ คล ตวั ตนเราเขาเท่านน้ั แต่ยงั รวมถึงความว่างแห่งธรรมดว้ ยวิธีคดิ ท่พี งึ ประสงค์ คือ การท าลายขอบเขตแห่งความคิด หรือคดิ อย่างไรข้ อบเขต ไมเ่ พียงแต่ทาลายพรมแดนแหง่ เขากบั เราเท่านน้ั แต่ยงั ตอ้ งท าลายพรมแดนสรรพธรรมอีกดว้ ย ยคุ นที้ รงใชเ้ วลา ๒๒ ปี กล่มุ สดุ ทา้ ย เป็นประชาคมของคนทกุ ประเภท รวมถงึ สตั วท์ กุ ชนิดดว้ ย เป็นผลจากการท่ที รงแสดงพระธรรมเทศนาในแต่ละ
ยคุ คนท่รี วมอยใู่ นกล่มุ นผี้ า่ นจากการกล่นั กรองในยคุ ทง้ั ๔ดงั กลา่ วแลว้ ทรงปรบั ความคดิ ของสตั วโ์ ลกทกุ ชนดิ ใหอ้ ยใู่ นแนว เดียวกนั (เอกยาน) ใหก้ าจดั ความแตกต่างโดยสนิ้ เชงิ ยคุ นที้ รงใชเ้ วลา ๗ ปี นิกายเทยี นไทเ้ ชื่อว่า พระพทุ ธเจา้ ทรงใชเ้ วลา ๔๙ ปี ๑๗ วนั ในการปรบั ระดบั อปุ นิสยั ความคดิ และอธั ยาศยั ของสตั วโ์ ลก นอกจากนี้ เทยี นไทย้ งั สะทอ้ นนโยบายของตนไวใ้ นสทั ธรรมปณุ ฑรกิ สตู ร แสดงแนวคดิ วา่ “เอกภาพในพหภุ าพ และพหภุ าพ ในเอกภาพ” พระพทุ ธศาสนาสาหรบั ปัจจบุ นั อยา่ งแทจ้ รงิ คือ นิกายเทยี นไท ปุณฑริกสตู รพูดถงึ ธาตุ ๑๐ มีอยู่ในตวั สตั วโ์ ลกทกุ ตัวตน สทั ธรรมปณุ ฑริกสตู รถอื กนั ว่าเป็ นเพชร หนึ่งในเก้าหรือนวธรรมของมหายาน ประกอบดว้ ย (๑)สทั ธรรมปณุ ฑรกิ สตู ร (๒)อษั ฏสาหสรกิ าปรชั ญาปารมติ า (๓)กณั ฑวยหู สตู ร (๔)ทสภมู ิสวระ (๕)สมาธิราชสตู ร (๖)ลงั กาวตารสตู ร (๗) ตถาคตาคหยกะ (๘) ลลิตวสิ ตระ (๙) สวุ รรณประภาส สภาพปัจจุบนั การปฏิวตั จิ นี ใน พ.ศ.๒๔๕๔ ทาใหร้ าชวงศแ์ มนจสู นิ้ สดุ ลง ลม้ ลา้ งระบบจกั รพรรดิ ตงั้ ระบบสาธารณรฐั ขึน้ มาแทน นบั แต่ นน้ั มา องคก์ รสงฆใ์ นประเทศจีนก็ประสบปัญหาเร่อื ยมา พ.ศ.๒๔๗๒ พระภิกษุจนี ช่อื “ไตช”ู จดั ตงั้ สมาคมพระพทุ ธศาสนา แหง่ ประเทศจีนขึน้ ท่เี มืองนานกิงเพ่อื รกั ษาสถานะของพระพทุ ธศาสนา ในช่วงการปฏวิ ตั วิ ฒั นธรรมครงั้ ใหญ่ระหว่าง พ.ศ.๒๕๐๘–๒๕๑๘ วดั และศาสนวตั ถทุ างพระพทุ ธศาสนาถกู ทาลายไปและองคก์ รสงฆอ์ ่อนแอจน ยากท่จี ะเยยี วยา คณุ อรุณ เวสสวุ รรณ เดินทางไปจนี เม่ือ พ.ศ. ๒๕๒๙ เขยี นหนงั สอื เลา่ เหตกุ ารณพ์ ทุ ธศาสนาในจนี บอก ว่า พ.ศ. ๒๔๙๖ ชาวจนี ท่เี ป็นคฤหสั ถร์ วมตวั ตงั้ สมาคมพทุ ธศาสนา เพ่อื ฟื้นฟพู ระพทุ ธศาสนา เพราะพระถกู จากดั สทิ ธิ เป็น แค่คนงานไปแลว้ เป็นกาฝากหรอื พยาธิท่เี กาะกนิ สงั คม ชาวบา้ นเลยตงั้ พทุ ธสมาคมขนึ้ มา และรวบรวมขอ้ มลู วา่ สมยั ท่กี าร ปฏวิ ตั วิ ฒั นธรรมยงั ไม่รุนแรง มีการสารวจสมั มโนประชากรพบวา่ มีพระอยปู่ ระมาณ ๑๕๐,๐๐๐ รูป มีชาวพทุ ธอยปู่ ระมาณ ๑๐๐ ลา้ นคน แต่พอเหมาเจอ๋ ตงปฏวิ ตั วิ ฒั นธรรม ขอ้ มลู บอกว่า วดั ถกู ทาลายไป ๑๓๐,๐๐๐ วดั เหลือ ๑,๐๐๐ วดั เกบ็ ไว้ เป็นท่กี กั กนั พระสงฆจ์ นี ใหม่สมยั เหมาเจอ๋ ตงุ ประกาศปฏวิ ตั ทิ างวฒั นธรรม ส่งั ประหารความคิดเกา่ วฒั นธรรมเกา่ ประเพณี เก่า และนิสยั เกา่ พระพทุ ธศาสนาทงั้ สว่ นท่เี ป็นรูปธรรมและนามธรรมถกู ทาลายย่อยยบั ไม่เหลือ ทา่ นโจเอนิ ไหลและเตงิ้ เสี่ยวผิงเป็นคนทดั ทานไว้ มรดกทางวฒั นธรรมจงึ เหลอื อย่บู า้ ง โจเอนิ ไหลเหมือนไมก้ นั ผีหรือไมก้ นั สนุ ขั ไปเย่ยี มชมวดั ไหนก็ บนั ทกึ ไว้ ไปปลกู ตน้ โพธิเป็นสญั ญลกั ษณว์ า่ โจเอนไิ หลมาเย่ียมวดั นีอ้ ปถุ มั ภว์ ดั นี้ ใครจะทาลายไมไ่ ด้ ปีพ.ศ.๒๕๒๙ คณุ อรุณ เวสสวุ รรณ เดินทางไปท่มี ณฑลกวางเจา สมั ภาษณไ์ ตซ้ อื ช่อื “กวงหมงิ ” แหง่ วดั หรงิ โหรง ไตซ้ ือบอกว่า ปัจจบุ นั วดั ท่ีมีพระภกิ อาศยั อยมู่ เี พียง ๒๐๐ กวา่ สว่ นท่ี ๑ ธรรมชาติของคนจนี น่าจะเหมอื นกบั คนญ่ีป่นุ ในดา้ นการนบั ถือศาสนา คนญ่ีป่นุ นิยมนบั ถือ ๒
ศาสนาในขณะเดยี วกนั คือ ชินโตและพระพทุ ธศาสนา คนจนี นา่ จะมีลกั ษณะพิเศษมากกวา่ นน้ั อาจจะนบั ถือ ๓ หรือ ๔ ศาสนาในขณะเดยี วกนั คอื เตา๋ พทุ ธ ขงจือ้ และธรรมชาตนิ ยิ ม เพราะฉะนนั้ เป็นเรอ่ื งยากท่จี ะระบชุ ดั เจนวา่ แต่ละคนนบั ถือ ศาสนาอะไรสว่ นท่ี ๒ วถิ ชี ีวติ ของชาวจนี ทเ่ี ก่ียวกบั ศาสนาไดข้ าดตอนไปประมาณ ๑๐๐ ปี พ.ศ.๒๔๖๗ ตะกากสุ ุ ชาวญ่ีป่ ุ นไดเ้ ขา้ มารบั หนา้ ท่เี ป็นบรรณาธิการจดั พิมพพ์ ระไตรปิฎกจีน แสดงให้ เห็นวา่ ชาวจีนอาจมปี ัญหาดา้ นก าลงั คนท่จี ะทางานดา้ นนใี้ นยคุ นน้ั หรือกอ่ นยคุ นน้ั ประมาณพ.ศ.๒๔๙๐ วิถีชวี ิตของชาว จีนกบั ศาสนาถกู กนั ใหห้ า่ งเหินกนั มากขึน้ เพราะฉะนน้ั ภาพของวถิ ีชวี ติ จนี จงึ ไมม่ ีรอ่ งรอยของศาสนาใดศาสนาหนง่ึ ชดั เจน แต่กจ็ ะมีลกั ษณะรว่ มระหว่างเตา๋ พทุ ธขงจอื้ ชาวจนี รุน่ ใหม่อาจไม่รูด้ ว้ ยซา้ ไปว่ามศี าสนาอะไรบา้ งท่นี บั ถือกนั หรือเคยมี การนบั ถือกนั ใน เมืองจนี อ้างองิ ทม่ี า https://www.mcu.ac.th/directory_uploads/administrator/file_upload/20210504112114_048646D5- 9078-4514-957C-26692FBF5787.pdf
Search
Read the Text Version
- 1 - 10
Pages: