Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานนำเสนอ1

งานนำเสนอ1

Published by พลวัต. ใจเอื้อ, 2023-08-07 13:46:36

Description: งานนำเสนอ1

Search

Read the Text Version

รายงานกลมุ่ ท่ี๑ นิสติ ชนั้ ปีท่ี ๓ ปีการศกึ ษา ๑/๒๕๖๖ หลกั สตู รพทุ ธศาสตร บณั ฑิต สาขาวิชาพระพทุ ธศาสนา มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั วิทยาเขตสรุ นิ ทร์ อาจารยผ์ สู้ อน ดร.ภฏั ชวชั ร์ สขุ เสน ในรายวิชา สถานการณข์ องพระพทุ ธศาสนาในโลกปัจจุบนั

รายงานกลมุ่ ท่ี๑ คาอธิบายรายวชิ า ศกึ ษาสถานการณข์ องพระพทุ ธศาสนาในโลกปัจจบุ นั ผลกระทบของลทั ธิการเมืองและศาสนาอ่ืน ๆตอ่ พระพทุ ธศาสนา อิทธิพลของพระพทุ ธศาสนาท่ีมีตอ่ สงั คมโลก และบทบาทขององคก์ ารพระพทุ ธศาสนาระดบั นานาชาติ โดยใหน้ ิสิตปี๓ จบั กลมุ่ เป็นกลมุ่ ละ ๓ ทารายงานนาเสนอตอ่ อาจารย์ และนิสิตรวมฟัง เพ่ือเก็บคะแนน กลมุ่

รายงานกลมุ่ ท่ี๑ จดั ทาโดย ๑)พระพลวตั พลวโร รหสั ๖๔๐๙๕๐๑๐๒๑ ๒)พระอธิการเทวา คนฺธสาโร รหสั ๖๔๐๙๕๐๑๐๐๕ ๓)พระสมควร ธมฺมจิตโฺ ต รหสั ๖๔๐๙๕๐๑๐๒๐

รายงานกลมุ่ ท่ี๑ - สารบญั สถานการณป์ ัจจบุ นั ของพระพทุ ธศาสนาในเอเชียใต้ 1)พระพทุ ธศาสนาในอินเดีย 2) กลมุ่ ชาวพทุ ธใหม่สา ดร.เอ็มเบคการ์ 3)บทบาทของสมาคมมหาโพธิ์ 4) พระพทุ ธศาสนาในศรลี งั กา 5)พระพทุ ธศาสนาในบงั คลาเทศ 6) พระพทุ ธศาสนาในเนปาล 7)พระพทุ ธศาสนาในภฐู าน

รายงานกลมุ่ ท่ี๑ พระพทุ ธศาสนาในอนิ เดยี

รายงานกลมุ่ ท่ี๑

รายงานกลมุ่ ท่ี๑ อนิ เดยี ในวนั นีไ้ มเ่ หมือนเดิมและจะไม่มีวนั เหมือนเดิมอีกตอ่ ไป ดว้ ยศกั ยภาพภายในประเทศและนโยบายของรฐั ท่ีมงุ่ สรา้ ง “อินเดีย ใหม่” หรอื “New India” ทาใหท้ กุ วนั นี้ อินเดยี ไดก้ า้ วขนึ้ เป็นประเทศท่ีทรงอิทธิพลดว้ ยขนาดเศรษฐกิจขนาดใหญ่เป็นอนั ดบั 3 ของโลก (ตามการคาดการณข์ องธนาคารโลก) และดว้ ยจานวนประชากรมากท่ีสดุ ในโลกกวา่ 1.4 พนั ลา้ นคน แซงหนา้ สาธารณรฐั ประชาชนจีนไปเรยี บรอ้ ยแลว้ ตงั้ แตต่ น้ ปี 2566 ท่ีผ่านมา ทาใหอ้ ินเดยี อดุ มไปดว้ ยแรงงานวยั หนมุ่ สาว และความตอ้ งการดา้ นการ บรโิ ภค (Demand) ภายในประเทศท่ีเพ่ิมสงู ขนึ้ สง่ ผลตอ่ การขยายตวั ทางเศรษฐกิจของอินเดยี ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยส์ รุ ตั น์ โหราชยั กลุ ผอู้ านวยการศนู ยอ์ ินเดียศกึ ษาแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั กลา่ วถึงอินเดียใหม่วา่ “อินเดีย ในวนั นีเ้ ปล่ยี นไปจากเม่ือก่อนมาก และในอีก 10 ปีขา้ งหนา้ อินเดยี จะเปล่ยี นไปมากกวา่ นีอ้ ีก ไมม่ ีใครมาหยดุ ยงั้ การพฒั นาของ อินเดยี ได”้

รายงานกลมุ่ ท่ี๑ “ในปัจจุบัน สายสมั พนั ธอ์ ินเดีย-ไทยยงั คงเช่ือมตอ่ อยา่ งไหลล่นื ผ่านการเดนิ ทางและการทอ่ งเท่ียวท่ีสะดวกมากขนึ้ ภาพยนตรอ์ ินเดยี ท่ีฉายในแพลตฟอรม์ ตา่ งๆ เชน่ คงั คไุ บ พระพทุ ธเจา้ สลมั ดอ็ ก มิลเลยี นแนร์ เป็นตน้ เทคโนโลยีนวตั กรรม ICT ท่ีมีฐานการผลติ ท่ีอินเดยี ผลิตภณั ฑย์ าและเภสชั กรรมภมู ิปัญญาของอินเดยี ท่ีคนไทยก็นิยมซือ้ ตดิ มือเม่ือไปเยือน อินเดีย และในทางกลบั กนั คนอินเดียจานวนไมน่ อ้ ยก็หลงเสน่หส์ นิ คา้ ไทย อาทิ เฟอรน์ ิเจอรไ์ ทย อาหารไทย บะหม่ีก่งึ สาเรจ็ รูปรสตม้ ยากงุ้ และสถานท่ีพกั ผ่อนหลายแห่งในประเทศไทยท่ีชาวอินเดยี นิยมพาครอบครวั มาเท่ียว”

รายงานกลมุ่ ท่ี๑ ดร. เอมเบดการ์ พทุ ธศาสนามีความสมั พนั ธก์ บั ชนั้ ปกครองมาโดยตลอด ตงั้ แตส่ มยั พทุ ธกาล พระราชาทรงเป็นพทุ ธมามกะ และปกครอง แผ่นดนิ โดยธรรมใชห้ ลกั ธรรมมาธิปไตยในการปกครอง รฐั ธรรมอินเดยี ปัจจบุ นั ไดใ้ หส้ ิทธิมนษุ ยช์ นเทา่ เทียมกนั ใหย้ กเลิกระบบวรรณะ บคุ คลสาคญั ในการยกรา่ งรฐั ธรรมนญู คอื ดร. เอมเบดการ์ – ปัจจบุ นั มีชาวอินเดยี นบั ถือพทุ ธศาสนาจานวนนอ้ ย ไมถ่ งึ ๒ % ของประชากรทงั้ หมด – การนบั ถือศาสนาพทุ ธจะกลมกลนื กบั ศาสนาฮินดมู าก ทงั้ ความเช่ือ ประเพณี และพิธีกรรม เพราะศาสนาฮินดฝู ังรากลกึ กลมกลืนกบั วฒั นธรรมอินเดีย – สงั เวชนียสถาน และพทุ ธสถานโบราณไดร้ บั การฟื้นฟู และเป็นสถานท่ีศกั ดิส์ ิทธิ์ท่ีพทุ ธศาสนิกชนท่วั โลกไปเย่ียมชมและ บชู า

รายงานกลมุ่ ท่ี๑

รายงานกลมุ่ ท่ี๑ จุดประสงคข์ องสมาคมมหาโพธิ จุดประสงคข์ องสมาคมมหาโพธิ ท่ีไดจ้ ดั ตงั้ ขนึ้ ในคราวนนั้ คอื \" เพ่ือสรา้ งวดั พระพทุ ธศาสนาและก่อตงั้ พทุ ธวทิ ยาลยั กบั สงฆ์ คณะพระภิกษุซง่ึ เป็นผแู้ ทนของประเทศพระพทุ ธศาสนา คือ จีน ญ่ีป่นุ ไทย เขมร พมา่ ลงั กา จิตตะกอง เนปาล ธิเบต และอาร กนั ไปประจาอยู่ ณ พทุ ธคยา ทา่ นอนาคาริกะ ธรรมปาละ

รายงานกลมุ่ ท่ี๑ เมอื่ วันที่ 5 กรกฎาคม 2566 สถานกงสลุ ใหญ่ ณ เมืองกลั กตั ตา ไดเ้ ขา้ พบสมาคมมหาโพธิ์ แห่งอินเดียเพ่ือหารอื การสง่ เสรมิ ความรว่ มมือดา้ นการเผยเแผพ่ ระพทุ ธศาสนาระหว่างไทย- อินเดีย ตลอดจนแลกเปล่ยี นความคดิ เห็นเก่ียวกบั แนวทางความรว่ มมือในอนาคต สถานกงสุลใหญ่ ณ เมอื งกลั กัตตา เข้าพบสมาคมมหาโพธิแ์ หง่ อนิ เดยี

รายงานกลมุ่ ท่ี๑ ปัจจุบนั ประเทศศรีลังกา ไดเ้ ป็ นประเทศทมี่ พี ระพทุ ธศาสนาเป็ นศาสนาประจาชาติ

รายงานกลมุ่ ท่ี๑ ประเทศศรีลังกา เป็นดินแดนท่ีพระพทุ ธศาสนาเถรวาทไดห้ ย่งั รากลกึ และตงั้ ม่นั มาอยา่ งชา้ นาน หลงั จากพระพทุ ธศาสนาใน อินเดียไดเ้ ส่อื มลง ทงั้ เป็นแหลง่ เผยแผพ่ ทุ ธศาสนาเถวาทไปยงั ดินแดนตา่ งๆ รวมทงั้ ประเทศไทย ชาวศรลี งั กานนั้ ยงั คงประสาน อดุ มการณท์ างสงั คมและอดุ มการณท์ างพทุ ธศาสนาเขา้ ดว้ ยกนั อย่างแนบแนน่ โดยเฉพาะในเรอ่ื งของการอปุ สมบทท่มี งุ่ เป็นศาสน ทายาทสบื ต่อมรดกทางธรรมและการดา้ รงอย่อู ย่างม่นั คงของพทุ ธศาสนา ปัจจบุ นั พระภิกษุสงฆใ์ นศรลี งั กาประกอบดว้ ย3 นิกาย คอื สยามนิกาย อมรปรุ นิกาย และรามญั นิกาย ทงั้ 3 นิกายนีจ้ ะไม่นิยมลาสกิ ขา เน่ืองจากสงั คมศรลี งั กาจะใหค้ วามดหู ม่ินดแู คลน และไม่นบั ถือผทู้ ่ีสกึ ออกมาจากพระ ซง่ึ ถกู มองวา่ ไม่ใชค่ นดีท่ีเรยี กวา่ หิระลุ ในภาษาสงิ หล หมายถึง ผทู้ ิง้ ผา้ จีวร เป็นบคุ คลท่ีเกียจ ครา้ น และไมน่ ่าปรารถนาของสงั คม

รายงานกลมุ่ ท่ี๑ พระพุทธศาสนาในบงั คลาเทศ

รายงานกลมุ่ ท่ี๑ พระพทุ ธศาสนาในจิตตะกองไดร้ บั การฟื้นฟจู ากคณะสงฆเ์ ถรวาท นาโดยพระสงั ฆราชเมืองยะไข่ ในปี พ.ศ. 2408-2421 พระองคไ์ ด้ วางรากฐานแบบเถรวาทในจิตตะกอง โดยจดั พิธีอปุ สมบทภิกษุแลว้ ใหศ้ กึ ษาอบรมพระธรรมวินยั ตลอดอายกุ าลของพระองค์ แม้ สมเดจ็ พระสงั ฆราชองคต์ อ่ มาก็ไดส้ ืบสานนโยบายตอ่ ไป จนมีบรรพชาอปุ สมบทมากขนึ้ ตามลาดบั ตอ่ มา พ.ศ. 2473 ในสมยั พระสงั ฆราชอาจรยิ ะญาณลงั การมหาเถระ สถิต ณ มหามนุ ีปาหารตอลี เมืองจิตตะกอง ทา่ นทสั สนาจารยิ ะบณั ฑิตธรรมธารมหาเถระ ก็ไดจ้ ดั ตงั้ \"สงั ฆราชภิกขมุ หาสภา\"ขนึ้ ปัจจบุ นั เรยี กวา่ \"บงั กลาเทศสงั ฆภิกขมุ หาสภา\" โดยมีพระสงฆจ์ ากปากีสถาน อินเดีย และ บงั กลาเทศ จนปัจจบุ นั นีม้ ีสมเดจ็ พระสงั ฆราชองคท์ ่ี 8 โดยปัจจบุ นั นีช้ าวพทุ ธในบงั กลาเทศสว่ นใหญ่เป็นแบบเถรวาท

รายงานกลมุ่ ท่ี๑ ภาพพระสงฆท์ ากจิ กรรม

รายงานกลมุ่ ท่ี๑ พระพทุ ธศาสนาในเนปาล

รายงานกลมุ่ ท่ี๑ เนปาล เป็นแดนชาตภิ มู ิของพระพทุ ธเจา้ ดินแดนในอาณาเขตเนปาลเคยเป็นท่ีตงั้ ของสถานท่ีสาคญั เก่ียวกบั พทุ ธ ประวตั ิ เช่น เมืองกบิลพสั ดุ์ เมืองเทวทหะ ตาบลลมุ พินี เป็นตน้ ความเป็นมาของพระพทุ ธศาสนาในเนปาลสมยั แรกๆ ยงั เลือนลางอยู่ เพ่ิงจะปรากฏหลกั ฐานชดั เจนในสมยั พระเจา้ อโศกมหาราช ในพทุ ธศตวรรษท่ี ๓ ตานานเล่าวา่ พระเจา้ อโศกได้ เสดจ็ มายงั เนปาลครงั้ แรกเพ่ือปราบกบฏตงั้ แตย่ งั เป็นราชกมุ าร ครนั้ เสดจ็ ขนึ้ ครองราชยแ์ ลว้ คราวหน่งึ ไดเ้ สดจ็ มายงั ลมุ พินี (ปัจจบุ นั เรยี ก รุมมินเด) เพ่ือนมสั การสถานท่ีประสตู ิของพระพทุ ธเจา้ และไดท้ รงประดษิ ฐานหลกั ศิลาจารกึ ไวเ้ ป็นอนสุ รณ์ ณ ท่ี นนั้ ดว้ ย นอกจากนนั้ พระราชธิดาองคห์ นง่ึ ของพระเจา้ อโศก พระนามว่า จารุมตี ไดอ้ ภิเษกสมรสกบั ขนุ นางเนปาลท่านหนง่ึ ได้ สรา้ งสถปู และวดั ไวห้ ลายแหง่ ยงั ปรากฏซากอยจู่ นทกุ วนั นี้

รายงานกลมุ่ ท่ี๑ ปัจจบุ นั ในสมยั ท่ีชาวมสุ ลิมเขา้ รุกรานแควน้ พหิ าร และเบงกอล ในประเทศอินเดีย พระภิกษุจากอินเดียตอ้ งหลบหนีภยั เขา้ ไปอาศยั ใน เนปาล ซง่ึ ภิกษุเหลา่ นนั้ ก็ไดน้ าคมั ภีรอ์ นั มีคา่ มากมายไปดว้ ย และมีการเก็บรกั ษาไวเ้ ป็นอยา่ งดจี นถึงทกุ วนั นนี้ และเม่ือ มหาวทิ ยาลยั นาลนั ทา (ในประเทศอินเดีย) ถกู ทาลายซง่ึ ทาใหพ้ ระพทุ ธศาสนาเส่อื มสญู ไปจากประเทศอินเดียแลว้ ก็สง่ ผลให้ พระพทุ ธศาสนาในประเทศเนปาลพลอยเส่อื มลงดว้ ย คณุ ลกั ษณะพิเศษท่ีเป็นเคร่อื งหมายประจาพระพทุ ธศาสนา เชน่ ชีวติ พระสงฆใ์ นวดั วาอาราม การตอ่ ตา้ นการถือวรรณะ การปลดเปลอื้ งความเช่ือไสยศาสตรต์ า่ งๆ เป็นตน้ ก็เลือนหายไป

รายงานกลมุ่ ท่ี๑ พระพุทธศาสนาในประเทศเนปาลในปัจจุบนั ไดม้ ีการฟื้นฟพู ระพทุ ธศาสนาฝ่ายเถระวาทขนึ้ ในประเทศเนปาล โดยสง่ ภิกษุสามเณรไปศกึ ษาในประเทศท่ีนบั ถือพระพทุ ธศาสนา ฝ่ายเถรวาท เชน่ ประเทศไทย ประเทศพม่า ประเทศศรลี งั กา โดยเฉพาะประเทศไทยนนั้ พระภิกษุสามเณรชาวเนปาล ซง่ึ ได้ บรรพชาและอปุ สมบทแบบเถรวาทไดม้ าศกึ ษาพระปรยิ ตั ิธรรม และศกึ ษาในมหาวทิ ยาลยั สงฆ์ ๒ แหง่ คือ มหาจฬุ าลงกรณราช วทิ ยาลยั และมหามกฏุ ราชวิทยาลยั

รายงานกลมุ่ ท่ี๑ นอกจากนั้นคณะสงฆเ์ นปาลยงั ไดก้ ราบทลู เชิญสมเดจ็ พระญาณสังวร สมเดจ็ พระสงั ฆราชแห่งประเทศไทยไปใหบ้ รรพชา อปุ สมบทแก่กลุ บตุ รชาวเนปาล ณ กรุงกาฐมาณฑุ พรอ้ มทงั้ ทรงแสดงพระธรรมเทศนาโปรดชาวเนปาล นอกจากนีส้ มาคมธมั โมทยั สภา ไดอ้ ปุ ถมั ภใ์ หพ้ ระภิกษุจากประเทศศรลี งั กาและพระภิกษุสงฆใ์ นประเทศเนปาลท่ีไดร้ บั การอบรมมาจากประเทศศรีลงั กา ออก เผยแผ่พระพทุ ธศาสนาอยา่ งจรงิ จงั พรอ้ มทงั้ มีการแปลพระสตู รจากภาษาบาลเี ป็นภาษาถ่ิน พมิ พอ์ อกเผยแพรเ่ ป็นจานวนมากดว้ ย

รายงานกลมุ่ ท่ี๑ พระพทุ ธศาสนาในภฐู าน

รายงานกลมุ่ ท่ี๑ ชาวภฏู านสว่ นใหญ่ท่ีนบั ถือพระพทุ ธศาสนานนั้ โดยเฉพาะพระสงฆแ์ ละผอู้ าวโุ สท่ีนบั ถือจะมีการสวดมนต์ นบั ลกู ประคาอยู่ เป็นกิจวตั รประจาวนั เสมอ ชาวภฏู านบางครอบครวั ท่ีมีลกู ชายก็นิยมสง่ บตุ รหลานตนไปบวชเรยี นตงั้ แตเ่ ด็ก เพ่ือศกึ ษา ความรูว้ ิชาการ ต่าง ๆ ทางพระพทุ ธศาสนา เช่น การเรยี นพระสตู ร พระวินยั ซง่ึ แสดงถึงความศรทั ธาในพระพทุ ธศาสนาของ ชาวภฏู านและวถิ ีชีวติ สว่ นใหญ่จะเก่ียวขอ้ งกบั พระพทุ ธศาสนาตงั้ แต่เกิดจนตาย

รายงานกลมุ่ ท่ี๑ จบการนนาเสนอ

รายงานกลมุ่ ท่ี๑


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook