หนังสอื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ (E-Book) การสรปุ ความ
คานา ก หนังสอื อิเลก็ ทรอนิกส์ (E-book) เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการอ่านคิดพฒั นาชีวิต ETH0406 โดยมีจดุ ประสงคเ์ พ่อื ศึกษาความรทู้ ีไ่ ดจ้ ากการสรุปความ ซึง่ หนังสอื อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) เล่มน้ี มีเนื้อหาเก่ียวกับความหมายของการสรุปความ ความสาคัญของการสรุปความ การใช้ภาษาในการ สรปุ ความ ประเภทของการสรปุ ความ หลกั การฟังเพอ่ื สรปุ ความ หลกั การสรุปความจากเรื่องท่ีอ่าน ประโยชน์ของการสรุปความ และตวั อย่างการสรปุ ความ คณะผู้จัดทาขอขอบคุณอาจารย์วัศรนันทน์ ชูทัพ ผู้ให้ความรู้และแนวทางการศึกษา และเพื่อน ๆ ทุกคนท่ีให้ความช่วยเหลือมาโดยตลอด ผู้จัดทาหวังว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) เรอื่ งการสรปุ ความ จะใหค้ วามรู้และเปน็ ประโยชนแ์ กผ่ อู้ า่ นทุก ๆ ทา่ น กญั ญาณฐั อินทรเ์ ผือก และคณะ
สารบัญ ข เร่ือง หนา้ คานา ก สารบัญ ข 1 ความหมายของการสรปุ ความ 5 ความสาคัญของการสรุปความ 9 การใชภ้ าษาในการสรปุ ความ 11 ประเภทของการสรุปความ 16 หลักการฟงั เพ่อื สรปุ ความ 18 หลักการสรปุ ความจากเรื่องที่อา่ น 22 ประโยชน์ของการสรปุ ความ 26 ตัวอยา่ งการสรปุ ความ 32 บรรณานุกรม
1 ความหมายของการสรปุ ความ ความหมายการสรุปความ เป็นการสรุปเฉพาะประเด็น สาคัญของเร่ือง ท่ีอ่านโดยใช้หลักการตอบคาถามให้ได้สาระว่า ใคร ทาอะไร ท่ีไหน เมื่อไร ทาไม อย่างไร และนาเนื้อหาสาคัญ ดังกล่าวมาเรียบเรียงใหม่ให้สละสลวย ต่อเน่ืองอย่างชัดเจน และกะทัดรดั (กระทรวงศึกษาธกิ าร,กรมวชิ าการ, 2545: 224)
2 ความหมายของการสรปุ ความ วรมน เหรยี ญสวุ รรณ (2548: 229) ไดก้ ล่าวถงึ การสรปุ ความไว้วา่ 1. เป็นวธิ ถี อดรหสั สารอีกวิธีหนึ่ง หลงั จากการแปลความและการตคี วามแลว้ 2.เป็นการยอ่ อยา่ งสัน้ ท่สี ดุ กลา่ วคอื กล่าวแต่เพยี งความคดิ สาคัญที่สุดเท่านั้น โดย อาจเสนอน้าเสยี ง หรือจดุ ประสงคข์ องผ้สู ง่ สารไว้ดว้ ยวา่ เป็นไปในทานองใด เช่น แนะนา สั่งสอน เยาะเย้ย หรือตักเตอื น เป็นตน้ 3.คล้ายกบั การยอ่ ความตรงทเ่ี ปน็ การจบั ใจความสาคญั เหมอื นกัน ตา่ งกนั ท่ีว่า การ ย่อความเป็นการจับใจความสาคัญให้ครบถ้วนทุกประเด็น แต่การสรุปความนาเสนอ เฉพาะประเดน็ ที่สาคญั ทส่ี ดุ ซง่ึ อาจแฝงเจตนาหรอื นา้ เสยี งของผ้สู ่งสารดว้ ย
3 ความหมายของการสรปุ ความ สรวยี ์ เคยี นสนั เทียะ (2548: 9) และบาหยนั อิม่ สาราญ (2548: 229)ให้ความหมาย ของการสรุปความไว้ทานองเดียวกันว่า การสรุปความ หมายถึง การสรุปเฉพาะประเด็น สาคัญของเร่ือง โดยผ่านกระบวนการคิดใคร่ครวญอย่างมีเหตุผล เพ่ือให้ได้ใจความสั้น กะทดั รัด และสละสลวย ดว้ ยสานวนของผู้เขียนเอง กัณหา คาหอมกุล (2548: 35) และดุสิตา แดงประเสริฐ (2549: 74) ได้กล่าวถึง ความหมายของการสรุปความในทานองเดียวกันว่า การสรุปความเป็นการหาเฉพาะ เนือ้ หาสาคัญของเร่ืองท่ีอ่านหรือฟังให้ได้ใจความครบสมบูรณ์ท่ีสุด ด้วยภาษาสานวนของ ตนเอง
4 ความหมายของการสรปุ ความ เฉลิมพล ณ เชียงใหม่ (2547: 20) ได้ให้ความหมายของการสรุปความว่า การสรุปความ หมายถึง การเก็บความในบทความ บทอ่าน หรือเรียงความแล้ว นามาเรียบเรียงใหม่โดยใช้คาพูดของผู้เขียนสรุปเองให้ได้เนื้อหากะทัดรัดและ ครอบคลุม ใจความเดิมทั้งหมด แต่ความหมายต้องไม่ผิดเพี้ยนไปจากเรื่องเดิม มี จุดประสงคเ์ พอื่ ความสะดวกแก่การนาไปใช้ จากความหมายท่ีผู้เชี่ยวชาญให้คาจากัดความ เร่ือง การสรุปความไว้ สรุปได้ว่า การสรุปความ หมายถึง การเก็บประเด็นสาคัญของเรื่องท่ีอ่านหรือฟัง โดยผ่าน กระบวนการคิดอย่างมีเหตุผล เพื่อให้ได้เนื้อหากะทัดรัด และครอบคลุมใจความเดิม ท้ังหมด ดว้ ยสานวนของผู้เขียนเอง
5 ความสาคญั ของการสรปุ ความ ความส าคัญของการสรุปความ การสรุป ค ว า ม เ ป ็ น ทั ก ษ ะ ท ่ี ม ี ค ว า ม ส า คั ญ ใ น ก า ร ติดต่อสื่อสาร เพราะจะช่วยให้จดจาเร่ืองราวหรือ ประเด็นสาคัญจากสิ่งท่ีได้อ่าน ได้ฟังเร่ืองราวต่าง ๆ ก่อให้เกิดประโยชน์ในการศึกษา การทางาน และใช้ในชีวิตประจาวัน ดังท่ีนักการศึกษาหลาย ท่านได้กลา่ วถึงความสาคญั ของการสรุปความไว้
6 ความสาคญั ของการสรปุ ความ พชั นี มานะวาณิชเจรญิ (2543: 236) ไดก้ ลา่ วถึงความสาคญั ของการสรุปความไว้ดังน้ี 1. เป็นข้อมูลเสริมความรู้ การสรุปความจากเรื่องที่เป็นสาระความรู้ต่างๆ จะช่วยเสริมความรู้แก่ผู้สรุป ความและผู้อา่ นได้อย่างดี ท้งั ยังประหยัดเวลาและสามารถอา่ นทบทวนได้หลายคร้ัง 2. เป็นข้อมูลประกอบการวินิจฉัย ผู้บริหารงานส่วนใหญ่มักมีผู้ช่วยสรุปความจากข่าวสารทางสื่อมวลชน ต่าง ๆ ในเรื่องที่เก่ียวข้องกับขอบข่ายงานที่ตนรับผิดชอบ ทั้งนี้เพ่ือนาสาระสาคัญท่ีได้นั้นมาประกอบการ วินิจฉยั ที่เหมาะสมต่อไป 3. เป็นข้อมูลประกอบการศึกษาค้นคว้า การสรุปความเป็นเสมือนการบันทึกอดีตในช่วงเวลาที่ผ่านมา โดยเฉพาะอย่างย่ิงการสรุปความเหตุการณ์หรือเรื่องราวที่ต่อเนื่องกัน แม้เวลาจะผ่านไปแต่ผู้ที่ได้อ่านข้อความ ที่สรุปไว้ย่อมได้แนวทางในการศึกษาค้นคว้าเก่ียวกับเรื่องนั้นได้อีกทางหน่ึง ประเภทของการสรุปความ การ เขียนสรุปความเป็นการใช้ทักษะการเขียนท่ีได้จากการคิดรวบยอดของเรื่องที่จะสรุป ซ่ึงสื่อหรือช่องทางของ เรอ่ื งราวทีเ่ ราจะนามาสรปุ มีหลากหลายประเภท แต่ได้มนี กั วิชาการแบ่งประเภทของการสรุปความไว้กวา้ ง ๆ
7 ความสาคัญของการสรปุ ความ ขนษิ ฐา แสงภกั ดี (2540: 23) และสมจติ ร เมน่ เกาะ (2546: 10)ไดก้ ลา่ วถงึ ความสาคญั ของการสรุปความในทานองเดียวกันว่า การสรุปความ มีบทบาทสาคัญมากในชีวิตประจาวัน ในฐานะที่เป็นเครอ่ื งมอื สาคญั ของการสือ่ สาร เพราะจะช่วยให้จดจาสาระสาคัญจากส่ิงท่ีได้ฟัง ได้อ่าน และสามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ ในชีวิตประจาวันได้ พริ้มเพราวดี หันตรา (2541: 79) และสรวีย์ เคียนสันเที๊ยะ (2545: 13) ได้กล่าวถึง ความสาคัญของการสรุปความว่า การสรุปความเป็นทักษะการใช้ภาษาท่ีมีความสาคัญและ จาเป็นในการสื่อสาร เพราะจะช่วยให้จดจาสาระสาคัญจากส่ิงท่ีได้ฟังและอ่าน การใช้กาษา เพ่ือสรุปความให้ได้ดีนั้นต้องอาศัยการฝึกฝนอย่างถูกหลักเกณฑ์จึงจะทาให้การสรุปความมี ประสิทธิภาพย่งิ ขน้ึ
8 ความสาคญั ของการสรุปความ กมลพรรณ บินอิบรอฮีม (2547: 13), กัณหา คาหอมกุล (2548: 36) และดุสิตา แดงประเสริฐ (2549: 75) ได้กล่าวถึง ความสาคัญของการสรุปความ ในทานองเดียวกัน ว่า การสรุปความมีความสาคัญและจาเป็นอย่างย่ิงต่อการศึกษา และการสื่อสารใน ชีวิตประจ าวัน เพราะจะช่วยให้จดจาสาระส าคัญจากสิ่งท่ีได้ฟังและอ่าน ท าให้สื่อ ความหมายเข้าใจดีขึ้นและสามารถนาไปใช้ประโยชน์ต่อไปได้ทั้งท่ีเป็นวิชาการและไม่เป็น วชิ าการ จากความส าคัญของการสรุปความสามารถสรุปได้ว่า การเขียนสรุปความมี ความสาคัญอย่างย่ิงต่อการศึกษา และการส่ือสารในชีวิตประจาวัน เพราะจะช่วยจดจา สาระสาคญั จากสงิ่ ทฟ่ี ังและอ่าน ทาใหส้ ื่อความหมายเขา้ ใจดขี ึ้น
9 การใชภ้ าษาในการสรุปความ การสรุปความ นอกจากจะต้องอาศัยการตีความ การคิดวิเคราะห์ การเข้าใจความคิดหลักของเรื่องแล้ว ควรจะตระหนักถงึ เรอ่ื งการเรียบเรียงถ้อยคา หรือการ ใช้สานวนภาษา เพราะการใช้ภาษาในการเขียนสรุป ความจะต้องเขียนให้กระชับ ถูกต้อง และตรงประเด็น อีกทงั้ ยงั ต้องใช้สานวนภาษาของผู้สรุปความเอง จึงจะ ทาให้การสรุปความนั้นเกดิ ประสทิ ธผิ ล
10 การใช้ภาษาในการสรปุ ความ การใช้ภาษาในการสรุปความควรคานงึ ถึงส่ิงต่อไปนี้ 1. ใช้คาง่ายๆ ตรงตามความหมายท่ีต้องการ 2. ใชป้ ระโยคความเดียวสั้นๆ ตดั พลความหรือส่วนประกอบออกไป 3. เขยี นคาให้ถูกต้องตามพจนานุกรม 4. ไมค่ วรใช้อักษรย่อในข้อความทีเ่ ขียนสรปุ ความแลว้ 5. หากมีคาราชาศพั ท์ให้คงไว้ตามต้นฉบบั และใช้ให้ถูกต้องตามระดับชั้นของบุคคล 6. เมือ่ กลา่ วถงึ บุคคลให้เปลยี่ นเป็นสรรพนามบรุ ษุ ที่ 3 7. ถา้ ข้อความเดิมเป็นร้อยกรอง การเขียนสรปุ ความให้เขียนเป็นร้อยแก้ว 8. ใช้สานวนการเขยี นของตนเอง 9. ใชค้ าสนั ธานเชื่อมข้อความให้ลาดับเน้ือเรอื่ งเป็นเรื่องเดียวกัน
11 ประเภทของการสรปุ ความ ไพรถ เลิศพิริยกมล (2543: 117-118) ได้แบ่งประเภทของการสรุปความ ออกเป็น 2 ประเภท คือ การสรปุ ความจากการฟัง และการสรปุ ความจากการอ่าน 1. การสรปุ ความจากการฟงั การใช้ภาษาตดิ ต่อสื่อสารมีทั้งการฟัง การ พูด การอ่าน และการเขียน ทั้งหมดที่กล่าวมานี้การฟังใช้มากที่สุด เพราะหู ของคนเราจะรับเสียงอยู่ตลอดเวลา พร้อมท่ีจะรับรู้ข่าวสารจากเสียง ตลอดเวลาเช่นเดียวกัน ตราบใดที่คนยังไม่หลับก็จะได้ยินเสียงทั้งเสียงที่อยาก รับรู้และไม่อยากรับรู้ หากเสียงใดอยากรับรู้คนจะฟัง เสียงใดไม่อยากรับรู้ หรือไม่ตั้งใจจะรับรู้ก็เรียกว่าได้ยิน เมื่อใดที่รับรู้แล้วสมองก็บันทึกความจาไว้ เม่ือต้องการถ่ายทอดอออกมาเป็นคาพูดก็ถ่ายทอดมาอย่างละเอียดอย่างย่อ หรืออยา่ งสรุปก็ได้ แล้วแตค่ วามตอ้ งการของผู้สื่อสาร
12 ประเภทของการสรปุ ความ 2. การสรุปความจากการอ่าน ในปัจจุบันคนส่วนมากได้รับ การศึกษาขั้นพื้นฐานสามารถอ่านหนังสือได้ดีพอสมควร จึงอาศัย การอ่านเพ่ือศึกษาหาความรู้ และรับรู้เร่ืองราวต่าง ๆ การอ่านมี ลกั ษณะเช่นเดียวกับการฟัง คือ เมื่อรับรู้เรื่องราวและข้อมูลต่าง ๆ จากการอ่าน ข้อมูลท่ีรับรู้มาอาจจดจาไว้หรือถ่ายทอดให้ผู้อ่ืนรับรู้ อีกทอดหนึ่ง การถ่ายทอดอาจใช้วิธีการถ่ายทอดอย่างละเอียดถี่ ถ้วน วธิ ียอ่ หรือวธิ ีสรุปก็ได้
13 ประเภทของการสรุปความ ธนู ทดแทนคุณ (2552 : 224) กล่าวว่า ประเภทของการสรุปความ มี 2 ประเภทคือ 1. การสรุปความจากการฟัง การเขียนสรุปความจากการฟัง เช่น การฟังความรู้จากการอภิปราย การประชุม ข่าว และการอ่าน ข่าวประเภทต่างๆ เป็นเร่ืองที่ผู้รับสารต้องมีสมาธิและมีความตั้งใจใน การท่ีจะสามารถรับสาระสาคัญให้ได้เพราะการจับประเด็นของเรื่อง เป็นส่ิงสาคัญมาก ในงานราชการหรือธุรกิจนั้นถ้าเรื่องที่เสนอมีความ ยาวมากหลายหนา้ ผ้เู สนอเร่ืองมีหน้าท่ีต้องย่อเรื่อง หรือสรุปความให้ เพือ่ ความเขา้ ใจท่ีชัดเจนและรวดเร็ว
14 ประเภทของการสรปุ ความ 2. การสรปุ ความจากการอา่ น 2.1 อ่านร้อยแก้ว 2.2 อ่านร้อย กรอง การสรุปความจากกการอ่าน ไม่ว่าจะเป็นร้อยกรองหรือร้อย แก้วก็ตาม ก่อนการเขียนนั้นต้องอ่านให้ละเอียด ก่อนเก็บใจความ สาคัญตลอดจนแนวทางความคิดและทัศนคติของผู้เขียน เพ่ือนามา เป็นข้อมูลในการเขียนสรุปความ อาจทาบันทึกย่อเฉพาะประเด็น สาคัญ จดจาไว้ด้วยความเข้าใจ หรือขีดเส้นใต้ข้อความที่สาคัญแล้ว จึงนามาเรียบเรียงใหม่ด้วยภาษาของตนเอง โดยยังสามารถเก็บ ใจความสาคัญไวไ้ ดอ้ ยา่ งครบถว้ น
15 ประเภทของการสรปุ ความ จากความเห็นของนักวิชาการทั้งสองท่านสรุปได้ว่า ประเภท ของการสรุปความแบ่งเป็น 2ประเภท ได้แก่การสรุปความจากการ ฟัง และการสรุปความจากการอ่าน ซ่ึงส่ิงสาคัญของการสรุปความ ทั้งสองประเภทนี้คือการจับประเด็นหรือใจความหลักของเร่ืองให้ ถกู ต้อง กะทดั รดั ชดั เจน ครบถว้ นตามความต้องการของผสู้ ง่ สาร
16 หลกั การฟงั เพอื่ สรปุ ความ 1. ฟังเร่ืองราวให้เข้าใจ พยายามจับใจความสาคัญของเรื่อง เป็นตอนๆ วา่ เรื่องอะไร ใครทาอะไร ทไี่ หน เม่อื ไร อย่างไร 2. ฟังเร่ืองราวที่เป็นใจความสาคัญแล้วหารายละเอียดของ เร่ืองที่เป็นลักษณะปลีกย่อยของใจความสาคัญ หรือที่เป็นส่วน ขยายใจความสาคญั 3. สรปุ ความโดยรวบรวมเนอ้ื หาสาระสาคัญอย่างครบถ้วน
17 หลกั การฟงั เพอ่ื สรปุ ความ วิธีการสรุปความจากการฟังนั้น เราจะต้องค้นหาให้พบว่าสารใดเป็น ความคิดสาคัญในเร่ืองนั้นๆ แล้วสรุปไว้เฉพาะใจความสาคัญ โดยเขียนชื่อ เรื่อง ผู้พูด โอกาสท่ีฟัง วัน เวลา และสถานท่ีท่ีได้ฟังหรือดูไว้เป็นหลักฐาน เคร่ืองเตือนความทรงจาต่อไป การฟังเพื่อจับประเด็นและสรุปความ เป็นการฟังในชีวิตประจาวันเพ่ือให้ได้ สาระสาคัญของเรื่องที่ฟัง เช่น ฟังการสนทนา ฟังเร่ืองราวข้อมูลข่าวสาร ต่างๆ ฟังโทรศัพท์ ฟังประกาศ ฟังการบรรยาย ฟังการอภิปราย ฟังการเล่า เร่ือง เปน็ ตน้
18 หลกั การสรุปความจากเรอ่ื งทีอ่ ่าน การอ่านสรุปความเป็นทักษะการอ่านอย่างหน่ึงท่ีนักเรียนสมควร ได้รับการฝึกฝนอย่าง สม่าเสมอ จึงจะสามารถอ่านสรุปความได้ ถกู ตอ้ ง ดงั ท่ี นพดล จันทร์เพ็ญ (2535)ได้ให้ ความหมายของการอ่านสรุป ความไว้สรุปได้ว่า เป็นการจับประเด็นให้ได้ว่า ผู้เขียนต้องการเสนอ ข้อคิดเห็นอะไร การหาประเด็นสาคัญขึ้นอยู่กับลักษณะและความยาว ของย่อหน้า และเร่ืองด้วย ตามปกติแต่ละย่อหน้าจะมีใจความสาคัญ ทส่ี ุดอยู่หนึง่ ใจความ
19 หลกั การสรุปความจากเรื่องท่อี า่ น พรรณี เจ็ดพี่น้องร่วมใจ (2535) และ เนาวรัตน์ นาคพงษ์ (2536) ให้ความหมายของการอ่านสรุปความไว้คล้ายกัน สรุปได้ว่า เป็น กระบวนการที่ผู้อ่านเข้าใจ ถึงจุดมุ่งหมายและจับสาระส าคัญของ เรอื่ งราวทอ่ี า่ นได้ ฃดรุณี คันธวังอินทร์ (2537: 12) และ สุรดา วาเสนัง (2539: 14) ไดก้ ล่าวถึงความหมายของการอา่ นสรปุ ความไวต้ รงกันว่า คือ \"การอ่านที่ ผู้อ่านต้องทาความเข้าใจถึงจุดมุ่งหมายสาระสาคัญ ของเร่ืองที่อ่าน พร้อมท้งั สามารถแปลความหมายของเรือ่ งราวท่ีอ่านได้ถกู ต้อง\"
20 หลักการสรปุ ความจากเรอื่ งทอี่ ่าน อวยพร พานิช (2541) สรุปความหมายของการอ่านสรุปความไว้ว่า การอ่านสรุปความ ผู้อ่านต้องอ่านเนื้อเรื่องอย่างละเอียดและอ่านอย่าง เข้าใจ โดยเข้าถึงแนวคิดจุดมุ่งหมาย และอารมณ์โดยมุ่งเก็บจุดมุ่งหมาย สาคัญของเร่ืองในแงต่ ่าง ๆ ได้ จากนักวิชาการกล่าวมาข้างต้นสรุปได้ว่าการอ่านสรุปความ มีดังน้ี วิธีการดงั น้ี 1. อ่านเนื้อเร่ืองที่จะสรุปความโดยให้ความสาคัญกับช่ือเรื่อง ควรใช้ เทคนิคการตั้งคาถาม เช่น ใคร ทาอะไร ท่ีไหน เมื่อไหร่ อย่างไร ผลเป็น อยา่ งไร หลงั จากท่อี า่ นจบแลว้ 2. หาใจความสาคญั ของแตล่ ะยอ่ หนา้
21 หลักการสรปุ ความจากเรือ่ งท่อี า่ น 3.นาใจความสาคัญท่ีได้มาเรียบเรียงให้ต่อเน่ืองกัน โดยควรรักษา เนื้อความเดิมของแต่ละย่อหน้าไว้ แต่อาศัยการใช้คาเช่ือมเพ่ือความ สละสลวย และต่อเนือ่ งสัมพนั ธ์กนั 4. อ่านทบทวนและแก้ไขหากพบว่าเนื้อความยังไม่มีความต่อเน่ือง สัมพนั ธ์กนั หากพบใจความซา้ ซอ้ น ควรตัดออก 5.การสรุปความสามารถนาเสนอได้ทั้งในรูปแบบของการเขียนและ การพูด
22 ประโยชน์ของการสรุปความ การสรุปความจัดเปน็ ทักษะหนึง่ ทีม่ ปี ระโยชน์มากต่อการเรียนรู้ ดังน้ี 1. มบี ทบาทต่อการพฒั นาทกั ษะการอ่าน และทักษะการฟงั ของผู้เรยี น 2. วธิ ีการสรปุ ความจะบังคับใหผ้ เู้ รยี นคดิ ถงึ สงิ่ ท่อี ่าน โดยต้องพิจารณา แยกแยะข้อมูล สาคัญ และใจความสนบั สนุนทีส่ าคัญ 3. จดั ระบบข้อมลู ทีจ่ าเป็น ก่อนที่จะนามาสรปุ ย่อโดยใช้คาพดู ของตนเอง 4. เป็นวธิ ีการเรียนทบ่ี รู ณาการกระบวนการในการฟงั และการอ่านเป็นอย่างดี 5. เพ่ือความเพลิดเพลิน ได้แก่ การรับสารเพื่อความสนุกสนาน ผ่อนคลายความตึง เครียด ไม่เนน้ ความสาคัญของเน้อื หาสาระ ไมจ่ าเป็นตอ้ งมสี มาธิมากนัก ในการรับสาร
23 ประโยชนข์ องการสรุปความ 6. เพื่อความจรรโลงใจ ได้แก่ การรับสารที่ก่อให้เกิดสติปัญญาหรือช่วยยกระดับ จิตใจใหส้ งู ขนึ้ ผู้รับสารต้องมีวจิ ารณญาณท่ีจะเชอื่ หรอื ปฏิบตั ิในสง่ิ ทีถ่ ูกตอ้ ง 7. เพ่ือประเมินผลและวิจารณ์ ได้แก่ การรับสารที่ต้องอาศัยความรู้อย่างละเอียด ถูกต้องในเร่ืองที่จะประเมินหรือวิจารณ์ นอกจากนั้น ต้องมีความเป็นธรรม ไม่มีอคติต่อผู้ สง่ สารหรอื ตวั สาร พริ้มเพราวดี หันตรา (2541:79) กล่าวถึง ประโยชน์ของการสรุปความ สรุปได้ว่า การสรุปความให้ประโยชน์ทั้งในการศึกมาและในชีวิตประจาวัน ทาให้ผู้เขียนสรุปความ เป็นคนช่างสังเกต มีเหตุผล รู้จักประมวลความรู้ ความคิด มีวิจารณญาณในการตัดสินใจ และสามารถเลือกเร่อื งทจ่ี ะอ่านและฟงั ไดอ้ ย่างเหมาะสม
24 ประโยชน์ของการสรุปความ สุทธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์ และอุคม หนูทอง (2535:11) กล่าวถึง ประโยชน์ของ การสรปุ ความวา่ มที ง้ั ทางตรงและทางออ้ ม ดังนี้ 1. ประโยชน์ทางตรง คือ การฝึกทักษะด้านการใช้ภายาให้สามารถเก็บ ความสาคัญจากเรื่องท่ีอ่านหรือฟัง แล้วเอามาเรียบเรียงใหม่ให้มีใจความ ถกู ตอ้ ง และครบถ้วนดว้ ยการใช้ภายาง่ายๆ สนั้ ๆ และกระชับ 2. ประโยชน์ทางออ้ ม คอื จะช่วยฝึกฝนให้ผู้เรียนได้วิธีการในการสังเกต วิเคราะห์ และสรุปส่ิงทั้งปวงในชีวิตประจาวัน อันก่อให้เกิดนิสัยเป็นคนรู้จัก ประมวล ความร้คู วามคดิ มีวิจารณญาณในการตัดสินใจรับรู้ในเหตุและผล ซึ่ง จะเกดิ ประโยชนใ์ นการคาเนินชีวติ ตอ่ ไป
25 ประโยชนข์ องการสรุปความ สรุปได้ว่า การสรุปความมีประโยชน์มากต่อการเรียนรู้ เพราะเป็นเคร่ืองมือท่ีช่วยให้นักเรียนรู้จักจัดข้อมูล ประมวล ความรู้ ความคิด และมีวิจารณญาณในการตัดสินใจและ สามารถเลอื กเรือ่ งที่จะอ่านและฟังได้อย่างเหมาะสม
26 ตวั อยา่ งการสรปุ ความ เร่อื ง ลดอว้ น (ได)้ โดยไมพ่ งึ่ ยา ยุคปัจจุบัน มีผลิตภัณฑ์อาหารเสริม ยาลดความอ้วน ที่โฆษณาเกินจริง ว่ากินแล้วทาให้หุ่นดี น้าหนักลด ซึ่งทาให้ ประชาชนบางคนหลงเชื่อแบบผิด ๆ จนส่งผลกระทบต่อ สุขภาพตามมา ทั้ง ๆ ท่ีจริง ๆ แล้ว การลดน้าหนักเพื่อแก้ปัญหาโรค อ้วนท่ีดีท่ีสุด ควรเน้นวิธีการทางธรรมชาติซ่ึงเป็น วิธีท่ี เหมาะสมกับทุกคน คือ การปรับเปล่ียนพฤติกรรมการกิน ด้วยการควบคุมปริมาณและชนิดของอาหาร ควบคู่กับการ ออกกาลังกาย (ทีม่ า: นิตยสารกลุ สตรีฉบับที่ 1118 ปีท่ี 28 มถิ ุนายน 2561 หน้า 14 )
27 ตวั อยา่ งการสรปุ ความ เรื่อง ลดอว้ น (ได)้ โดยไมพ่ ง่ึ ยา วธิ ีสรุปความ ใคร ผลติ ภณั ฑ์อาหารเสรมิ ทาอะไร ลดความอว้ น ที่ไหน - เมอื่ ไร ยุคปจั จุบัน อย่างไร โฆษณาเกนิ จรงิ ผลเป็นอยา่ งไร ประชาชนบางคนหลงเชอื่ แบบผิด ๆ สรปุ ความได้ดังนี้ ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมยาลดความอ้วน ในยุคปัจจุบันได้โฆษณาเกินจริง ทาให้ประชาชน บางคนหลงเช่ือแบบผิด ๆ
28 ตวั อยา่ งการสรปุ ความ ตวั อยา่ งท่ี 2 เรื่องไมด้ อกหอมเมอื งไทย ไม้ดอกหอมของเมืองไทยเราแม้ส่วนใหญ่จะดู ไมส่ วย และไม่มีสีสะดดุ ตา แต่ก็ให้กลิ่นหอมท่ีชวนดม กลิน่ หอมของดอกไม้ก่อให้เกิดอารมณ์ ความรู้สึกนึก คดิ สรา้ งจนิ ตนาการและแรงบันดาลใจให้รังสรรค์สิ่ง อันดงี ามนานปั การ ศลิ ปะวฒั นธรรมไทยหลากหลาย ประเภท เช่น ศิลปะลายไทยภาพวาด ภาพแกะสลัก สิ่งก่อสร้าง ทั้งพระราชวังและวัดวาอารามแสดงให้ เห็นประจักษ์เด่นชดั วา่ ผรู้ งั สรรคง์ านไดร้ ับอิทธพิ ล จากไม้ดอกหอมอยู่มากวรรณคดีไทยแทบทุกเร่ืองมีบทพรรณนาโดยนาไม้ดอกหอมมา ผกู เรอื่ ง ดังเชน่ ในวรรณคดีเรอื่ งอเิ หนากลา่ วถงึ ตัวละครเอกเขยี นสารรักเพลงยาวโดย ใช้กลีบดอกปาหนันหรือลาเจียกท่ีมีกลิ่นหอมส่งให้หญิงท่ีต้องตาถูกใจให้ล่วงรู้ความรัก ในใจตน ทีม่ า: https://www.dltv.ac.th
29 ตวั อยา่ งการสรปุ ความ ตวั อยา่ งที่ 2 เรอ่ื งไมด้ อกหอมเมอื งไทย วิธีสรปุ ความ ใคร ไม้ดอกหอมเมืองไทย ทาอะไร มีกลนิ่ หอม ทีไ่ หน เม่ือไร - อยา่ งไร - ผลเป็นอย่างไร สรา้ งความรู้สึกนกึ คิด สรปุ ความจากเรอ่ื งไมด้ อกหอมเมอื งไทย ทาให้มีผ้รู ังสรรคผ์ ลงาน ไมด้ อกหอมจากเมืองไทยสว่ นใหญ่จะดูไม่สวยและไมม่ ีสีสันสะดุดตา แต่มกี ลิน่ หอมของดอกไม้ ก่อให้เกดิ อารมณ์ความรู้สึกนึกคิด สร้างจนิ ตนาการและแรงบันดาลใจใหร้ ังสรรค์สิ่งอันดี ผู้รงั สรรค์ งานได้รับอิทธิพลจากดอกไม้หอมอยมู่ ากวรรณคดไี ทยแทบทุกเรือ่ งมบี ทพรรณนา
30 ตัวอยา่ งที่ 3 การสรปุ ความจากเรอ่ื งทฟี่ งั รายการ Super10 Season1 ลลี าสดุ กวน เชฟเรยี ว แดนปลาแดก กับเมนแู ปลก ชวนแซ่บ ที่มา : https://youtu.be/nhkiD-UQiNQ
31 ตวั อยา่ งท่ี 3 การสรปุ ความจากเรอ่ื งทฟี่ งั รายการ Super10 Season1 ลีลาสุดกวน เชฟเรยี ว แดนปลาแดก กับเมนแู ปลก ชวนแซ่บ ใคร เชฟเรียว , นอ้ งเรยี ว ทาอะไร กาลงั หาวัตถุดิบในการประกอบอาหาร เช่น ปูนา ก้งิ ก่า ตวั ออ่ นผีเสอ้ื ลกู ออ๊ ด ไข่มดแดง ผกั ตา่ ง ๆ , ทาอาหาร , ถา่ ยคลิปทาอาหารลงโซเชยี ลมเี ดีย ทีไ่ หน ในบา้ น , บรเิ วณรอบบ้าน , หนองนา้ , ท่งุ นา เมื่อไร กลางวนั อย่างไร หาโดยการขดุ ดนิ ปีนหาตามต้นไม้ ชอ้ นหาตามหนองน้า ผลเป็นอยา่ งไร เซฟเรยี วไดว้ ตั ถุดบิ ที่จะนามาประกอบอาหารเพอ่ื รับประทาน และวัตถุดบิ ที่ตอ้ ง สรุปความไดว้ า่ นาไปใช้ในรายการ Super10 Season1 ครบตามท่ตี อ้ งการ เชฟเรียวหาวตั ถดุ บิ ในการทาอาหารช่วงตอนกลางวัน ซ่ึงมีวัตถุดิบในการประกอบอาหาร โดยหาบริเวณรอบ บา้ น หนองนา้ ทุ่งนา โดยการขดุ ดิน ปีนหาตามต้นไม้ ช้อนหาตามหนองน้า จนทาให้ได้วัตถุดิบท่ีจะนามาทาอาหารได้ ครบตามตอ้ งการ
บรรณานุกรม 32 กณั หา คาหอมกุล. (2564, กรกฎาคม 20). ความสามารถในการเขยี นสรุปความภาษาไทยของนักเรียนช้ัน ประถมศกึ ษาปีท่ี 6. ออนไลน์.เข้าถงึ ได้จาก http://www.sure.su.ac.th/xmlui/bitstream/handle/123456789/7491/Fulltext.pdf นพนติ รอดศริ ิ. (2564, กรกฎาคม 20). การเปรียบเทียบผลสมั ฤทธิก์ ารเขยี นสรุปความของนักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 4. ออนไลน์ . เขา้ ถึงได้จาก file:///C:/Users/Downloads/Chapter2-16.pdf บาสิกา สมรกั ษ์. (2564, กรกฎาคม 18). การพูดสรปุ แนวคิดจากเรอ่ื งที่ฟังและด.ู ออนไลน.์ เขา้ ถงึ ไดจ้ าก https://sites.google.com/site/krubasika/kar-phud-srup-naewkhid-cak-reuxng-thi-C33WcYnL8. _____. (2564, กรกฎาคม 18). บทท่ี 2 : การสรปุ ความจากการฟงั และการดู. ออนไลน์. เข้าถึงได้จาก http://kruyou.banto.ac.th. _____. (2564, กรกฎาคม 18). บทที่ 2 : การสรุปความจากการฟงั และการดู. ออนไลน์. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก https://sites.google.com/site/rtech51152/bth-thi-1/bth-thi-2-kar-srup-khwam-cak _____. (2564, กรกฎาคม 18). บทท่ี 6 การพฒั นาทกั ษะการเขียน. ออนไลน.์ เขา้ ถึงได้จาก https://huso.vru.ac.th/mis/upload/teacher/files/master-191-1473849233.doc.
สมาชกิ ภายในกล่มุ นางสาวกัญญาณัฐ อนิ ทรเ์ ผอื ก 6201105001033 นางสาวพรรญมล ฤกษ์ดี 6201105001035 นางสาวศริ ิกาญจนศ์ รสี ว่าง 6201105001047 นางสาวมณฑติ า พงษจ์ ีน 6201105001052 นางสาวญาณิศา ดาสนทิ 6201105001053 นางสาวเกตนกิ า สมุยเจริญสนิ 6201105001054
Search
Read the Text Version
- 1 - 37
Pages: