Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือการเลี้ยงกุ้ง

หนังสือการเลี้ยงกุ้ง

Published by วป. ติณสูลานนท์, 2021-03-08 09:55:56

Description: หนังสือการเลี้ยงกุ้ง

Search

Read the Text Version

46 การเลยี้ งกงุ้ 46 การใสอาหารในยอ ตองหวานอาหารในบอกอนแลวจึงใสอาหารในยอ จุดประสงคเพื่อตองการใหกุง ในบอกระจายกินอาหารทั่วบอกอน เม่ืออาหารที่หวานบนพ้ืนบอหมดแลว กุงบางสวนท่ียังไมอิ่มก็จะเขาไป กินอาหารในยอสําหรับบอที่การปลอยกุงอยางหนาแนนและมีการหวานอาหารเฉพาะตามริมข อบบอคือไมใช เรือหวานอาหาร ปริมาณกุงสว นใหญจะอยูบ รเิ วณขอบบอมากกวาปกติ ดงั นน้ั อาหารในยออาจจะมากกวาปกติ เชนกุงขนาด 5 กรัม อาหารที่ใสในยอท้ังหมด 2.4 เปอรเซ็นตก็เพิ่มเปน 2.6 เปอรเซ็นต แตเวลาเช็คยอก็ยัง เหมือนเดิม บอท่ีมีการระบายนํ้าหรือของเสียจากกลางบอ (Central drain) จะมีการสะสมของเลนนอยกวาบอ ท่ีไมมีการระบายของเสียจากกลางบอ ดังนั้นพื้นท่ีท่ีสะอาดจะมีมากกวา การกระจายของกุงจะไมแออัดมาก เทา กบั บอท่ีมเี ลนตรงกลางบอ มาก การหวา นอาหารกส็ ามารถกระจายไดมากกวา การเขายอของกุง โดยทั่วไปแลวแกตกตางกันออกไปจากบอหนึ่งกับอีกบอหน่ึง ตามปกติกุงจะเร่ิม ทยอยเชาขอต้ังแต 1 สัปดาห หลังจากการปลอยกุง และจะเขายอเพิ่มขั้นเร่ือยๆ ประมาณ 3 สัปดาห จะเร่ิม เขายอมากในกรณีที่กุงเขายอนอยและเขามากควรจะรอสังเกตดูประมาณ 25-30 วัน ถามีกุงเขายอประมาณ 4-5 ตัว แสดงวาอัตรารอดของกุงในบอต่ํามากกอนที่จะตัดสินใจปลอยกุงเสริมควรงดการหวานอาหารท่ัวบอ แลวใสอาหารเฉพาะในยอวางไวกระจายทั่วบอดูวามีกุงเขายอเพ่ิมข้ึนหรือไมถาการเขายอยังมีนอย แสดงวา อตั รารอดของลกู กงุ ต่ํามาก ควรจะปลอ ยเสริมลงไปอีกไมควรรอนานเกินไปจะเปนการเสียเวลาและโอกาสมากขึ้น การเช็คยอ หลังจากเริ่มคํานวณปริมาณอาหารใสในยอนั้นจะพบวาบอท่ีเคยหวานอาหารเฉพาะริม ขอบบออาหารกระจายไมกวางมากจะมีผลทําใหกุงเขายอมาก แตหลังจากใชเรือหวานอาหารกระจายทั่วบอ การเขายอของกุงจะลดนอยลง ดงั น้นั ในระยะเวลาท่ีเช็คยอถา อาหารหมดพอดี ควรจะมกี ุงประมาณ 30-40 ตวั สําหรับกุงเลก็ และไมมีอาหารเหลืออยูเลย แตมีข้ีกุงบนยอเปนจํานวนมาก แตถามีกุงในยอเปนรอยตัวและไมม ี อาหารเหลืออยูในยอเลยแสดงวา อาหารที่ใหนนั้ ไมพอสําหรับกุงทม่ี ีขนาดใหญจาํ นวนกุงท่ีอยูในยอจะมนี อยกวา กุงขนาดเล็ก เพราะกุงบางสวนจะดีดตัวหนีออกจากยอ ในขณะที่กําลังยกยอเพื่อตรวจเช็คอาหาร แตปริมาณ อาหารในยอจะตองหมดจริงๆ จึงจะเพ่ิมอาหาร ถาจํานวนยอคร่ึงหน่ึงหมดอีกครึ่งหน่ึงไมหมด แตเหลือไมมาก ก็ไมตองเพ่ิมหรือลดอาหารแตถาอาหารในยอเกือบทุกยอหมด และอีกบางยอเกือบเหมดเหลือไมมาก ก็เพิ่ม อาหารได บางคร้งั จะพบวาดานหนงึ่ ของบออาหารในยอจะมีเหลืออยูเ ปน ประจําแตอีกดานหนงึ่ หมดแทบทุกครั้ง แสดงวาอาจจะมีกุงในดานนั้นมากกวาอีกดานหน่ึง ควรใชแหสุมปริมาณกุงท้ังสองดานเพื่อเปรียบเทียบ การกระจายของกุงในบอนั้น แลว ใหอ าหารตามความเปน จริงคือ ดา นที่มกี ุงหนาแนน ก็ใหอาหารมากกวาดานท่ี มีกงุ นอยกวา การทาํ เชน นี้จะแกป ญ หาทีก่ ลา วมาแลว ได จะทําใหอาหารในบอกงุ ใชไ ปอยา งถกู ตอ งตามความเปนจริง ในการเช็คยอทุกครั้งนอกจากจะเช็ควาอาหารหมดหรือไม จะตองจับกุงมาตรวจดูวามีอาหารในลําไส เต็มหรอื เปลา ควรเลอื กดเู ฉพาะตวั ที่มีสเี ขม กวาปกติ เพราะตัวกุง ท่ีใสกวา จะแขง็ แรงกวา กุงที่มีตัวสเี ขม การหวานอาหาร สําหรับกุงขนาดเล็กตองปดเคร่ืองใหอาการทุกตัว เพราะอาหารจะถูกกระแสน้ําพัด ไปรวมกันกลางบอ ลูกกุง อาจจะกินไมทนั แตก ุงขนาดใหญ อาหารจะมขี นาดใหญก วา อาจจะเปด เคร่อื งใหอากาศ ไดบางสวนในขณะหวานอาหาร แตในบอท่ีใชเครื่องใหอากาศแบบแอรเจ็ตถาเปดเครื่องใหอากาศจํานวนมาก กระแสนํ้าจะแรงมากอาหารจะถูกน้ําพัดเขาไปรวมกันบริเวณกลางบอได แตเพ่ือความปลอดภัยในขณะหวาน อาหารโดยเฉพาะการหวานอาหารโดยใชเรืออาจจะเกิดอุบัติเหตุโดยเครื่องใหอากาศแบบเคร่ืองตีนํ้าแขนยาว ทําใหเ ปนอนั ตรายไดก ับผูห วา นอาหาร ดงั นัน้ ควรจะปดเครือ่ งใหอ ากาศขณะท่ีพายเรือใหอาหาร บอขนาดเล็กที่ มีการหมนุ เวยี นของนา้ํ ไดดี ควรจะปดเครือ่ งใหอากาศขณะใหอาหารเพราะอาหารจะถูกพดั พาไปรวมกันบริเวณ กลางบอ หรืออกไปทางทอระบายของเสียกลางบอได

การเลี้ยงก้งุ 47 47 การปรับอาหารตามยอ ควรจะประเมินปริมาณกุงในบอไดแลเม่ือกุงมีน้ําหนักประมาณ 10 กรัม ลองตรวจเช็คอีกครั้งเมื่อกุงมีน้ําหนัก 15 กรัม ปริมาณอาหารที่กุงกินในขณะน้ันเม่ือคํานวณปริมาณกุงควรจะ ใกลเคียงกันหลงั จากน้ันการเพิ่มก็จะมีเพดานจํากัดโดยคํานงึ ถึงปริมาณกุงในบอ จากการประเมินดว ย ไมใชเพ่ิม อาหารเรือ่ ยๆ จนอตั รารอดของกุงในบอ สูงเกินความเปน จริงจะเปน การสิ้นเปลอื งอาหาร การสุมโดยใชแห ตามปกติจะตองสุมชั่งน้ําหนังกุงทุกๆ 7-10 วันโดยใชแห หลังจากุงในบอน้ําหนัก ประมาณ 5 กรม สําหรบั กงุ ขนาดเล็กกวา น้ีควรจะสุมช่ังนํา้ หนักจากุงท่ีเขมาในยอการสุมนาํ้ หนักกุงเพื่อตอ งการ ทราบการเจริญเติบโตและปรับอาหารใหถกู ตองตามความจริง กงุ ที่กนิ อาหารเปนปกติตัวจะใสสะอาด เนื้อแนน เมื่อบีบบริเวณลําตัว สวนกุงผอมเน้ือจะไมแนนคลายมีชองวาระหวางเปลือกกับเนื้อ ซ่ึงอาจจะมาจากการให อาหารไมพอหรือกุงเริ่มปวย ถาขากุงและตัวกุงสกปรกแตกุงยังแข็งแรง กินอาหารดี แสดงวาพ้ืนบอสกปรก อาจจะมาจากอาหารเหลือหรือข้ีเลนท่ีสะสมกันมากซึ่งอาจจะมาการการเนาของข้ีแดด หรือการวางตําแหนง เคร่อื งใหอ ากาศไมเ หมาะสม ไมสามารถทาํ ใหตะกอนในบอรวมกันเปน จุดเดียวกันไดต องรีบแกไ ขกอนที่กงุ จะปว ย การใชแหสุมกุง ควรจะสุมหลายๆจุดรอบบอเพราะการกระจายของกุงจะแตกตางกันมากบริเวณ มุมอับในบอท่ีมีเลนมาก ควรสุมดวย เพราะจะเปนตัวบงชล้ี ักษณะของพื้นบอไดดี ถาบริเวณมุมอับซ่ึงมีเลนมาก แตตัวกุงสะอาดเหงือกสะอาด แสดงวาในบริเวณอ่ืนๆ ไมมีปญหาแนนอน การสุมดวยแหทําใหผูเลี้ยงสามารถ จัดการเกี่ยวกับการใหอาหารไดอยางมีประสิทธิภาพ บริเวณท่ีพ้ืนบอไมดีก็ใหอาหารนอยกวาบริเวณที่มีพ้ืนบอ สะอาดและมีกุงหนาแนน อยางไรก็ตามการประเมินปริมาณกุงในบอจากการสุมดวยแหไมแนนอนเพราะ นํ้าหนักและชองตาของแหจะมีผลการการสุมมาก การสุมแหเพียงแตบอกใหรูถึงสภาพของกุงในบอ และ สามารถบอกไดบอไหนมีกุงมากกวา แตการประเมินผลผลิตและอัตรารอด รวมท่ังจํานวนของกุงตองคํานวณ จากอาหารที่กุงกินในขณะนั้นหรือในระยะท่ีการกินอาหารของกุงเปนปกติ ไมใชระยะที่กุงกําลังลอกคราบหรือ กําลังปวย การประเมินผลผลิตของกุงในบอ ผูเล้ียงกุงควรนะประเมินผลิตของกุงในบอไดตลอดเวลาเพ่ือท่ีจะ ทราบวา ถาจับกุงในขณะน้ันจะคุมทุนหรือไม หรือปริมาณกุงที่มีอยูควรจะเลี้ยงตอไปหรือควรจะจับขาย แลวเตรียมบอเพื่อการเล้ียงรอบใหม การคํานวณผลผลิตของกุงในบอคิดจากปริมาณอาหารที่กุงกินในขณะนั้น หรือในภาวะปกติ เชน ตามปกตกิ ินวันละประมาณ 100 กโิ ลกรัม แตกอนจับเพียง 1 วนั กินอาหารลอดลงเหลือ 80 กิโลกรัม ตองคิดจากการกินอาหาร 100 กิโลกรัม นอกจากตอนที่กินลดเหลือ 80 กิโลกรัมมีกุงตายพื้นบอ เปน จาํ นวนมาก อาจจะตองประเมนิ จากอาหารมากกวา 80 กิโลกรัมแตน อยกวา 100 กิโลกรมั ตัวอยาง กุงในบอมีน้ําหนักเฉลี่ย 20 กรัม กินอาหารเม็ดวันละ 80 กิโลกรัม ถาจะจับกุงในขณะน้ัน ควรจะมีน้ําหนักทั้งหมดกก่ี โิ ลกรมั วิธีคิด ตองทราบวากุงขนาดนํ้าหนัก 20 กรัม กินอาหารก่ีเปอรเซ็นตของน้ําหนักตัว(ดูตามตาราง การกนิ อาหาร) ในที่นกี้ ุง กุลาดําขนาดนํา้ หนัก 20 กรัมจะกนิ อาหาร 2.5 เปอรเ ซ็นตข องนา้ํ หนักตัวตอ วัน อาหาร 2.5 กิโลกรมั จะไดน าํ้ หนกั กงุ 100 กโิ ลกรัม อาหาร 1 กิโลกรัม จะไดน ้าํ หนกั กงุ 100x1 = 40 กโิ ลกรมั 2.5 อาหาร 80 กิโลกรมั จะไดน ้าํ หนกั กงุ 40x80 = 3,200 กโิ ลกรัม ดงั นนั้ ถา จะจบั กุง นํ้าหนกั เฉลย่ี 20 กรมั กินอาหารวันละ 80 กโิ ลกรมั จะไดกงุ จาํ นวน 3,200 กโิ ลกรมั สําหรับกุงขนาด 10 กรมั กินอาหาร 4.0 เปอรเซน็ ตข องนํ้าหนักตัว 15 กรัม กินอาหาร 3.0 เปอรเ ซน็ ตของนา้ํ หนกั ตัว 20 กรัม กนิ อาหาร 2.5 เปอรเ ซน็ ตข องน้ําหนักตัว 25 กรมั กนิ อาหาร 2.3 เปอรเซน็ ตข องนา้ํ หนักตวั

48 การเลี้ยงกุง้ 48 30 กรมั กินอาหาร 2.1 เปอรเซน็ ตข องนาํ้ หนักตัว 35 กรัม กนิ อาหาร 2.0 เปอรเซ็นตข องนา้ํ หนกั ตัว อาหาร 1 กโิ ลกรมั กงุ ขนาด 10 กรมั จะไดน าํ้ หนกั กุง 100/4 = ประมาณ 25 กโิ ลกรัม อาหาร 1 กิโลกรัม กุงขนาด 15 กรัมจะไดน า้ํ หนกั กุง 100/3 = ประมาณ 33 กโิ ลกรมั อาหาร 1 กิโลกรมั กุง ขนาด 20 กรัมจะไดนาํ้ หนกั กงุ 100/2.5 = ประมาณ 40 กิโลกรมั อาหาร 1 กิโลกรัม กงุ ขนาด 25 กรมั จะไดนาํ้ หนักกงุ 100/2.3 = ประมาณ 43 กิโลกรัม อาหาร 1 กโิ ลกรมั กงุ ขนาด 30 กรมั จะไดน ้าํ หนกั กงุ 100/2.1 = ประมาณ 48 กิโลกรมั อาหาร 1 กิโลกรัม กุงขนาด 35 กรัมจะไดน าํ้ หนกั กุง 100/2.0 = ประมาณ 50 กโิ ลกรัม การประเมินผลผลิตของกงุ นํา้ หนกั 10 กรัม ใช 25 คณู อาหารทก่ี ุงกนิ ในวันน้นั 15 กรมั ใช 33 คูณอาหารทีก่ งุ กินในวนั นัน้ 20 กรมั ใช 40 คูณอาหารที่กุงกนิ ในวนั น้ัน 25 กรัม ใช 43 คณู อาหารทกี่ งุ กนิ ในวนั น้ัน 30 กรัม ใช 48 คณู อาหารท่กี ุงกินในวันน้นั 35 กรมั ใช 50 คณู อาหารท่ีกงุ กนิ ในวันน้ัน การคํานวณผลผลิตจากวิธีน้ีท่ีกลาวมานี้ ถาใชกรคํานวณอาหารท่ีใสในยอ ระยะเวลาการเช็คยอตาม ท่ีแนะนํา โดยท่ีผูเลี้ยงเองตองมีประสบการณอาจจะมีการดัดแปลงบางตามความเหมาะสมของแตละฟารม การประเมินผลผลิตจะใกลเ คยี งกับความจรงิ มาก บอที่มีการใหอาหารและการจัดการเร่ืองคุณภาพน้ําไดเหมาะสมและพื้นบอสะอาด เมื่อจับกุงและ นําผลผลติ มาคาํ นวณหาอัตราแลกเน้ือสว นมากจะมีคา คอนขางตํ่า หมายถึงใหอาหารไมม ากแตไดกงุ ปริมาณมาก ตัวอยางเชน ใชอาหารไปทง้ั หมด 4,200 กิโลกรัม จบั กุงไดน ํ้าหนักรวม 3,000 กโิ ลกรมั คาอัตราแลกเน้ือเทากบั 4,200 = 1.4 3,000 คา อัตราแลกเน้อื ท่อี ยใู นเกณฑที่ดสี าํ หรับการเล้ียงกุงกลุ าดาํ คอื ถา จบั กงุ ขนาด 60 ตัวตอ กิโลกรัม คา อตั ราแลกเนอื้ ควรจะอยรู ะหวาง 1.2 – 1.3 ถาจบั กงุ ขนาด 50 ตัวตอ กโิ ลกรมั คาอัตราแลกเนอื้ ควรจะอยรู ะหวาง 1.3 – 1.4 ถาจบั กุง ขนาด 40 ตวั ตอกิโลกรมั คาอตั ราแลกเนอ้ื ควรจะอยรู ะหวา ง 1.4 – 1.5 ถาจบั กุงขนาด 30 ตวั ตอกิโลกรมั คา อัตราแลกเนื้อควรจะอยรู ะหวา ง 1.5 – 1.6 สําหรับเกษตรกรท่ีสามารถเลี้ยงกุงไดคาอัตราแลกเนื้อต่ํากวาเกณฑท่ีกลาวมาน้ีแสดงวาการให อาหารและการจัดการตางๆ ดีมากทุกขั้นตอน ตองอยาลืมวาอาหารคือตนทุนในการเลี้ยงกุงที่สูงท่ีสุด การใชอ าหารอยา งมปี ระสทิ ธิภาพจะเปนการลดตนทนุ และเปนรายไดมากขึ้นดวย ในชวงเดือนแรกใหอาหาร 3 ม้ือก็เพียงพอ แตบางฟารมอาจจะให 4 มื้อก็ได แตในชวง 30 วัน ถึง 60 วัน ควรจะให 4 ม้ือ หรือถาปลอยกุงแนน และกุงติดดีอาจจะเพ่ิมเปน 5 มื้อ แตในรายท่ีมีประสบการณ สูงควบคุมอาหารและมีการจัดการที่ดีการใหเพียง 4 ม้ือ ก็ไมแตกตางกันมากนัก ขอดีของการใหอาหาร 5 ม้ือ ดกี วาใหเพียง 4 มอื้ ในชว งเดอื นทายๆ คือผูเลี้ยงมโี อกาสเดินรอบบอดสู ภาพตางๆ ท่วั ไปไดม ากขน้ึ โอกาสที่จะ เห็นปญหาตางๆไดดกี วาแตบางฟารมในชวง 40 วันแรกใหอาหารเพียงวนั ละ 3 มื้อ พอเริ่มเช็คยอก็ปรับเปนให อาหารวันละ 4 ม้ือ ให 4 มือ้ จนกระทงั่ จับขายก็ใหผลดีและยังจะทําใหผ ูเลย้ี งมีเวลาพักผอนในระหวางแตละม้ือ อาหารไดม ากกวา โดยสรุปวาให 4 ม้อื หรอื 5 มอื้ แตล ะฟารมจะเลือกแบบไหนก็ไดข ึน้ กับวัตถุประสงคละความ สะดวกหรือลองเปรียบเทียบดวู าให 4 มอื้ และ 5 มอ้ื ผลทอี่ อกมาแบบไหนดกี วา ก็เลอื กแบบน้นั

การเล้ียงกุ้ง 49 49 จากการศึกษาโดยการสุมกุงเพื่อตรวจเช็คการลอกคราบและการกินอาหารของกุงโดยการปรับเพ่ิมลด อาหารจากยอ พอจะสรุประยะเวลาการลอกคราบของกงุ ขนาดตางๆ ไดด ังน้ี นํ้าหนกั 2-5 กรัม ชว งเวลาในการลอกคราบ 6-7 วัน น้ําหนกั 6-9 กรัม ชว งเวลาในการลอกคราบ 7-8 วนั นา้ํ หนกั 10-15 กรมั ชว งเวลาในการลอกคราบ 9-10 วัน น้ําหนกั 16-22 กรมั ชว งเวลาในการลอกคราบ 12-13 วัน น้ําหนัก 23-31 กรัม ชวงเวลาในการลอกคราบ 14-16 วนั กงุ น้นั เมือ่ เรม่ิ มกี ารลอกคราบกุงจะเรมิ่ กนิ อาหารนอยลงจากปกตินานประมาณ 2 วนั จงึ เรมิ่ กนิ เพ่ิมข้ึน จนถึงระดับเดิมใชเวลาอีก 2 วัน รวมระยะเวลาท่ีอาหารเริ่มลดลงจนถึงระดับเดมิ กินเวลานานประมาณ 4 วัน หลังจากนั้นการกินอาหารจะเพิ่มข้ึนสูงกวาในระดับสูงสุดกอนระยะเร่ิมลอกคราบและจะเพิ่มข้ึนเร่ือยๆ จนถึง วงจรการลอกคราบครงั้ ตอ ไป สําหรับกุงที่มีขนาดใหญเชน ขนาดประมาณ 15 กรัม ระยะเวลาที่กินอาหารลดลง จนถึงระยะเวลา ทกี่ ารกินเทากบั ระยะกอนลอกคราบใชเวลาประมาณ 5-6 วัน ระยะเวลาของการลอกคราบ และการกินอาหารลดลงหรือเพ่ิมขึ้นในบอเกษตรกรผูเลี้ยงกุงสงั เกตหรือ บันทึกอาจจะแตกตางจากที่กลาวมาแลวบาง แตหลักการใหญๆ แลวควรจะคลายกันการเพิ่มหรือลดอาหาร ในแตละม้ืออาจจะมากหรือนอยแตกตางกันตามเทคนิคและวิธีการปรับอาหารของแตละคน แตการใหอาหาร ทีน่ อ ยกวา ปกติบาง จะดีกวา การใหอ าหารเหลอื เปอรเ ซ็นตการใหอ าหารตอน้าํ หนักตัวและปรมิ าณอาหารในยอ มีดังน้ี เบอรอ าหาร นน.กงุ เฉลย่ี (กรัม) % อาหาร/นน.ตัว % อาหารในยอ เวลาเช็คยอ 3 2 6 2.0 3 ชม. 4S 5 5 2.4 2.5 ชม. 4 10 4.0 2.8 2.0 ชม. 5 15 3.0 3.2 2.0 ชม. 5 20 2.5 3.6 2.0 ชม. 5 25 2.3 3.8 1.5 ชม. 5 30 2.1 4.0 1.5 ชม. 5 35 2.0 4.2 1 ชม. ตามตารางท่ีใหมานี้ อาจจะมีการดัดแปลงตามความเหมาะสมของแตละฟารมและขนาดของบอดวย ควรหวานอาหารใหทั่วบอกอนแลวจึงเอาอาหารใสในแตละยอ โดยทั่วไปบอขนาด 3-4 ไร จะมีบอ 4 ยอ ตําแหนงท่ีวางยอตองไมเปนที่มุมอับมีเลนเนาเสียพื้นบอมาก และตองไมอยูหนาเครื่องใหอากาศที่ทําใหอาหาร ใหยอปลิวหลุดออกมาจากยอได ควรปดเคร่ืองใหอากาศกอนหวานอาหาร ยกเวนวันที่ฟาปด ฝนตกหนัก หรือ ชวงกลางคืน จาํ เปนตอ งปด เคร่ืองใหอาการบางสวน แตตองไมท ําใหอาหารในยอปลิวออกมาได

50 การเลี้ยงกงุ้ 50 เพอ่ื ใหเ กษตรกรเขา ใจงา ยขึ้น ปริมาณอาหารทใ่ี สในแตล ะยอมีดังนี้ น้ําหนักกงุ เฉล่ีย 2 กรมั ใสอาหารในแตล ะยอ 5 กรัมตออาหาร 1 กิโลกรมั เวลาเชค็ ยอ 3 ชม. นาํ้ หนักกุง เฉล่ีย 5 กรัม ใสอาหารในแตละยอ 6 กรมั ตอ อาหาร 1 กโิ ลกรัม เวลาเชค็ ยอ 2.5 ชม. นา้ํ หนักกงุ เฉล่ยี 10 กรัม ใสอ าหารในแตล ะยอ 7 กรมั ตอ อาหาร 1 กโิ ลกรัม เวลาเช็คยอ 2 ชม. นํา้ หนักกงุ เฉลี่ย 15 กรัม ใสอ าหารในแตละยอ 8 กรัมตออาหาร 1 กิโลกรมั เวลาเช็คยอ 2 ชม. นา้ํ หนักกงุ เฉลี่ย 20 กรมั ใสอาหารในแตล ะยอ 9 กรัมตอ อาหาร 1 กโิ ลกรัม เวลาเช็คยอ 2 ชม. นํา้ หนกั กุงเฉล่ยี 25 กรมั ใสอาหารในแตละยอ 9.5 กรัมตอ อาหาร 1 กิโลกรัม เวลาเชค็ ยอ 1.5 ชม. นํา้ หนกั กุงเฉล่ีย 30 กรมั ใสอ าหารในแตละยอ 10 กรัมตออาหาร 1 กิโลกรัม เวลาเชค็ ยอ 1.5 ชม. นาํ้ หนักกงุ เฉลี่ย 35 กรมั ใสอาหารในแตล ะยอ 10.5 กรมั ตออาหาร 1 กโิ ลกรัม เวลาเชค็ ยอ 1 ชม.

การเล้ียงกงุ้ 51 51 บทปฏิบตั ิการที่ 4 เรื่องการใหอาหารกงุ การเลี้ยงกุงในปจจุบันเปนการเล้ียงแบบพัฒนา มีการปลอยกุงอยางหนาแนน ฉะน้ันตองใหอาหาร อยางเพียงพอ และเหมาะสม ซึ่งในการเลี้ยงกุงน้ัน 60% เปนตนทุนในการใหอาหารอีกอยางอาหารก็ราคาสูง เพราะฉะนั้นผูเล้ียงตองรูจัก วิธีการ รูจักขนาดเบอรอาหารที่ใชในแตละชวง ซ่ึงจะทําใหการใชอาหาร เกดิ ประโยชนต อกงุ สงู สุด จุดประสงค 1. นักเรยี นบอกชนิด เบอรอาหารทใี่ ชเ ลย้ี งได 2. นกั เรียนคาํ นวณการใชอาหารได 3. นักเรยี นรูจกวธิ กี ารใหอาหารอยางถูกตอง 4. นกั เรยี นเขาใจและคํานงึ ถึงผลกระทบจากการใหอ าหาร อปุ กรณ 1. อาหารเบอร 1,2,3,4,5 2. ตาช่ังขนาด 15 กก. 3. ยอเช็คอาหาร 4. เครือ่ งใหอาหารอตั โนมัติ 5. ถงั สาดอาหาร 6. แผนตารางการใหอาหาร 7. แห, อวน วิธีการ 1. นกั เรียนท้งั กลุมศึกษาลกั ษณะขนาดรูปรางเบอรอาหาร 2. นกั เรยี นรวมกันจดั ทาํ แผนกระดานตารางการใหอาหาร 3. นักเรยี นแบงกลุมๆละ 2-3 คน หมุนเวยี นปรบั เปลย่ี นกนั ใหอ าหารกุง 4. นกั เรยี นรว มกนั ศึกษาความสัมพันธก ารใหอาหารกงุ กับจํานวนกงุ ที่เหลอื ในแตล ะชวง 5. นกั เรียนรว มกนั ศึกษาผลการกินอาหารของกงุ ในยอโดยคํานึงผลกระทบของอาหารท่ีกุงกนิ 6. นักเรียนรว มกันศึกษาขนาดน้ําหนักไซดกงุ แตล ะชวงแลวคํานวณการใชอาหาร แบบบันทึกการใหอาหาร ว.ด.ป เบอรอาหาร ตารางการใหอ าหาร ผลการเชค็ ยอ ผรู ับผดิ ชอบ ม้ือ1 ม้อื 2 ม้ือ3 มื้อ4 มือ้ 1 มอื้ 2 มื้อ3 มื้อ4 คําถามทายบท 1. อธบิ ายลักษณะอาหารกุงเบอร 1,2,3,4 2. คาํ นวณปรมิ าณอาหารทใ่ี ชใ นการเลี้ยงกุง จากสภาพการณจ ริง

52 บทท่ี 5 การจัดการคณุ บภทาทพี่ 5น�ำ้ ในบ่อเลย้ี งก้งุ กุลาด�ำ การจดั การคณุ ภาพนํ้าในบอ เลยี้ งกงุ กลุ าดํา ปญหาท่ีเกิดข้ึนในการเลี้ยงกุงกุลาดําในปจจุบันที่สําคัญไดแกปญหาท่ีเก่ียวของกับคุณภาพน้ําที่มี คุณภาพดอยลงอันเน่ืองมาจากการขยายตัวของฟารมเลี้ยงกุงกุลาดําในประเทศไทยท่ีมีเพ่ิมขึ้นในหลายๆทองท่ี ทําใหการเลี้ยงตองมีความเส่ียงตอกุงเปนโรคตายสูงมากโดยเฉพาะในบริเวณที่มีการเลี้ยงกุงกุลาดําแบบพัฒนา มีการปลอยกุงอยางหนาแนน และขาดระบบการควบคุมปองกันของเสียท่ีปลอยออกมา แตอยางไรก็ตาม การเล้ียงกุงกุลาดําในทุกระบบไมวา จะเปน ระบบความเค็มปกติหรือระบบความเค็มต่ํา หรือระบบนํ้าหมนุ เวยี น หรือระบบปดสนิทก็ตาม การจัดการเร่ืองคุณภาพน้ําในบอเลี้ยงมีความสําคัญมาก ผูเล้ียงกุงตองมีความรูและ เขาใจถงึ การเปล่ียนแปลงตา งๆ ท่ีเกดิ ขึน้ เพอ่ื หาแนวทางในการปองกนั และแกไขเพ่ือลดปญหาตางๆที่อาจจะมี ผลตอ สุขภาพของกงุ การเจริญเติบโตและผลผลติ คณุ สมบตั ขิ องนาํ้ ท่ีมีความสาํ คัญในการเลี้ยงกุง กุลาดํามดี ังนี้ 1. ความเค็ม กุงกุลาดําเปนกุงท่ีมีความสามารถทนทานตอการเปล่ียนแปลงของความเค็มในชวงกวางและ ถาความเค็มเปลี่ยนแปลงลดลงอยางชาๆ สามารถปรับตัวอยูท่ีความเค็มเปนศูนยเปนเวลานานพอสมควร หรือ ความเค็มที่เพ่ิมขึ้นจนถึง 45 พีพีที แตความเค็มท่ีเหมาะสม และการเจริญเติบโตดีที่สุดคืออยูระหวาง 15-20 พีพีที แตในปจจุบันเราพบวาการเล้ียงกุงท่ีความเค็ม 3-10 พีพีทีจะเลี้ยงกุงไดงายเน่ืองจากมีปญหาเร่ือง ความเสียหายจากโรคกุงนอยมากโดยเฉพาะปญหาจากโรคแบคทีเรียเรืองแสงในบอกุงเปนตน เกษตรกร หลายรายจงึ ไดห นั มาเลีย้ งกุง ในระบบความเค็มต่าํ มากขน้ึ 2. พีเอช (ความเปน กรดเปน ดา ง) พีเอชของนํ้ามีความสําคัญตอการดํารงชีวิตของกุงกุลาดํามาก เน่ืองจากพีเอชของน้ํามีผล ตอคุณสมบัติของน้ําตัวอ่ืนๆ อีกเชนมีผลตอความเปนพิษของแอมโมเนียไนไตรทและไฮโดรเจนซัลไฟต เปนตน พีเอช ของน้ําที่เหมาะสมแกการเลี้ยงกุงกุลาดํา ควรอยูระหวาง 7.5-8.5 การเปลี่ยนแปลงของพีเอชในบอเลี้ยง กุงกุลาดําข้ึนกับปจจัยหลายอยางเชน คุณสมบัติของดิน คาอัลคาไลนนิต้ี การผลิตและการใชคารบอนไดออกไซด ในนาํ้ ซง่ึ สว นใหญจะขนึ้ อยกู ับปรมิ าณแพลงกตอนพืช น้ําท่ีผานบริเวณที่ดินเปนกรดหรือดินเปรี้ยวจะมีพีเอชตํ่า เนื่องจากความเปนกรดที่ละลายออกมา จากเน้ือดินจะทําใหพีเอชของนํ้าตํ่าโดยท่ัวไปแลวดินบริเวณปาชายเลนมักจะเปนดินเปร้ียว ซึ่งเกิดจากการ สะสมของไพไรท ซ่ึงเปนสาประกอบระหวางเหล็กและกํามะถันในชั้นดินในสภาพที่ขาดออกซิเจน ลักษณะดิน สวนมากมักจะมีสะสมของสารอินทรียจากพืชตางๆสูง ดินพวกน้ีเม่ือขุดขึ้นมาสัมผัสอากาศ ไพไรทจะถูก ออกซิไดซเปนกรดกํามะถัน(กรดซัลฟูริค) พีเอชของดินจะต่ํา ในบริเวณที่ดินเปนกรดเหลานี้เม่ือสูบน้ําเขาไป ในบอจะเห็นไดชัดวานํ้าจะมีสีสมและมีตะกอนสนิมเหล็กเปนจํานวนมากการแกปญหาเหลาน้ีทําไดโดยใช น้ําลางบอหลายๆครั้ง เม่ือลางจนเพียงพอแลวเติมนํ้าเขาบอใหระดับนํ้าในบอสูงกวาหรือเสมอกับบอขางเคียง แลวเติมวัสดุปูน หากน้ําในบอมีพีเอชที่ต่ํามากแพลงกตอนในบอจะเกิดขึ้นจากเกษตรกรตองปรับพีเอชน้ําใหได คาตอนเชา ประมาณ 6.00 น. สงู ประมาณ 7.5 จะชว ยใหแพลงกตอนพชื เพิ่มจํานวนไดเรว็ ข้นึ ระหวา งการเลี้ยง ตองตรวจเช็คคา พีเอชนํ้าอยเู สมอเม่อื พบวาพเี อชนํา้ เริ่มต่าํ กวา 7.5 ใหรบี เตมิ วัสดปุ ูนเพ่ือดึงคา พีเอชขึ้นมา ในบอท่ีมีแพลงกตอนพืชมากหรือในบอที่มีสีน้ําเขมจัด การเปล่ียนแปลงของพีเอชในรอบวันจะ มากข้ึนดวย โดยพีเอชของนํ้าจะตํ่าสุดในตอนเชามืด เม่ือมีการสะสมของคารบอนไดออกไซดจากการเนาสลาย ของเสียและการหายใจของกุงและแพลงกตอนรวมทั้งสิ่งมีชีวิตอ่ืนๆ ในบอ สวนในตอนบายพีเอชของนํ้าจะสูง

การเล้ยี งกุ้ง 53 53 ท่ีสุดเน่ืองจากการสังเคราะหแสงของแพลงกตอนพืชมีการดึงคารบอนไดออกไซดไปใชในบอเ ล้ียงกุงกุลาดํา โดยทวั่ ไปพเี อชของน้ําในรอบวนั มากเกนิ ไปจะมีผลทาํ ใหก ุงเครยี ดมผี ลตอการเจรญิ เติบโตดว ย การแกไขปญหา โดยการลดปรมิ าณแพลงกตอนหรือถายนํา้ มากขน้ึ เพื่อลดความเขมของสนี ้ํา หรือในกรณที คี่ าอลั คาไลนในน้ําตํ่า จําเปนตองมีการเติมวัสดุปูน เพื่อเพิ่มระดับคาอัลคาไลน จะทําใหพีเอชของนํ้าตอนเชาและตอนบาย เปล่ียนแปลงนอยลง สวนในกรณีท่ีพีเอชในน้ําตอนบายสูงมาก เน่ืองจากมีการใชคารบอนไดออกไซดไปใน การสังเคราะหแสงมาก การเปดเคร่ืองใหอากาศแบบเคลาน้ําแทนการใชใบพัดตีน้ําจะทําใหการเพ่ิมจํานวน ของแพลงกตอนไมม ากนักซ่งึ มผี ลใหพเี อชของนาํ้ ไมส งู จนเกนิ ไป 3. คา อัลคาไลนใ นนาํ้ หรืออลั คาไลนิต้ี (Alkalinity) โดยท่ัวไปหมายถึงปริมาณหรือความสามารถในการเปนดางของน้ํา ซ่ึงจะรวมปริมาณของ คารบอเนต (CO32-)1 ไบคารบอเนต (HCO3) และไฮดรอกซี่กรุป (HO-) เรียกรวมวา อัลคาไลนรวมคาอัลคาไลน เปนปจจัยอีกอยางหน่งึ ท่ีมีความสําคัญตอคุณภาพน้ําสาํ หรับการเลี้ยงกุง โดยจะมีความสัมพันธอยางมากกับคา พีเอชซ่ึงคาอัลคาไลนจะเปนตัวรักษาระดับพีเอชน้ําในบอใหคงที่หรือมีการเปลี่ยนแปลงนอยท่ีสุดและชวยใน การรกั ษาสีนาํ้ คาอัลคาไลนในน้ําท่ีเหมาะสมกับการเล้ียงกุงกุลาดําคือ 80-150 พีพีเอ็ม โดยท่ัวไปการรักษา ระดับอัลคาไลนใหคงที่น้ัน จะใชวัสดุปูนในกลุมคารบอเนต สวนการเพิ่มอัลคาไลนอาจะใชโซเดียม ไปคารบ อเนต หรอื โซเดียมคารบ อเนตแลว แตร ะดับพีเอชของนาํ้ 4. ออกซเิ จนทลี่ ะลายในน้าํ ปริมาณออกซิเจนท่ีละลายในน้ํามีผลตอการกินอาหาร การเจริญเติบโตและสุขภาพกุงถาปริมาณ ออกซิเจนตํ่าเกินไปอาจมีผลทําใหกุงตายไดปริมาณออกซิเจนท่ีละลายในบอจะเปลี่ยนแปลงคลายกับพีเอชคือ มีคาตํ่าสุดตอนเชา มืด เน่ืองจากการใชไปในการยอยสลายของสารอินทรียโดยจุลินทรียแ ละการหายใจส่ิงมีชวี ติ ในบอ หลงั จากแพลงกต อนพืชเริ่มมีการสังเคราะหแสง ปรมิ าณออกซเิ จนจะเพิ่มขึ้นสงู สดุ ในตอนบาย ความสามารถในการละลายของออกซิเจนในน้ําข้ึนอยูกับอุณหภูมิและความเค็ม น้ําที่มีความเค็ม และอุณหภูมิมีเพ่ิมข้ึนออกซิเจนละลายไดนอยลง เชนท่ีอุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส จุดอ่ิมตัวของออกซิเจน ในนํ้าจืดเทากับ 7.54 พีพีเอ็ม(มิลลิกรัมตอลิตร) แตเม่ือความเค็มเพ่ิมข้ึนเปน 35 พีพที ออกซิเจนจะอ่ิมตัวท่ี 6.22 พพี ีเอ็ม ปญ หาการขาดออกซิเจนในบอเลย้ี งกุง กุลาดาํ จะพบในบอเลี้ยงกุงที่ปลอยกุงไปในปรมิ าณมากหรือ มีกุงติดมากแตมีเคร่ืองใหอากาศไมเพียงพอโดยเฉพาะในชวงเดือนสุดทาย ในบอที่มีกุงหนาแนนเมื่อมีการให อาหารในปริมาณที่มากในแตละวัน เศษอาหารที่เหลือและของเสียที่กุงขับถายออกมามากนั้นจะมีการดึง ออกซเิ จนไปใชในการยอสลายสิง่ เหลา นี้ รวมท้ังการหายใจของแพลงกตอนท่ีหนาแนน และการหายใจของกุงที่มี ขนาดใหญข้ึนในบอ จะมีผลทําใหออกซิเจนในตอนเชาลดต่ําลงมามาก ถามีกุงในปริมาณมากและเครื่องให อากาศไมเพียงพอ กุงอาจจะลอยตามผิวน้ําต้ังแตตอนกลางคืนหลังเท่ียงคืนจนถึงตอนเชามืด เม่ือออกซิเจน ท่ีละลายในนํ้าอยูในชวง 1.7-2.0 พีพเี อ็ม ปรมิ าณออกซิเจนทส่ี ูงกวา ระดับนี้กุงจะไมล อย แตพบวา ถา ออกซิเจน ตํ่ากวา 3.0 พีพีเอ็ม กุงจะไมแข็งแรง การกินอาหารจะลดตํ่าลงกวาปกติ ในชวงที่กุงกําลังลอกคราบ ถาระดับ ออกซิเจนตา่ํ กุงอาจจะลอกคราบแลวตายได ดงั น้ันควรจะวัดคาออกซเิ จนอยางสม่ําเสมอเปนประจํา อยางนอย วันละคร้งั ในชวงเชา หรอื วันละหลายๆคร้ัง สาํ หรบั บอท่มี ีการเลี้ยงกุงอยา งหนาแนน เพอ่ื เปนขอมลู ในการเลี้ยง และเปน แนวทางในการเล้ยี งกุงในรุนตอๆไป การวดั คาออกซิเจนควรจะวดั ในปริมาณทีล่ ึกท่สี ุดของบอ หรอื กันบอ เนื่องจากกุง กุลาดาํ จะใชเ วลาสว นใหญท ่ีบริเวณพน้ื บอ

54 การเล้ยี งกงุ้ 54 ปริมาณออกซิเจนในนํ้าควรอยูระหวาง 4 พีพีเอ็ม ถึงจุดอ่ิมตัว การแกปญหาเรื่องการขาด ออกซิเจนในบอท่ีมีกุงอยางหนาแนนและกุงมีขนาดใหญ ตองมีเคร่ืองใหอากาศ และการเปล่ียนถายนํ้า อยางพอเพียง 5. สารประกอบไนโตรเจน(แอมโนเนยี และไนไตรท) แอมโมเนียและไนไตรท เปนสารประกอบไนโตรเจนท่ีเปนพิษตอกุงและสัตวนํ้าแหลงของ สารประกอบไนโตรเจนในน้ําสวนใหญมาจากสารอินทรีย ซ่ึงอาจเกิดจากขบวนการเนาสลายของเศษอาหารท่ี เหลือ แพลงกตอนที่ตาย เศษซากพืชสัตวและสารอินทรียอ ่ืนๆ โดยจุลินทรีย แลวปลอยแอมโมเนียออกมาสูนา้ํ นอกจากนี้กุงหรือสัตวน้ํายังปลอยของเสียในรูปแอมโมเนียเขาสูแหลงนํ้าโดยตรง เชนกัน ในสภาวะที่มี ออกซิเจนแบคทเี รียจําพวกไนตรไิ ฟอ้งิ แบคทีเรยี (nitrifying bacteria) จะเปลยี่ นแอมโมเนียไปเปน ไนไตรทและ ไนเตรทตามลาํ ดับ แอมโมเนียเปนสานประกอบไนโตรเจนท่ีเปนพิษตอกุงและสัตวนํ้า เชนเดียวกับไนไตรท แอมโมเนียท่ีพบอยูในนํ้าจะอยูในสองรูปแบบคือ แอมโมเนีย (NH4+) ซึ่งไมเปนพิษตอสัตวนํ้าและแอมโมเนีย อิออน (NH4+) ซึ่งไมเปนพิษตอสัตวนํ้า ในการวัดแอมโมเนียโดยท่ัวไปจะวัดรวมท้ังสองรูป แอโมเนียท้ังสอง รูปแบบน้ีจะเปล่ียนกลับไปกลับมาตามพีเอชของนํ้าและอุณหภูมิของนํ้า โดยเฉพาะพีเอชของนํ้าท่ีสูงขึ้น อตั ราสวนของแอมโมเนีย (NH3) จะสงู ขึ้น ทาํ ใหความเปน พิษตอสัตวน ้ํามมี ากข้นึ ทําใหความเปนพิษตอสัตวนํ้า ลดลง ตารางแสดงเปอรเซ็นตข องแอมโมเนยี (NH3) ทีพ่ ีเอช และ อณุ หภูมขิ องน้ําในระดับตา งๆกัน อุณหภูมิ พีเอช 18 20 22 24 26 28 30 32 7.0 0.34 0.40 0.46 0.52 0.60 0.70 0.81 0.95 7.2 0.54 0.63 0.72 0.82 0.95 1.10 1.27 1.51 7.4 0.86 0.99 1.14 1.30 1.50 1.73 2.00 2.36 7.6 1.35 1.56 1.79 2.05 2.35 2.72 3.13 3.69 7.8 2.12 2.45 2.80 3.21 3.68 4.24 4.88 5.72 8.0 3.32 3.83 4.37 4.99 5.71 6.55 7.52 8.77 8.2 5.16 5.94 6.76 7.68 8.75 10.00 11.40 13.22 8.4 7.94 9.09 10.30 11.65 13.20 14.98 16.96 19.46 8.6 12.03 13.68 15.40 17.28 19.42 21.83 24.45 27.68 8.8 17.82 20.08 22.38 24.88 27.64 30.68 33.90 37.76 9.0 25.57 28.47 31.37 34.42 37.71 41.23 44.84 49.02 9.2 35.25 38.69 42.01 45.41 48.96 52.65 56.30 60.38 9.4 46.32 50.00 53.45 56.86 60.33 63.79 67.12 70.72 9.6 55.77 61.31 64.54 67.63 70.67 73.63 76.39 79.29 9.8 68.43 71.53 74.25 75.81 79.25 81.57 83.68 85.85 10.0 77.46 79.92 82.05 84.00 85.82 87.52 89.05 90.58 10.2 84.48 86.32 87.87 89.27 90.56 91.75 92.80 93.84

การเลยี้ งกงุ้ 55 55 เมอ่ื แอมโมเนียในน้ํามปี ริมาณสูงขน้ึ จะมีผลใหก ารขบั ถา ยแอมโมเนยี ของกุงทาํ ไดนอยลงทาํ ใหเกิด การสะสมของแอมโมเนียในเลือดและเน้ือเยื่อ สงผลใหพีเอชของเลือดเพ่ิมข้ึนและมีผลตอการทํางานของ เอ็นไซม แอมโมเนียจะทําใหการใชออกซิเจนของเนื้อเย่ือสูงข้ึน แอมโมเนียจะไปทํา ลายเหงือกและ ความสามารถในการขนสง ออกซิเจน และทําใหกุงออนแอติดโรคไดงาย ระดับความเขมขนของแอมโมเนียที่ทาํ ใหสัตวนํ้าตายโดยปกติอยูในชวง 0.4-2.0 มิลลิกรัมตอลิตรในรูปของ NH3 ในการทดลองแบบพิษเฉียบพลัน ระหวาง 24-72 ชั่วโมง แตสําหรับกุงมีรายงานวา แอมโมเนียที่ความเขมขน 1.29 มิลลิกรัมตอลิตรในรูป NH3 จะทําใหกุงตายไดถ ึง 50 เปอรเ ซ็นตในระยะเวลา 48 ชั่วโมง ความเปนพิษของไนไตรทตอสัตวนํ้าเกิดจากการท่ีไนไตรทไปออกซิไดซเหล็ก ซ่ึงเปนองคประกอบ ฮีโมโกลบิน ทําใหกลายเปนเมทธีโมโกลบินซึ่งไมสามารถขนถายออกซิเจนได ทําใหเกิดการตายเนื่องจาก การขาดออกซิเจน และคาดวาขบวนการเชนเดียวกนั น้ีอาจเกิดกับฮีโมไชยานินของพวกกงุ ระดับความเปน พษิ ของไนไตรทจะเพม่ิ ข้นึ เมื่อคา ออกซิเจนทล่ี ะลายนา้ํ (DD) และคา พีเอชนํ้าลดลง นอกจากนี้ความเปนพิษของไนไตรทจะถูกยับยั้งโดยคลอไรดในนํ้า ดังน้ันในนํ้าทะเลซึ่งมีคลอไรดสูงความเปน พิษของไนไตรทต อ สตั วน ้ําจึงคอ นขางต่ํา เกษตรกรผูเ ลี้ยงกุง ทีใ่ ชน ํา้ ทะเลโดยตรงน้ันปญหาของความเปนพิษของ ความเปนพิษขอไนไตรทตอกุงจะนอย แตสําหรบเกษตรกรผูเล้ียงกุงในระบบความเค็มต่ําซ่ึงนํ้าในบอมีปริมาณ ของคลอไรดในน้ํานอย ปญหาความเปนพิษของไนไตรทในบอกุงจงึ เกิดไดงายกวา การใสเกลือหรือเติมเกลือลง ในนํา้ จึงมคี วามจาํ เปนอยา งมากหากพบวา คา ไนไตรทในบอ สูง การปอ งกนั หรอื แกป ญ หาเรอื่ งความเปนพษิ ของแอมโมเนยี และไนไตรทสูง โดยการควบคุมการให อาหารไมใหเหลือ การควบคมุ คาของพีเอชในบอ ใหอยรู ะหวาง 5-8 อีกทั้งมีการเปลีย่ นถายนาํ้ และการใหอ ากาศ ทพี่ อเพยี งปญหาความเปนพิษจากสารประกอบไนไตรเจนทงั้ สองตัวนจ้ี ะหมดไป 6. ไฮโดรเจนซัลไฟด(แกสไขเ นา) ในสภาพที่ขาดออกซิเจน แบคทีเรียบางชนิดจะสามารถใชกํามะถัน(ซัลเฟอร๗ในรูปซัลเฟต และ สารประกอบกํามะตัวอ่ืนๆ ท่ีอยูในรูปออกซิไดซและเปล่ียนสาร(ซัลเฟอร) ประกอบเหลานี้ใหอยูในรูปของ ซัลไฟด ซ่ึงจะอยูในสามรูปแบบคือ ไฮไดรเจนซัลไฟด (H2S) ,HS- ,HS= และ S= จะขึ้นอยูกับพีเอชของน้ํา นา้ํ ทม่ี พี ีเอชต่ําจะมีเปอรเซ็นตของ H2S สูง แตเมือ่ พีเอชสงู ข้ึน เปอรเ ซน็ ต H2S จะลดลง แตมี HS- และ S= มากข้ึน ความเปน พษิ ตอ สตั วนาํ้ ลดลงดวย ตารางแสดงเปอรเ ซน็ ตของไฮโดรเจนซัลไฟด (H2S) ท่พี เี อชตางกนั อณุ หภมู ิ 25 องศาเซลเซียส พเี อช เปอรเซ็นต 5.0 99.0 5.5 97.0 6.0 91.1 6.5 76.4 7.0 50.6 7.5 24.4 8.0 9.3 8.5 3.1 9.0 1.0

56 การเล้ียงกุ้ง 56 ความเปนพิษของไฮโดรเจนซัลไฟด จะมีลักษณะคลายคลึงกับการขาดออกซิเจน เน่ืองจากไปขัดขวาง ออกซิเจนภายในเซลลทําใหปริมาณแลกเตท(lactate) ในเลือดสูงข้ึน ความเปนพิษของไฮโดรเจนซัลไฟด จะรนุ แรงกวา การขาดออกซิเจน ระดับความเขมขนของไฮโดรเจนซัลไฟดสูงสุดท่ีไมเปนอันตรายตอกุงกุลาดําคือ 0.033 พีพีเอ็ม การเกิดไฮโดรเจนซัลไฟดในบอเล้ียงกุงกุลาดํา สวนใหญมาจากการใหอาหารมากเกินไป หรือแพลงกตอนพืช ตายเปนจํานวนมากแลวเกิดการเนาสลาย พื้นบอท่ีมีสีดําและมีกล่ินคลายไขเนา เปนลักษณะการเกิด ไฮโดรเจนซัลไฟด การแกปญหาทําไดโดยเพิ่มเคร่ืองใหอากาศ ดูดเลนหรือตะกอนสีดําที่เนาเสียพื้นบอออกไป (เก็บในบอเก็บเลน) และมีการถายน้ํามากขึ้นเพื่อระบายของเสียพ้ืนบอที่อาจจะฟุงกระจายในขณะท่ีดูดเลน เพ่ิมพีเอชของน้ําโดยเฉพาะในระดับพื้นบอโดยการใชวัสดุคือรักษาพื้นบอใหสะอาดและระดับออกซิเจนสูง ตลอดระยะเวลาในการเลี้ยงจะไมเ กิดปญหาเร่ืองกาชไขเ นา สนี ํ้ากับแพลงกต อนในบอกงุ สีของนํา้ ทีมองเห็นไดเ กดิ จากสารท่ีละลายไดในนํา้ สารแขวนลอยและอนิ ทรยี วัตถุที่ยอยสลายอยใู นนํา้ และแพลงกตอนชนิดตางๆ จะทําใหเ กดิ สขี องนํา้ ท่ีแตกตางกนั ออกไป การรักษาสีของนํา้ หรอื ควบคุมสีน้าํ ไดด ี คือสามารถควบคุมการเปลย่ี นแปลงตา งๆท่ีเกิดขึ้นในบอ ได ในการเลี้ยงกุงน้ัน สีน้ําในบอกุงสวนใหญคือสีของแพลงกตอนที่กระจายอยูในนํ้าซึ่งจะมีสีอะไรน้ัน ขึ้นกับชนิดและปริมาณของแพลงกตอนในบอนั้นเอง โดยสีนํ้าที่ดใี นการเลี้ยงกุงควรจะเปนสีท่ีเกิดขึ้นจากพลงก ตอนหลายๆชนดิ อยูร วมก็ไมใ ชเ กดิ จากแพลงกต อนชนิดใดหนง่ึ ชนดิ เดยี ว ประโยชนของสนี ้าํ 1. ทาํ ใหกุงสงบกนิ อาหารดีขึ้น สขี องน้ําลดความโปรงใสของนํ้าในบอ ทําใหแสงสอ งไปไมถงึ พนื้ บอกุง ทอี่ ยูตามพื้นบอจะเคล่ือนไหวนอยลดการกินกนั เอง กินอาหารดีข้นึ เจริญเติบโตดีกวา บอทนี่ ํา้ ใสซึง่ พบวา กุงวายนํ้า รอบบอเกือบตลอดเวลาเสียพลงั งานไปในการวายนา้ํ มากเกินไป การเจรญิ เตบิ โตชาการทนี่ ํ้าใสกงุ ตื่นตกใจจาก สิ่งตางๆมาก ซึง่ เปน การสิ้นเปลอื งพลงั งาน 2. ชวยคงสภาพของน้ําในบอ ในบอที่น้ําใสมีปริมาณแพลงกตอนนอย การปรับคาพีเอชของน้ํา และ คาอัลคาไลน ทําไดยาก จนกระท่ังเมื่อมีการเพ่ิมปริมาณแพลงกตอนพืชในระดับที่เหมาะสม ระดับพีเอชและ คาอัลาไลนของน้ําจะอยูในระดับท่ีดีข้ึนนอกจากนั้นแพลงกตอนยังชวยลอดปริมาณของแอมโมเนีย และสาร อืน่ ๆ ในนา้ํ ได 3. เพ่ิมปริมาณออกซเิ จนในนํา้ บอ ที่มแี พลงกตอนพืชมากหรือสีนํา้ เขม ในชว งเวลากลางวนั ทม่ี ีแสงแดด แพลงกตอนจะมีการสงั เคราะหแสงและผลติ ออกซิเจนออกมา ทําใหปริมาณออกซิเจนในนํ้าตอนกลางวันมีมาก ดงั นัน้ ในตอนกลางวนั ท่ีมแี สงแดด สามารถลดการเปด เคร่อื งใหอากาศแบบใบพัดไดค วรเปด เครื่องเคลา น้ําแทน 4. เพิ่มอาหารธรรมชาติและลดตนทุนการเลี้ยง ในระยะแรกๆ ท่ีเพ่ิงปลอยลูกกุง ถามีการเตรียมสีนํ้า ที่ดี จะมีปริมาณแพลงกตอนสัตวและพืชเปนจาํ นวนมาก สามารถเปนอาหารเสริมแกลูกกุงไดเปนอยา งดี ทําให กุงโตเร็วกวาบอที่น้ําใส จะเปนการลดตนทุนคาอาหารได อีกทั้งแพลงกตอนในบอหลายชนิดท่ีมีคุณสมบัติ เปน เสมือนสมุนไพรใหก บั กุง ไดเชนกนั ตวั อยา งเชนคลอเลลลา , สไปรูไลนา เปน ตน

การเลีย้ งกุ้ง 57 57 สีนาํ้ ในบอ บอกชนดิ แพลงกตอนไดค รา วๆอยางไร สนี ํ้าในบอกุง ชนิดแพลงกต อนในนํา้ น้ําตาลใส ไรโซโซลิเนีย (Rhizosolenia), นชิ เชยี (Nitzschia) นาํ้ ตาล ไรโซโซลิเนยี (Rhizosolenia), คอสซิโนติสคสั (Coscinodiscus) นํ้าตาลออ นจนถึงนํ้าตาลเขมปานกลาง กลมุ ไดโนแฟลกเจลเลต (Dimoflagellate) นา้ํ ตาลเขม เพอรดิ ิเนยี ม (Peridinlum), เชอราเดียม (Ceratium) นํ้าตาลเหลือง หรอื เขียวน้าํ ตาล จมิ โนดิเนียม (Gymnodinlum), นอกตลิ กู า (Noctiluca) นํ้าตาลเขียว ออสซิลาทอเรยี (Oscillatoria), คอสซิโนตสิ คัส (Coscinodicus) นํ้าตาลแดง ไดอะตอม (Diatom) กลุมพลูโรซิกมา (Pleurosigma) เขียวออ น เขียวเขม ไนโรชิกมา (Gyrosigma) เขียวเหลือง คโี ตเซอรอส(Chaetoceros), สเกลลีโตนมี า(Skeletonema) น้ําขุน ไดอะตอม, ไดโนเฟลกเจลเลต ไดอะตอม(Diatom), คลอเรลลา(Chlorella) ออสซิลาทอเรีย(Oscillatoria), ไมโครซิสทสี (Microcystis) อะนาบินา(Anabaena), โอโอซสี ทสี (Oocystis) ออสซิลาทอเรยี (Oscillatoria), นิชเซยี (Nitzschia) แพลงกตอนสัตว (Zooplankton) ตัวออ นโรติเฟอร(Rotifer) และโคพีพอด(Copepod) ชนิดของแพลกตอน แพลงกตอน(plankton) คือสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กท่ีอาศัยอยูในน้ํา และเคล่ือนไหวไปมาโดยลมและ กระแสน้ํา แตแพลงกต อนสตั วส ามารถเคล่ือนทไ่ี ดเองเลก็ นอ ย โดยเฉพาะการเคลือ่ นท่ใี นแนวดง่ิ แพลงกตอนพืชในบอ กุงมีหลายชนิด เชน สีเขยี วแกมนาํ้ เงิน สเี ขียว สีเหลอื ง ไดอะตอม ไดแ ก นิชเซยี (Nitzschia), คอนซิโนดิสคัส(Coscinodiscus) และคีโตเซอรอส(Chaetoceros) ไดโนแฟลกเจลเลต(Dinoflagellate) ไดแกเพอริดิเนียม (Peridinium), เซอราเตียม(Ceratium) จิมโนดเิ นยี ม(Gymnodinium), นอ กตลิ กู า(Noctiluca) เปน ตน สว นแพลงกต อนสัตว มจี าํ นวนหนาแนนมากทง้ั ชนิดและปริมาณท่ีพบบอยไดแกโ คพีพอด(Copeped) ตัวออ นหอย ลูกกงุ และเคย เปนตน แพลงก็ตอนท่ีพบบอยในบอกุง ของไทย ไมโครซีสทีส มีสีเขียวแกมน้ําเงินเซลลเดียวรูปรางกลมๆ มีขนาดเล็ก อยูรวมกันเปนกลุมแนนไมมี ระเบียบ มีวนุ ใสๆ หมุ รูปรางกลมไมแนน อน ภายในมี pseudovacuoles ออสซลิ าทอเรยี มสี ีเขียวแกมน้ําเงินซ่งึ มรี ปู รา งเปน เสน ลาย เสนมีผิวเรยี บ ไมมีรอยตอระหวา งเซลล อาจจะอยูเดีย่ วๆ หรือเปน กลุม อะนาบินา มีหลายสี อยูเด่ียวๆ เสนสายตรงหรือมวนเปนวงหรือปดเปนเกลียวในบางชนิด เชลลมี รูปรา งถงึ เบียร กลม หรอื รปู ส่เี หล่ียม โอโอซีสทีส มีสีเขียว ที่มีรูปวางหลายแบบ กลม เหลี่ยม หรือยาวรี สวนมากมีคลอโรพลาส 1 อัน จะ ปรับตัวใหล อยอยูในนาํ้ ได

58 การเลยี้ งก้งุ 58 คลอเรลลา มีสีเขียว รูปรางกลม บางชนดิ รูปรี มีคลอโรพลาส 1 อนั สืบพนั ธโุ ดยวิธีสราง autospore ไดอะตอม เปนแพลงกตอนกลุมที่มี ผนังหุม เซลลประกอบดวยธาตุซิลิกา เซลประกอบดวยฝา 2 ฝา ครอบซอนกัน การแยกชนิดนั้นเราจะใชลักษณะลายบนฝาเซลประกอบการแยก ไดอะตอมท่ีมักพบในบอกุง ไดแก คีโตเซอรอส สเกลีโตนีมา ทาลาสสิโอสิรา คลอสิโนดิสคัส โรโซโซลิเนีย นิชเซีย ไจโรซิกมา พลูโรซิกมา นาวคิ ลู า ไดโนแฟลกเจตเลต เปนสาหรายเซลลเดียว มักอยูเดี่ยวๆจะอยูรวมกลุมนอยมาก มีแฟลกเจลเลต (หนวด) 2 เสน หนวดทั้งสองเสนชวยในการเคล่ือนที่ บางชนิดไมมีผนังเซล เชน จิมโนติเนียม นอกติลูกา แต สวนใหญเซลลมีผนังหุม ผนังหุมเซลลแบงเปนช้ินเล็กๆ ซ่ึงจํานวนชิ้นของผนังหุมเซลน้ีจะไมเทากันแตกตางกัน ตามชนิด บนช้ินเล็กๆดังกลาวนี้จะมีลวดลายตางๆเชนเปนตาขาย หนามขนาดเล็ก หรือเปนแผนเยื่อบางๆ ลักษณะเชนนี้มักพบในพวกเซอราเตยี ม เพอรร ดิ เิ นียม อเล็กซานเตรียม ไดโนแฟลกเจลเลตเปนแพลงกตอนท่ี มีมากในเขตนาํ้ เค็ม แพลงก็ตอนสัตว โรตเิ ฟอร พบไดทั้งในนํ้าจืดและนาํ้ เค็ม ผิวนอกของโรติเฟอรคอนขางบางและยดื หยนุ ได แตบ าชนิดผิว นอกอาจแข็งคือมีลักษณะคลายเกราะหุม ดานบนสุดของลําตัว มีวงของขนบางซ่ึงทําหนาท่ีชวยในการกิน อาหารและเคลือ่ นที่ ปากมักอยูดา นบนสดุ ของลําตวั โคพีพอด โดยท่ัวไปลําตัวแบงออกเปน 3 สวนคือ หัว อก และทอง โดยโคพีพอดนั้นจะมีสวนหัวเช่ือม กับสวนอก ในสวนน้ีมีรยางค 5 คู สวนทองันแบงออกเปนปลอง ปลองแรกในตัวเมียพัฒนาเปนปลองที่ชวยใน การสบื พันธุ สวนปลอ งสดุ ทายจะมขี นแขง็ หลายเสน ไขอ งโคพพี อด เมือ่ ฟก ออกเปน ตัวจะวายนํา้ เปนอิสระ การ เจริญเติบโตทุกระยะโดยวิธีลอกคราบ หลังการลอกคราบทุกครั้ง ขนาดลําตัวและจํานวนรยางคจะเพิ่มข้ึนจน เจรญิ เปน ตวั เต็มวยั นอรเ พลยี สของกงุ และปตู างๆในนํ้า คอื ตวั ออนของสตั วในกลมุ ครัสเตซยี น รูท ันสนี ํ้าในบอกุง เนื่องจากสีน้ําท่ีแตกตางกันจะประกอบดวย ชนิดของแพลงกตอนท่ีแตกตางกัน ซ่ึงมีสาเหตุมาจาก ปจจยั หลายอยาง จะเห็นไดว า ในฟารมเดียวกัน บอ ท่ีอยตู ิดๆกันมกี ารใหอาหาร การจดั การถายนํา้ ทีเ่ หมือนๆกัน แตส นี ํา้ ยังแตกตางกนั ได โดยท่วั ๆ ไปแลวการจดั การสนี ํา้ หรือควบคมุ ไมใหสนี าํ้ มีการเปล่ียนแปลงมาก จะขึ้นอยู กับความเค็มของน้ํา ฤดูกาลและระบบการเลี้ยงกุงเปนสําคัญ ในชวงที่ความเค็มต่ําและเปนชวงฤดูฝน การ ควบคุมสีนํ้าทําไดงายกวาฤดูรอน ซึ่งสีน้ํามักจะเขมมากเกินไป นอกจากนั้นสีนํ้าที่แตกตางกันจําเปนตองมีการ จัดการทีแ่ ตกตางกนั ดวย สีนํ้าที่งายตอการควบคุมและการจัดการคือสีเขียวออนหรือกลุมสีนํ้าท่ีมีสีเขียว เปนหลักซ่ึงอาจจะมีสี อ่ืนๆผสมดวย สีนํ้าชนิดน้ีจะมีการเปลี่ยนแปลงนอย ถามีการถายนํ้านอยสีนํ้าจะเขมขนเรื่อยๆแตยังคงเปนสี เขียว ถาการถายน้ํายังไมพียงพอ นานไปเรื่อยๆ สีน้ําจะเปนสีเขียวคลํ้าปนนํ้าตาล หลังจากน้ันจึงจะเปนสี น้ําตาล ถามีการเปล่ียนถายนํ้าในบางชวงพอเพียงสนี ้ําจะอยูในระดับท่ีพอเหมาะ ความโปรงใสของสีน้ําที่เปน สี เขียวที่เหมาะสมแกการเล้ียงกุงกุลาดําอยูระหวาง 35-45 ซม. แตในชวงท่ีมีการถายนํ้านอยหรือในระยะท่ีกุงมี ขนาดโต ซึ่งเปนชวงสุดทายของการเล้ียงกุงสีน้ําอาจจะเขมข้ึนมากก็ไมมีปญหา แตระวังอยาใหน้ําเขมจนหนืด

การเลี้ยงกุ้ง 59 59 อาจจะทําใหเหงือกกุงสีเขมขึ้น การกิอาหารจะลดลง และเกิดการติดเช้ือโรคในเวลาตอมาได โดยเฉพาะในชวง การเลยี้ งกุง ท่ีอุณหภูมิของนา้ํ และความเค็มมีการเพ่ิมขึน้ เรื่อยๆ แตป ริมาณการถายเปลีย่ นนํ้ามจี ํากัดเทาเดมิ สีน้ําในกลุมสีน้ําตาล ในระยะแรกของการเล้ียงกุงจะมีการเจริญเติบโตดี ความโปรงใสที่เหมาะสม สําหรับสีน้ําในกลุมสีนํ้าตาลอยูระหวาง 40-50 เซนติเมตร สีนํ้าในกลุมนี้จะไมเปล่ียนเปนสีเขียวแตมีแนวโนม ที่จะเขมข้ึนเร่ือยๆ ถาปริมาณการถายน้ํามีจํากัด เวลาของการเล้ียงเม่ือเปรียบเทียบกับกลุมสีเขียวแลวจะโต ชากวา การควบคุมสีนํ้าในกลุมสีนํ้าตาล ทําไดยากกวา เนื่องจากตองใชนํ้าในปริมาณที่มากกวา เพราะแพลงก ตอนในกลุมน้ีเพิ่มจํานวนเร็วมาก หากแพลงกตอนกลุมนี้ตายจะมีฟองหรือคราบของแพลงกตอนที่ตายปกคลุม บริเวณผิวนํ้าเปนปริมาณกวาง ปญหาเหงือกกุงสีน้ําตาลหรือสีดํามีมากและแกไขไดยากโดยเฉพาะในชวง ที่อากาศรอนและความเค็มของน้าํ สงู การใชสารเคมบี างอยางเพ่ือลดปริมาณแพลงกต อนกอนจะเกิดสภาพที่น้ํา เขมเกินไปจึงเปนวิธีท่ีนิยมใชในปจจุบัน แตในชวงที่เกิดปญหาแลวนั้นหากใชสารเคมีบางชนิดเพ่ือลดปริมาณ แพลงกตอนผลท่ีไดไมแนนอน เพราะสภาพของกุงในแตละบอแข็งแรงไมเทากัน ถากุงอยูในสภาพออนแอ อยูแลว อาจจะตายได การแกไขในระยะยาวจะตองมีการวางแผนท่ีดีในฟารมท่ีมีสีน้ําเปนสีน้ําตาลมาก ตองมีแหลงนํ้าและ อุปกรณเ พือ่ ตรยี มถายหรอื ลดความเคม็ ของนา้ํ ในบอท่เี พียงพอ

60 การเลี้ยงกุ้ง 60 บทปฏิบตั กิ ารท่ี 5 เรื่องคุณภาพน้ํา นํ้าใชในการเล้ียงกุงซึ่งจําเปนตองใชที่เก็บจากธรรมชาติ เมื่อผูเลี้ยงนําเขามาใชในบอเลี้ยงกุงท่ีมีการ ปลอ ยอยา งหนาแนน จําเปน อยางย่งิ ทต่ี อ งมีวัดคณุ ภาพน้าํ ตา งๆ ใหเหมาะสมใกลเคยี งกับธรรมชาติมากท่ีสดุ วัตถุประสงค 1. เพ่ือใหศ กึ ษาความสมั พนั ธข องคุณภาพน้ําท่ีสาํ คัญตอการเล้ยี งกุง 2. เพอ่ื ใหจ ัดการวางแผนการควบคมุ คณุ ภาพนาํ้ ในท่ีจาํ กดั 3. เพื่อใหร ูจกั เครื่องมือ และวธิ ีการใชในการวัดคุณภาพนํา้ อุปกรณ 1. เครื่องวดั ความเค็ม (Salinameter) 2. เคร่ืองวัดอณุ หภมู ิ (Thermometer) 3. เคร่อื งวดั พเี อส (pH meter) 4. นํ้ายาวัดอลั คาไลน (Alkalinity) 5. นํ้ายาวัดพีเอส 6. นํา้ ยาวดั แอมโมเนีย 7. เครอื่ งมอื วัดคา ออกซิเจน (DOmeter) 8. กระดาษกราฟ 9. แผน Sechi disk วธิ ีการ 1. แบงนักเรยี นออกเปนกลมุ ๆละ 2 คน ปฏิบตั ิการวดั คุณภาพนํา้ ภายในบอ เล้ียงกุง 2. นกั เรียนแตล ะกลุมจดบันทึกขอที่ไดจากการปฏิบตั ิ 3. นกั เรยี นรว มกันบนั ทกึ ขอ มูลลงในกระดาษกราฟ 4. นกั เรยี นแตละคนอธบิ ายความสัมพันธของคุณภาพนํ้าทไ่ี ดจากกระดาษกราฟ แบบรายงานการจดบนั ทึกการวัดคณุ ภาพนํา้ ว/ด/ป คณุ ภาพนา้ํ เชา บาย ผูจดบันทึก หมายเหตุ PH DO Temperqture Alkalinity Salinity Ammonia Sechi disk หมายเหตุ จะทําเปน กลมุ หรอื รวมบคุ คลตามความเหมาะสม กระดาษกราฟบนั ทกึ ขอมลู รวม

การเลี้ยงก้งุ 61 61 คาํ ถามทา ยบท 1. จงบอกคา PH และอัลคาไลน 2. จงบอกวธิ ีการวดั คา pH และอัลคา ไลน 3. อธบิ ายความสัมพนั ธของคุณภาพนาํ้ ที่ไดจากการปฏบิ ตั ิ 4. ปจจยั ที่เก่ยี วพนั กับความเขมของสีนา้ํ มีอะไรบา ง

62 บทท่ี 6 โรคและบกทาทรี่ ป6อ้ งกันรกั ษา โรคและการปอ งกันรักษา กุงปวยท่ีมีการติดเช้ือแบคทีเรียมักจะพบตลอดระยะเวลาของการเล้ียง ตั้งแตโรคตายเดือน ซึ่งอาจจะ ไมมีการอาการผิดปกติภายนอกเดนชัด จนถึงกุงตัวสีแดง หรือกุงปวยท่ีมีสีเขมกวาปกตินอกจากน้ันการติดเช้ือ แบคทีเรียที่พบบอยๆ ในชวงของการเล้ียงเดือนทายๆ กุงที่ปวยดวยการติดเช้ือแบคทีเรีย โดยเฉพาะในกลุม วิบริโอ (Vibrio) ซึ่งมีดวยกันหลายชนิด (species) อาการของกุงท่ีปวยท่ีข้ึนมาอยูตามขอบบอ หรือลอยตามผวิ น้ํามีตั้งแตกุงตัวสกปรก มีตะกอนตามผิวตัวกุงตัวสีสม จับดูตัวหลวมตามลําตัวสกปรก หางมันจะกรอน บาง ลักษณะจะพบวาตามลําตัวจะมีจุดสีดําขนาดเล็ก บริเวณแผนปดเหงือกจะบวม หรือตามเปลือกจะมีจุดขาวๆ ท่ัวไป ลักษณะของกุงปวยที่กลาวไปแลวนั้น เม่ือนํามาเขี่ยเช้ือจากตับและตับออน หรือจากนํ้าเลือด จะมีเชื้อ แบคทีเรยี เปนจาํ นวนมาก ตับและตับออนมกั จะมีขนาดเลก็ ลงกวาปกติ กุงท่ีมีการติดเช้ือแบคทีเรียในลักษณะท่ีกลาวมาแลวทั้งหมด ไมสามารถท่ีจะทําการรักษาโดยใชยา ปฏิชีวนะได เนอื่ งจากกุง ในลกั ษณะอาการเหลาน้ีมีการปวยมาเปน เวลานาน จนถึงระยะที่กุงไมกนิ อาหาร ดังนัน้ การรักษาจะไมไดผล แตการใชยาปฏิชีวนะจะชวยรักษากุงท่ีเพิ่มเร่ิมปวยหรือกุงท่ีมีการติดเชื้อในระยะแรกแต ยังกินอาหาร การรักษาโดยใชยาปฏิชีวนะจะตองควบคูไปกับการจัดการในบอดวยจึงจะไดผล กอนการรักษ า เม่ือมกี ุงในลักษณะทกี่ ลาวมาน้ีขนึ้ มาเกาะหรือตายตามขอบบอ ควรจะเร่ิมบงไปตรวจเช็คดูบริเวณรอบๆ เคร่ือง ตีนํ้า ประตูระบายนํ้าทิ้ง หรือบริเวณทอระบาย ของเสียจากกลางบอถาตรวจพบมีกุงตายมาก และการกิน อาหารลอดบงมกเชนกัน ควรจะรีบจับเพราะลักษณเชนน้ีแสดงวามีกุงกําลังปวยมาก การรักษาโดยใชยาจะไม ไดผ ลเพราะกุงสวนใหญจ ะไมก ินอาหาร การตายของกุงปว ยจะเพ่มิ ปริมาณเชื้อ และการเนา เสียของพนื้ บอ การ ตัดสินใจจับกงุ ชาจะทาํ ความเสียหายไดม าก ในกรณกี ุงยังไมลดมาก กงุ ท่ีสมุ ดจู ากการทอดแหยังแขง็ แรงและกิน อาหารเปนปกติเปนสวนใหญ การแกไขโดยการเปลี่ยนถายนํ้าหรือการจัดการอื่นๆ มักจะไดผล ถาเปนกุงที่มี ขนาดใหญพรอมท่ีจะขายไดแลวควรจะแกไขดวยการจัดการและการเปลี่ยนถายน้ําก็พอเพียง เพราะถาอาการ ไมด ขี ึ้นสามารถจบั กงุ ขายไดท ุกเวลา การใชยาจะตองรอเวลางดยานานพอสมควร ดังนน้ั ผูเล้ียงควรจะพิจารณา ใหดีกอนการตัดสินใจสวนกุงที่มีขนาดยังไมโตมาก เชนระหวาง 5-10 กรัม ผูเล้ียงมักจะพยายามรักษาจนถึง ที่สดุ เพราะกุง ขนาดนีร้ าคาไมสูง การจบั กงุ ขนาดน้ีในฟารม ใหญ หรือในรูปของบรษิ ัทจะไมมีกําไรเลย นอกจาก ผลผลติ จะสูงมาก และราคากงุ สงู ดว ย การเลือกใหยาตานจุลชีพหรือยาปฏิชีวนะ ควรหาขอมูลในพ้ืนท่ีน้ันวาใชยาอะไรไดผลดีเพราะยาที่ใช กนั มาเปนเวลานานหลายปอาจจะไมไดผลแลในเขตน้นั หองปฏบิ ตั ิการท่ีมีการบริการทางวิชาการในแตละพื้นท่ี จะชวยทดสอบความไวของเชื้อแบคทีเรียตอยาชนิดตางๆ และบอกไดวาควรจะใชอะไรในขณะนั้น การใชยา ปฏิชีวนะจะตองใชใหครบโดสถูกตองตามฉลาก อยาใชเกินหรือนอยกวา นอกจากจะไมไดผลแลวอาจจะทําให แบคทีเรียดื้อยาได และตองอยาลืมวาการรักษาจะไดผลดีตองมีการจัดการเร่ืองคุณภาพนํ้าและพ้ืนบอใหดีดวย พรอ มๆ กนั โรคตายเดือน มักจะพบกับกุงอายุ 25-30 วัน หลังจากปลอยกุงลงในบอเล้ียงที่มีน้ําใส หรือมีสาหรายขึ้นบอมาก จน ในท่ีสุดเกินเปนข้ีแดด ทําใหพ้ืนบอเนาเสีย กุงเริ่มออนแอและกินอาหารนอย ในที่สุดกุงในบอเร่ิมมีอาการตาย เกิดขนึ้ ซง่ึ เมอื่ นํามาตรวจดู มกั จะพบแบคทีเรียในตบั และตับออน อาจจะพบซโู อแทมเนียมบนลาํ ตัว หรืออาจะ มีไวรสั เอ็มบีวีในตบั และตบั ออ นดวย

การเลย้ี งกุ้ง 63 63 การปองกัน ควบคมุ พ้นื บอใหส ะอาดและรักษาสีนํ้าอยาใหใสนานจนเกิดข้แี ดดกงุ จะไมเ ปนโรคนี้ การแกไ ข ใหกินยาปฏชิ ีวนะ รว มกบั การจดั การพ้นื บอ และสนี ํ้าใหดีขึน้ ดวย โรคตัวหลวม มักจะพบกับกุงอายุประมาณ 80 วัน ถึงจับขาย ผูเล้ียงกุงมักจะเรียกวา กุงกอบแกบ เนื่องจากกุงไมกินอาหาร หรือกินอาหารลดลงมากติดตอกันหลายวัน จนตัวหลวมไมแนน สาเหตุมาจากสภาพ ในบอไมดีพบมากในการเลี้ยงกุงระบบปดหรือถายนํ้านอยในชวงที่มีอากาศเปลี่ยนแปลงเชน ฝนตกหนัก ติดตอกันนานๆ หรือฟาปดติดตอกัน หลายวันกุงจะเขาไปหมกเลนกลางบอท่ีมีอุณหภมู ิสงู กวา ที่อ่ืนๆ ถาพื้นบอ บริเวณน้ันสกปรก มีออกซิเจนต่ํา กุงก็จะออนแอและติดเช้ือแบคทีเรียในเวลาตอมา ทําใหการกินอาหารลดลง การรักษามักจะไมค อยไดผล เพราะกงุ อาจจะอยูในระยะทต่ี ดิ เชือ้ มากเกนิ ไป อาการท่ีพบ คือกุงตัวหลวมไมแนนตับและตับออนจะมีขนาดเล็กกวากุงท่ีแข็งแรง ตามลําตัวอาจจะมี ตะกอนหรอื สงิ่ ตางๆเกาะบาง การปองกัน จัดการพ้ืนบอใหสะอาด โดยเฉพาะปริมาณออกซิเจนจะตองอยูในระดับที่สูงตลอดเวลา เพ่ือการยอยสลายพื้นบอของจุลินทรีย และเมื่อกุงเขามาหมกเลนกลางบอนานๆ จะไมติดเชื้อแบคทีเรีย เพราะ บริเวณน้ันไมเนาเสีย ในชวงที่อากาศผิดปกติ ควรใหกินยาดานจุลชีพหรือยาปฏิชีวนะปองกันการติดเชื้อ แบคทีเรยี (ยกเวนกงุ ไดขนาดขายไดแลว หา มใชโ ดยเด็ดขาด) อาการอื่นๆ ทพี่ บไดบ อ ยๆของโรคติดเช้อื แบคทีเรีย สําหรบั การตดิ เชื้อแบคทีเรยี แตไ มร ุนแรงในลักษณะกุงเร่มิ ออนแอ เพระสภาพในบอ ไมเหมาะสมเชนมี สาหรา ยขึน้ ตามพนื้ บอมาก หรือนํ้ามีสาหรา ยหนแนน เม่ือกุงออ นแอสาหรายก็เกาะตามตวั กุงได เชน เดียวกบั กุง ที่เล้ียงในนํ้าความเค็มสูงๆ เมื่อสภาพในบอไมเหมาะสม กุงออนแอจะติดเช้ือแบคทีเรียชนิดที่ทําใหกุงตาย อยางรวดเร็ว ตอมาเพรียงก็อาจจะเกาะตามลําตัวได ถากุงเหลานี้ยังลอกคราบไดก็สามารถฟนกลับมาเปน ปกติ แตถา พบกงุ เหลานี้ตามขอบบอ ซ่ึงอยูใ นสภาพทีอ่ อ นแอมาก ไมส ามารถลอกคราบไดจะตายในท่สี ดุ สําหรับระยะเวลาในการงดยากอนจับกุงขายน้ันตามปกติ อยางนอย 14 วัน ถามีการใหยาติดตอกัน นาน 5-7 วัน ในระดับที่แนะนํา ในกรณีท่ีมีกุงตายและรีบใหยาปฏิชีวนะเพียง 1 ม้ือ แลวตัดสินใจจะจับกุง จากการตรวจปรมิ าณยาในตัวกุง พบวา ตองใชเวลานาน 3 วัน ยาจึงจะถูกขับออกไปหมด โรคติดเช้ือแบคทเี รยี เรืองแสง โรคเรืองแสงในกุงกุลาดําเกิดจากเช้ือ วิบริโอ ฮาวีอาย (Vibrio harveyl) ซ่ึงเปนแบคทีเรียแกรมลบมี ลักษณะรปู รา งเปน ทอ นสั้นๆสามารถเคลือ่ นท่ีไดดว ยหนวด ตอ งการสานอนิ ทรียเปนแหลง คารบ อนและพลังงาน เติบโตไดทั้งในสภาวะมีออกซิเจนและไมมีออกซิเจน เชื้อนี้สามารถใหแสงสีเขียวแกรมเหลืองออกมา โดยปฏกิ ริ ิยาทางเคมีท่เี กิดจากเอ็นไซม ลูซิเฟอรเ รส(Luciferase) ซ่ึงทําใหเรืองแสงไดในที่มืดน่ันเอง เชือ้ วิบริโอ ฮาวีอาย จะเพิ่มจํานวนตัวอยางรวดเร็วในนํ้าที่มีความเค็มระหวาง 10-40 พีพีที ที่อุณหภูมินํ้าสูงประมาณ 25-35 องศาเซลเซียส และคาพีเอชน้าํ ที่เชือ้ น้เี จริญเติบโตดีคือ 7-9 ปญหาการเกิดโรคเรืองแสงของกุงในบอเล้ียงพบไดตั้งแตปลอยลูกกุงในบอ 2 สัปดาหจนถึงกุง ใหญขึน้ กับการจดั การบอและสภาพของพนื้ บอ แตท ี่พบมากกงุ มีอายปุ ระมาณ 30-60 วนั ลักษณะอาการ กุงปวยจะข้ึนมาเกยตามขอบบอหรือหรือวายอยูที่ผิวนาํ้ ซ่ึงกุงปวยเหลา นี้จะเห็นการเรืองแสงที่สวนหวั ไดอยางชัดเจนในเวลากลางคืน เม่ือนํากุงปวยมาตรวจสอบโดยนําสวนของตับและตับออน หรือนําเลือดกุง

64 การเลีย้ งกงุ้ 64 มาสองดวยกลองจุลทรรศนจะพบแบคทีเรียทอนสั้นเคล่ือนที่ไดเปนจํานวนมาก และเมื่อทําการเพาะเชื้อ ในอาหารเลี้ยงเชื้อทีซีบีเอส (TCBS agar) จะไดโคโลนีของเชื้อแบคทีเรียเปนชนิดสีเขียว เม่ือตรวจสอบทาง เน้ือเยื่อในกุงปวยพบวาสวนตับและตับออนนั้นถูกทําลายอยางรุนแรงทําใหการยอยอาหาร ไมเปนปกติและ อาหารท่สี ะสมไวในตบั ก็จะนอยลง กงุ เริม่ ออนแอและตายในทีส่ ุด นอกจากพบวา ตบั และตับออนถูกทําลายแลว พบวา ลําไสเกิดเชลลต ายและมอี าการอบั เสบอยา งชัดเจนเชน กัน การปองกัน ในชวงท่ีมีการระบาดของโรคเรืองแสงเชนในหนารอ น ผูเล้ียงกุงควรหานาํ้ ที่มีความเค็มตํ่า หรือนํ้าจืดมาเติมในบอใหปรับความเค็มน้ําในบอเหลือประมาณ 5-7 พีพีที ปญหาของโรคเรืองแสงจะนอยลง มาก ยังพบวาหากปลอยใหปริมาณแบคทีเรียรวมในน้ําอยูในระดับสูง 104 (10,000) เซลล/มิลลิลิตร เปนเวลา ติดตอกันนาน 10 วันข้ึนไป กุงในบอจะเร่ิมมีปญหาเกิดข้ึนจึงควรนําน้ําไปตรวจหาปริมาณเชื้อในน้ําอยูเสมอ เมอ่ื พบวา ในนํา้ มีเชอื้ มากก็ควรลดปรมิ าณเชอ้ื ในบอและใหกุงกินยาปองกัน นอกจากนีแ้ บคทีเรียเรืองแสงกลุมนี้ ตองการคารบอน (C) และไนโตรเจน (N) เพื่อการเจริญเติบโตดงั นั้นหากตองการลดปริมาณแบคทีเรียเรืองแสง ในบอ นอกจากการลดความเค็มแลว วิธีงายและไดผลที่สุดคือการลดปริมาณคารบอนและไนโตรเจนที่ละลาย อยใู นน้ําลง ซึง่ นั่นกห็ มายถงึ การควบคมุ ปริมาณอาหารใหอยูในระดบั ที่กงุ กนิ ไดห มดพอดนี น่ั เอง นอกจากนี้เกษตรกรผูเล้ียงกุงควรอานเทคนคิ การปองกันการเกิดโรคเรืองแสงในบอของ น.สพ.สรุ ศักดิ์ ดลิ กเกียรติ ซงึ่ ไดใหข อมลู การปอ งกันโรคดังกลา วทีเ่ กดิ ประโยชนม าก เรืองแสงจะกลับขึ้นมาใหม การใหกุงกินยาปฏิชีวนะเพ่ือปองกันการติดเชื้อในระยะท่ีมีการแพรระบาดของโรค จะตองขึ้นอยูกับความรุนแรงของโรค สําหรับบอที่ใหกุงกินแบคทีเรียที่เปนชนิดโปรไบโอติกถาจะใชยาตองงด การใหก ินโปรไบโอตกิ หามใหกินพรอมกนั การปองกันโรคเรืองแสงตามท่ี น.สพ.สุรศักดิ์ ดิลกเกียรติ ไดเคยบรรยายไวก็เปนส่ิงท่ีควรทําเชนกัน กลาวคือหากเกษตรกรตองการจะปองกันโรคเรืองแสงในบอกุงของตนเอง สามารถทําไดโดยยอมเสียกุงวันละ หนึง่ หรือสองตวั ในยอ ทําใหก งุ นน้ั ตายแลวนาํ มาใสภ าชนะเปด ที่สามารถสัมผัสกบั อากาศ เชนจานหรือถวย เปน ตนท้ิงไวในท่ีรมอุณหภูมิปกติประมาณ 5-6 ชั่วโมง แลวนํากุงตัวอยางน้ันเขาไปในหองที่มีแสงนอยหรือมีดเชน หองนํ้า หากกุงท่ีเก็บมาเกิดการเรืองแสงก็แสดงวากุงในบอเราเร่ิมจะติดเช้ือเรืองแสง ใหรีบแกปญหาทันที กอนท่ีกุงในบอสวนใหญจะเปนโรคเรืองแสงท้ังหมดซ่ึงการทดสอบโรคเรืองแสงโดยวิธีของ น.สพ.สุรศักดิ์ นั้นดี ใชไดแตควรเก็บกุงต้ังแตชวงบาย เพราะเช้ือเรืองแสงจะใชเวลานานในการเรืองแสง และเพ่ือใหทันการ เกษตรกรควรเก็บกุงตัวอยางในเวลากลางวันเชนตอนเช็คยออาหารชวงบายเพื่อที่วาเม่ือตอน 5-6 ชั่วโมง ผาน ไปแลวนาํ กุงไปสอ งในหองมืดหากกุงเรืองแสงจะไดทันใหย ากุงในม้ือกลางคนื ไดนั่นเอง การตรวจหาเชอื้ แบคทีเรยี ในกุงใหญ เทคนิคที่ใชในการศึกษาทางดานแบคทีเรีย โดยท่ัวไปสามารถนํามาใชในการตรวจหาแบคทีเรียที่ ทาํ ใหเ กิดโรคกับกุงได ในท่นี จ้ี ะขอแนะนําการหาเชื้อแบคทเี รียในกงุ แบบงายๆ และสะดวกคอื 1. ดูจากลักษณะอาการ และสไลดจากตัวอยางสด วิธีนี้สามารถบอกไดคราวๆวาอาการท่ีเกิดขึ้น นาจะเกิดเนอื่ งจากแบคทีเรีย เชน อาการตัวแดง หางบวมนาํ้ เสย้ี นดาํ ตบั ฝอ เรืองแสง มีน้ําขังบรเิ วณผวิ เปลือก ของเหงอื ก แผนปดเหงือกบวม 2. ดูจากการทํา imprint (นําชิ้นสวนหรืออวัยวะที่สงสัยนั้นไปแตะกับสไลดที่สะอาดแลวนําไปยอมแก รม) วิธีนี้สามารถบอกลักษณะของเชื้อแบคทีเรียวามีรูปรางเปนอยางไร ติดสีแกรมลบหรือบวก และมีการติด เชอ้ื แบคทเี รียในอวยั วะสว นไหนของตวั กุงบา ง

การเลีย้ งกุ้ง 65 65 3. ดูจากการเพาะหรือเล้ียงเช้ือแบคทีเรียบนอาหารเล้ียงเชื้อ อาหารเลี้ยงเช้ือบางชนิดจะมี ความจาํ เพาะกบั เช้อื แบคทีเรีย เชน อาหารเล้ียงเชื้อ TCBS จะพบวา มีแบคทเี รยี ในกลุมวิบริโอเจริญไดด ีเปนตน อุปกรณ 1. ตวั อยางกุงกุลาดาํ 2. อาหารเลีย้ งเชอื้ TCBS, NA+เกลือ 1.5%, TSA+เกลอื 1.5% 3. สไลด 4. สยี อ มแกรม 5. กลองจุลทรรศน วธิ ีการ 1. นํากุงกุลาดําติดเช้ือแบคทีเรีย นํามาตัดสวนของเหงือกวางบนสไลด สองดูวยกลองจุลทรรศน กําลงั ขยาย 400X 2. ทํา Imprint โดยการตัดสวนของตอมน้ําเหลือง หรือหัวใจ หรือตับและตับออน ตัดเปนชิ้นเล็กๆ แลวมาแตะเบาๆ บนสไลดท้ิงใหแหงแลวนํามาผานเปลวไฟ และยอมดวยสียอแกรมกลาวคือนําเช้ือที่ตองการ เขีย่ ลงบนน้าํ บนสไลดรอใหแหง แลวนาํ ไปผานเปลวไฟ 2-3 คร้งั , หยดสคี รสี ตัลไวโอเลต (Crystal vlolet) ลงให ทวมแผนกระจกเปนเวลา 1 นาที, ลางออกดวยนํ้าสะอาด, หยดไอโอดิน ใหทวมแผนกระจกเปนเวลา 1 นาที, ลางออกดวยนํ้าสะอาด, หยดดีโคโลไรเซอร (Decolorizer) ใหทวมแผนกระจกเปนเวลา 15 วินาที, ลางออก ดวยนํ้าสะอาด, หยดสีซาฟรานิน (Safranin) ใหทวมกระจกเปนเวลา 30 วินาที, ลางออกดวยน้ําสะอาด, เช็ค เบาๆดวยกระดาษหรือผานุม , ดูดว ยกลอ งจุลทรรศน ***หมายเหตุ แบคทีเรียแกรมลบจะติดสีแดง สว นแบคทเี รียแกรมบวกจะตดิ สนี ํ้าเงนิ 3. เขี่ยเช้ือบนอาหารเลี้ยงเชื้อ โดยการใชลูปเผาไฟใหรอนท้ิงใหเย็น แลวนํามาแตะสวนของตอม นํา้ เหลอื งหรือตบั ออ นหรือกลา มเนื้อ แลวนาํ ไปปา ยบนอาหารเลยี้ งเชอ้ื ทเี่ ตรียมไว นาํ ไปบมท่ี 35 องศาเซลเซียส เปนเวลานาน 18-24 ชว่ั โมง หรือบางรายอาจจะทําการเพาะเช้อื จากเลือดกุงเพราะกุงที่ปวยดวยภาวะติดเช้อื แบคทีเรยี เราสามารถ พบเช้ือแบคทีเรียไดในกระแสเลือด แตกุงที่เปนปกติมีสุขภาพดีจะไมสามารถพบเชื้อแบคทีเรียในกระแสเลือด เลย ตาํ แหนง ทน่ี ิยมเจาะเลอื ดกงุ คอื หัวใจ แอง เลือดใตท อง (ventral sinus) ผลการตรวจสอบ 1. จากสไลดถาเปนแบคทีเรียในกลุมวิบริโอ จะเห็นเปนรูปแทงยาวเคลื่อนที่ไดจากกําลังขยาย 400-1,000 เทา ถาเปนพวกฟลาเมนทัส แบคทีเรีย (filamentous bacteria) สวนใหญจะพบบริเวณเหงือก และระยางคของตวั กงุ 2. จากการทํา imprint ถามีการติดเชื้อแบคทีเรียจะพบเซลลแบคทีเรียติดสีแดง (วิบริโอทุกตัวจะเปน แกรมลบ) และตรวจสอบไดวาอวยั วะสว นไหนของตัวกงุ มกี ารติดเชือ้ แบคทีเรียบา ง 3. แบคทีเรียเลี้ยงบนอาหารเลี้ยงเช้ือ จะพบมีการเจริญเติบโตเปนโคโลนีบนอาหารเลี้ยงเชื้อใหสังเกต ลักษณะสีของโคโลนบี นอาหารเลีย้ งเชอื้ TCBS และนาํ มายอ มแกรมดอู ีกครงั้ โรคไวรัสหัวเหลอื ง ไวรสั หวั เหลือง (Yellow-head Virus = YHV) โรคหัวเหลือง ทําความเสียหายแกผูเล้ียงกุงกุลาดําต้ังแตป 2533 ในเขตพื้นที่สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบรุ ี ประจวบคีรีขันธ ชลบรุ ี ระยองและในป 2534 ทําความเสยี หายอยางรุนแรงในจังหวัด ฉะเชิงเทรา จนั ทบุรี ตราด และบางจงั หวัดในเขตภาคใต จนกระทัง่ ป 2536 ทกุ จังหวัดทม่ี ีการเล้ียงกุงกลุ าดําใน ขณะน้ันมีรายงานการเกิดโรคหัวเหลือง โรคชนิดน้ีเรียกตามลักษณะของกุงท่ีปวยซ่ึงมักจะอยูตามริมขอบบอ

66 การเลย้ี งกุ้ง 66 ลาํ ตวั กงุ มีสีซีด มองเหน็ สวนหัวมสี ีเหลือง เน่อื งจากตบั และตับออน (hepatopancreas) มีสซี ดี เหลือง กงุ ท่ีเปน โคหัวเหลือง จะมีขนาดต้ังแตขนาดเล็กอายุ 25 วันข้ึนไปจนถึงประมาณ 70 วัน โดยโรคหัวเหลืองที่เกิดกับกุง อายุ 25-35 วัน มีลักษณะคลายกับโรคตายเดือนแตความรุนแรงจะมากกวา คือโรคตายเดือนเมื่อใหกินยา ปฏชิ วี นะรว มกบั การ จดั การเรือ่ งคุณภาพนาํ้ และพืน้ บอใหดขี ้ึน มักจะแกป ญ หาได แตก ุง ที่เปน โรคหวั เหลืองนั้น พบวากงุ ตายอยางรวดเรว็ โดยใชเ วลา 2-3 วัน กงุ จะตายหมดบอ สําหรับโรคหัวเหลืองที่เกิดกับกุงอายุประมาณ 50-70 วัน กอนที่จะเริ่มมีกุงตาย การกินอาหารจะ เพิ่มขึ้นมาก ติดตอกันหลายวัน หลังจากเริ่มพบมีกุงตาย อัตราการตายจะเพ่ิมขึ้นอยางรวดเร็วภายในเวลา 2-3 วัน กุงจะตายหมดบอเม่ือเปรียบเทียบความรุนแรงของโรคที่ทําใหความเสียหายในการเล้ียงกุงกุลาดําทุกชนิด พบวาโรคหัวเหลือทําใหกุงตายรวดเร็วและรุนแรงมากที่สุด และการแพรกระจายในพื้นที่การเล้ียงแตละแหลง จะรวดเร็วมาก ในระยะแรกๆท่ีมีการเล้ียงกุงโดยใชระบบเปดถายนํ้าบอยๆ แตหลังจากมีการดัดแปลงการเลีย้ ง กุงมาเปนระบบถายนํ้านอยลง หรือใชระบบปดแบบนํ้าหมุนเวียน ทําใหการแพรกระจายของโรคหัวเหลืองลด ความรนุ แรงลงไปแลว การแพรก ระจายไมกวา งขวางมก เหมือนยุคแรกๆ สาเหตุและการวนิ จิ ฉัยโรค สาเหตุของโรคเกิดจาก ssRNA, rod shaped, ehveloped,cytoplasmic virus เชื้อไวรัสหัวเหลือง (Yellow head;YHV) น้ันเปนอารเอน็ เอไวรสั (RNA) เช้อื มีขนาดความยาว 150-200 นาโนเมตรเสน ผา ศูนยก ลาง 45-50 นาโนเมตร สามารถติดเช้ือไดบริเวณเหงือกตอมน้ําเหลือง อวัยวะสรางเม็ดเลือด และเม็ดเลือด พยาธิ สภาพของกุงท่ีเปนโรคหัวเหลืองจะทําใหเกิดการตายของเนื้อเยื่อและเซลลในอวัยวะตางๆ การวินิจฉัยโรค สามารถตรวจยอมเม็ดเลือดประกอบกบั การดูอาการและอัตราการตายท่เี กดิ ขน้ึ เมอื่ วิเคราะหป ญหาการเกิดโรคหัวเหลอื งในปจ จุบนั ในพื้นทตี่ างๆ พบวาบอทม่ี กี ุงเปนโรคนมี้ ีการเตรียม สีน้ําไมดี หรือมีปญหาสีนํ้าสมบอยในระยะแรก มีการใหอาหารคอนขางมากในระยะเดือนแรก โดยเฉพาะพื้น บอมักจะมีปญหาจากแพลงกตอนท่ีตายลงไปเคลือบพื้นบอและบอที่มีเลนกระจายและเนามากโดยเฉพาะบอ ท่ีเปนดินสวนและดินทรายมีโอกาสเกิดโรคสูงกวาบอท่ีพื้นแข็งและเลนรวมอยางดี แหลงเลี้ยงท่ีมีบอเล้ียง หนาแนนแตใชแหลงนํ้าหรือน้ําจากคลองขนาดเล็กรวมกันมีโอกาสเกิดโรคหัวเหลืองสูงกวาบริเวณที่มีพื้นที่ การเลย้ี งไมหนาแนนมาก การปอ งกันโรคหัวเหลอื ง ในพื้นที่ๆมีการระบาดของโรคหัวเหลือง และการเลี้ยงรุนท่ีผานมามีกุงเปนโรคภายในฟารมดวยควร จะตองมีการฆาเช้ือ หรือทรีตน้ํา เพื่อกําจัดพาหะตางๆไดแกกุง และปูท่ีอาศัยอยูในแหลงนํ้าที่มีโอกาสติดเชื้อ ไวรัส และเปนพาหนะนําเช้ือได โดยใชคลอรีนผงหรือสารกําจัดพาหะถาไมใชสารเคมีฆาเชื้อในนํ้าหรือกําจัด พาหะ จะตองมีการพักนํ้าเปนเวลานานในบอพักน้ําและใชการกรองอยางดีเม่ือมีการสูบน้ําเขาไปเตรียมนํ้าใน บอ ท่ีจะเล้ียง เพื่อไมใหก ุง และปทู อ่ี าศัยในบอพักนํ้าติดเขาไปในบอเลีย้ ง ใชระบบปดหรือถายน้ํานอยลงโดยใชการเติมนํ้าจากบอพักน้ําท่ีเก็บไวเปนเวลานานแลว ระบบการให อากาศจะตองเพียงพอที่จะรักษาปริมาณออกซิเจนใหอยูในระดับที่สูงและเหมาะสมตลอดเวลาควบคุมสีน้ํา และพีเอชใหน ง่ิ มากท่สี ดุ หรอื อยา แกวง มาก จะทําใหกุง ไมเครียดมากโอกาสเกิดโรคนอยลง

การเลยี้ งกุ้ง 67 67 วนิ ิจฉัยโรคหวั เหลอื ง สังเกตอัตราการตายของกุงเพ่ิมขึ้นอยางรวดเร็วมากกวาโรคชนิดอ่ืน ตัวกุงมีสีซีด หัวมีสีเหลือง แตถา ตองการความแนนอนในการวินิจฉัยโรค โดยการนํากุงท่ีเริ่มเกาะขอบบอ แตยังไมตายใหนักวิชาการตรวจ โดยการยอมสดี กู ารเปล่ียนแปลงของเมด็ เลือด โรคไวรสั ดวงขาว ไวรสั ดวงขาว หรือ ตัวแดงดวงขาว (White Spot Syndrome Virus = wssv) โรคดวงขาวงหรือโรคตัวแดงดวงขาว ในกุงกุลาดําไดพบการระบาดในประเทศจีนและญ่ีปุนต้ังแตป พ.ศ. 2536-2537 ในประเทศไทยเรม่ิ มีการระบาดของโรคชนิดน้ีตงั้ แตปลายป 2537 ทางภาคตะวนั ออกและใต ต้ังแตจังหวัดชุมพร สุราษฎรธานี สงขลา นครศรีธรรมราช และปตตานี สวนภาคใตฝงตะวันตกพบที่ ตรัง การ ระบาดของโรคดังกลาวกอใหเกิดการสูญเสียอยางมากในการเลี้ยงกุงกุลาดําในประเทศไทย โดยความรุนแรง ของเชื้อและการสญู เสยี ทเี่ กิดขน้ึ ใกลเคยี งกับโรคหัวเหลืองทเ่ี คยระบาดในกุงกุลาดํา ในปจจบุ ันนโ้ี รคดวงขาวพบ ในการเลี้ยงกุงกุลาดําทุกพื้นที่ แตความรุนแรงข้ึนอยูกับฤดูกาลและพื้นท่ีการเล้ียง ในชวงปลายปต้ังแตเดือน กนั ยายนจนถึงสน้ิ ปแ ละตน ปซ ่ึงอากาศหนาวเย็นจะมกี ารตายของกงุ เปนโรคดวงขาวมากกวา ชวงอนื่ ๆ อาการของโรค กุงท่ีเปนโรคดวงขาวจะมีลักษณะจุดขาวหรือดวงขาวมีขนาดเสนผาศูนยกลาง 0.1-2 มิลลิเมตร กุงที่ เปนโรคดวงขาวน้ีจะวายอยูบริเวณผิวน้ําหรือเกยขอบบอไมมีแรงดีดตัว กินอาหารลดลง บางครั้งพบกุงที่มี อาการลอกคราบไมออก หรือลอกคราบแลวไมแข็งตัว ตัวน่ิมอัตราการตายของกุงหลังจากเกิดโรคขึ้นอยูกับ แหลงเลี้ยงและฤดูกาลในชวงที่มีอากาศหนาวหรือฝนตกหนักติดตอกันนานๆอัตราการตายของกุงสูงถึง 80- 100% ภายใน 4-5 วัน สาเหตุและการวินจิ ฉยั โรค เกิดจากเช้ือไวรัส ชนิด ดีเอ็นเอ (DNA) รูปรางของเช้ือเปนแทงมีขนาดใหญก วาเชอ้ื หัวเหลอื งประมาณ 1 เทาโดยมีความยาว 270-290 นาโนเมตร เสนผาศูนยกลางของเชื้อประมาณ 110-120 นาโนเมตร เช้ือไวรัส สามารถทําลายเน้ือเย่ือผิวใตเปลือก เหงือก อวัยวะสรางเม็ดเลือด ตอมนํ้าเหลืองและเม็ดเลือด โดยทําให นิวเคลียสของเซลลบวมโต การวินิจฉัยโรคสามารถสังเกตอาการไดโดย กุงที่เปนโรคจะมีลักษณะมีดวงสีขาว บริเวณเปลือกลักษณะดวงที่เกิดขึ้นน้ีเกิดจากความผิดปกติของการสะสมแคลเซียมและฟอสฟอรัสที่ผิดปกติ นอกจากนี้ยังสังเกตไดจากอัตราการตายและไมสามารถใชยาปฏิชีวนะรักษาโรคชนดิ น้ีได การนําเหงือกและผิว ใตเปลือกของกุงปวยมายอมดวยฮีมทอกซิลินและอีโอซิน(H&E) ก็เปนวิธีหน่ึงที่สามารถใชตรวจการติดเชื้อโรค ดวงขาวในกงุ กลุ าดําไดอยางรวดเรว็ เน่อื งจากโรคดวงขาวมสี าเหตุมาจากไวรสั โดยไวรัสชนิดนจ้ี ะทาํ ใหเกิดเปลี่ยนแปลงทางพยาธิสภาพคือ นิวเคลยี สบวมโต และเกิดอินคลูช่นั ในนวิ เคลียสทีย่ อมสตี ดิ สีแดงสีนํา้ เงนิ ดว ยสี H&E ของอวัยวะตางๆไดแก เหงือก เซลลเย่ือบุผนังกระเพราะอาหาร อวัยวะสรางเม็ดเลือด ทาทางดินอาหาร สวน midgut ผนังรังไข เนอื้ เย่ือประสาท และ antennal gland วิธีวินิจฉัยโรคดวงขาวแบบงายๆ และไดผลเร็วซ่ึงสามารถทําใหในขณะนี้คือการยอมเซลล เหงือกและ เซลลเย่ือบุผวิ ใตเปลอื กดวยสยี อ ม H&E

68 การเลีย้ งกุง้ 68 การปองกนั โรคดวงขาว 1. จัดโปรแกรมการเลี้ยงเพื่อหลีกเล่ียงการปลอยลูกกุงในชวงปลายป ถาจะเลี้ยงจริงในชวงท่ีเสี่ยงไม ควรเลี้ยงเต็มพ้ืนท่ี 2. แมก งุ ทน่ี ํามาเพาะควรผานการตรวจดว ยพซี ีอาร 3. เลือกลูกกุงคุณภาพดี โดยเฉพาะลูกกุงในชวงท่ีเส่ียงตองมีการตรวจอยางละเอียดและกระบวนการ ผลิตของโรงเพาะฟก สามารถปอ งกันการตดิ เชอื้ ไวรัสดวงขาวได 4. ในแหลง ที่มีการระบาดของโรค ควรฆา เชอื้ และพาหะในน้ํา 5.มีบอพักนํ้าพอเพียงสําหรับนํ้าท่ีจะใชเติมหรือถายระหวางการเลี้ยงผานการพักมาเปนเวลานานหรือ ผา นการฆา เชื้อมาแลว 6. ปองกันไมใ หพาหะตา งๆเขา ไปในบอเล้ยี งกุงในฤดูกาลทเ่ี สย่ี ง โรคไวรสั เอ็มบวี ี และไวรสั เอชพวี ี ไวรสั เอม็ บีวี (MBV: Monodon Baculovirus) โรคไวรัสเอ็มบีวี ไดตรวจพบครั้งแรกในกุงกุลาดําจากประเทศไตหวัน เมื่อป 2524 หลังจากนั้นก็มี รายงานจากหลายประเทศทว่ั โลกและมีรายงานในกงุ ทะเลหลายชนดิ ประเทศไดตรวจพบไวรัสเอ็มบีวีในกุง กลุ าดาํ ท้งั จากลกู กุงในโรงเพาะฟก และกุงเลยี้ งในบอ อยางไรก็ตามการตายของกุงที่มสี าเหตุมาจากเชือ้ ไวรัสเอ็ม บวี ยี งั ไมมคี วามรนุ แรงมกและไมชดั เจน นอกจากจะมีสาเหตรุ วมเชน คณุ ภาพนาํ้ ไมเ หมาะสม ปลอ ยกงุ แนน พื้น บอสกปรก ประกอบกับมีเชื้อไวรัสอยูในตัวกุงอยูแลวก็อาจจะทําใหอัตราการสูญเสียเพ่ิมข้ึนได นอกจากนี้ใน ปจจุบันยอมรบั วา ไวรสั เอม็ บีวมี ีผลทาํ ใหกุงทต่ี ดิ เชื้อเจรญิ เติบโตชา อาการของโรค โรคไวรสั เอ็มบวี ีในกุงกุลาดาํ ไมม ีอาการท่ีชดั เจนท่ีบงชไี้ ดวา กงุ มีเชื้อไวรัสแตใ นลกู กงุ ระยะโพสลาวาหรือ ทเ่ี รยี กวา กุงพี(PL) อาจสังเกตเหน็ ไดถ า มาสองกบั แสงไฟจะเห็นเปนกอนกลมเล็กๆในตบั สาเหตุและการวินิจฉัยโรค เกิดจากเชื้อไรัสในกลุมแบคคิวโลไวรัส ซ่ึงเปน dsDNA รูปรางเปนแทงมีขนาดความยาว 280-300 นาโนเมตร เสนผาศูนยกลาง 70-75 นาโนเมตร การวินิจฉัยโรคไวรัสเอ็มบีวีในกุงพีทําไดโดยการนําตับและตับ ออ นกุง มาบ้ีบนสไลดแ ละหยดสารละลาลาโคทกรนี 0.1% หรอื 0.5% หรอื ยอมดวยสีฮีมาทอกซิบินและอีโอซิน แลวนําไปสองดูดวยกลองจุลทรรศจะเห็นเม็ดกลมๆซ่ึงเปน occlusion bodies (กอนโปรตีนของเชื้อไวรัส) กระจายอยู ในกรณีกุงโตหรือพอแมพันธอาจนําเอาข้ีกุงจากบอเล้ียงมาสองดูในลักษณะเดียวกันได ซ่ึงวิธีนี้ สามารถนํามาใชในการคัดเลือกลูกกุงหรือพอแมพันธุกุงท่ีปราศจากเชื้อได แตหากตองการจะตรวจหาท้ัง ไวรัสเอ็มบวีและไวรัสเอชพีวี เราจะตองใหตับและตับออนคงสภาพเปนพู เปนทออยูและจะเห็นวา occlusion bodies ของไวรสั เอม็ บวี นี ้ันจะอยูบริเวณสวนตน และสว นกลางของทอตับ ไวรัสเอชพวี ี (HPV: Hepatopancreatic Parvo-Virus) โรคไวรัสเอชพีวี ไดพบมานานแลวในกุงกุลาดําท่ีเล้ียงในประเทศไทย แตความสูญเสียของกุงกุลาดําท่ี เกิดเน่ืองจากไวรัสชนิดน้ียังไมมีการศึกษาและสรุปกันอยางชัดเจน เนื่องจากไวรัสชนิดนี้มีความรุนแรงตํา เหมือนกับเช้ือไวรัสเอ็มบีวีอีกทั้งยังพบไดในกุงปกติ สภาวะท่ีทําใหกุงเครียด สภาพการเลี้ยงไมดีก็จะทําใหกุง

การเลี้ยงกุ้ง 69 69 ปว ยและมีโรคแทรกซอนอยา งอ่นื ไดงา ยขน้ึ ปจจุบันยอมรบั วา เปน สาเหตุสาํ คญั ในการทําใหกุงในบอมีอัตราการ เจริญเตบิ โตทชี่ า กวาปกติ อาการของโรค อาการของโรคเอชพวี ี ในกงุ กลุ าดาํ จะสังเกตไดยาก ไมมอี าการเดน ชดั สวนใหญจ ะมอี าการรว มกับการ ตดิ เชือ้ ชนดิ อื่นๆ สาเหตุและการวนิ ิจฉยั โรค สาเหตุของการเกิดโรคมาจากเช้ือไวรัส ssNDA ในกลุมพาโวไวรัส ซึ่งเปนไวรัสที่มีขนาดเล็กมาก เสน ผา ศูนยก ลางของเชื้อไวรัสประมาณ 22-24 นาโนเมตร การตดิ เชื้อจะพบเฉพาะบริเวณตับและตับออนทําให เกิดการเปล่ยี นแปลงนิวเคลยี สของเซลตบั และตับออนอยางชดั เจน ซง่ึ สามารถวนิ จิ ฉัยไดงา ยโดยนาํ สวนของตับ และตับออนมายอมดวยมาลาไคทกรีน 0.1% หรือฮีมาทอกซิลินและอีโอซินแลวนํามาสองกลองจุลทรรศน (โดยท่ีเราจะตองใหตับและตับออนคงสภาพเปนพู เปนทออยู ก็จะเห็น nclusion bodies ในนิวเคลียสของ เซลลตบั และตับออนโดยมีตําแหนงอยูปลายของทอตับ (วิศณุและทินวรรธน, 2543) ซ่งึ อินคลูชัน่ ของไวรสั เอชพีวีน้ี จะมขี นาดใหญเ กือบเตม็ นวิ เคลียสและเบียดนิวเคลยี โครมาตนิ ของกุงไปยูดานขา ง ปจจุบันไดมีการพัฒนากรตรวจลูกกุงหรือตัวอยางกุงเพื่อหาไวรัสเอ็มบีวีและไว รัสเอชพีวีในข้ันตอน เดียวกันดวยวิธนี ้ีเชน กนั โดยมักจะพบ HPV Inclusion bodies ที่บริเวณสว นปลายของทอตับและตับออน และพบ MBV Occlusion ทบ่ี ริเวณสว นตนและสว นกลางของทอ

70 การเล้ยี งกุ้ง 70 บทปฏิบตั กิ ารท่ี 6 เรอื่ งโรคและการปองกันรักษา โรคและพยาธิ เปนสิ่งมีชีวติ ท่ีอาศัยอยูในนํา้ ทุกหนแหง เพยี งแตวา ถาสภาพแวดลอมยังดีอยู สตั วน้ําที่ เขาเลีย้ งดยู ังคงแข็งแรง เชอ้ื โรคและพยาธิ กไ็ มส ามารถทําอนั ตรายใดๆได แตถา เมื่อไร สภาพแวดลอ มเส่ือมลง สตั วนาํ้ กย็ อมออ นแอตามไปดวย ในท่สี ุดเชอ้ื โรคตางๆก็จะแพรระบาดเขาสรู า งกายของสัตวนํ้าที่เขาดําเนนิ การ เลย้ี งอยู ซ่ึงเชอ้ื โรคและพยาธนิ ั้นมมี ากมายหลายชนดิ ท่ีอาศัยอยใู นแหลงนา้ํ ธรรมชาติ และภายในบอ เลี้ยง เชน แบคทีเรีย ไวรสั โปรโตซัว ซ่ึงจะไดศึกษาปฏิบัตจิ ากการเรยี นรู จากของจริง และภาพถาย อปุ กรณ 1. รูปภาพกุงทเี่ กดิ จากเชื้อแบคทีเรีย 2. รูปภาพกงุ ท่เี กิดจกเช้อื ไวรัส 3. รปู ภาพกงุ ท่ีเกิดจากโปรโตซัว 4. ตัวอยางกุงทีต่ ดิ เชือ้ แบคทีเรยี 5. ตวั อยางกุงท่ตี ดิ เช้อื ไวรสั 6. ตวั อยา งกงุ ทต่ี ดิ เชือ้ โปรโตซวั 7. กลองจุลทรรศน วธิ กี าร 1. นักเรยี นรว มกนั ศึกษาวธิ ีการใชกลองจุลทรรศนเ บ้ืองตน 2. นักเรยี นรว มกันศึกษาภาพประกอบของกุงทต่ี ิดเชื้อโรคชนดิ ตางๆ 3. แบง นักเรยี นออกเปน กลมุ ตามความเหมาะสมรวมกนั สาํ รวจสภาพแวดลอมท่ีทําใหเ กิดโรค แลว จด บันทกึ รายละเอียด 4. นกั เรยี นแตล ะกลุมทาํ การเก็บตวั อยางกุงจากบอเลย้ี งทําการวเิ คราะหห าสาเหตุเบื้องตนของการเกิด โรค พรอมกับเกบ็ ตัวอยางนาํ้ 5. ใหน ักเรยี นทําการเก็บตัวอยา งกุง ในบอมาทําการวิเคราะหหาชนดิ โปรโตซวั พรอ มทั้งเก็บตวั อยางน้ํา 6. นกั เรียนแตละทาํ การจดบันทึกรายละเอยี ดขอมลู ตา งๆทีไ่ ดจากการปฏบิ ตั ิ ที่เสนอผลงานหนา ชั้นเรยี น ตัวอยา งแบบรายงานผลการบันทึก ชนดิ พนั ธกุ งุ อายุ (วนั )...............วนั ลกั ษณะสนี ํ้า.......................................................................................ความลึกของนํ้า..............................ซม. คณุ ภาพนาํ้ ว/ด/ป pH Alkalinity qalinity temperat DO หมายเหตุ

1.แบคทีเรีย ชนดิ ของโรคท่พี บ การเลีย้ งก้งุ 71 2. ไวรัส 3. โปรโตซัว 71 มี ไมม ี ขอ ควรแนะนาํ ................................................................................................................................................. ................................................................................................... ..................................................................... ............................................................................................................................. ........................................... คาํ ถามทา ยบท 1. บอกสาเหตุของโรค 2. ยกตัวอยา งกุง ทีต่ ิดเชือ้ ไวรัส 3. ยกตัวอยางกงุ ทต่ี ิดเช้อื แบคทเี รีย 4. อธิบายความแตกตางกงุ ท่ีตดิ เช้อื โรคกับกุงทีต่ ิดพาราไซด 5. บอกวธิ ีการใชกลองจลุ ทรรศน

72 บทที่ 7 การเก็บบเกทย่ี ทวี่ 7ผลผลิต การเก็บเกยี่ วผลผลิต วธิ ีการจับกงุ เพื่อจําหนาย 1. แบงจับบางสว น (partial) 2. จบั กุง มชี วี ิต 3. จบั กุง ตาย 1. การแบงจับบางสว น (partial) เปนการแบงจับกุงโดยใชอวนลอมจับในกรณีที่มีการเลี้ยงอยางหนาแนนสูงสุด ซ่ึงจะทําการแบงจับ ตั้งแตไซดกุงขนาด 80 ตัว/กก. เพื่อใหปริมาณกุงท่ีเหลือในบอมีอัตราความหนาแนนนอย และเพิ่มจํานวนไซด ใหโ ตข้ึน หลงั จากนั้นจะแบงจบั กค่ี รัง้ ขึน้ กบั ปรมิ าณความหนาแนนจนกระท่ัวสุดทา ยจบั หมดทั้งบอ ขอดี 1. ลดปริมาณความหนาแนน 2. เพม่ิ จํานวนขนาดนํา้ หนักกุงที่เหลอื 3. ลดปริมาณคาอาหาร ขอเสยี 1. อาจทาํ ใหกุงเกดิ แผลตามลําตัวไดถ า การจัดการไมถูกตอง 2. อาจทําใหน ํ้าขุนเกดิ ตะกอนกรณีบอ ดิน 2. การจบั กุง มีชีวิต การจับกุงมีชีวิตหรือจับเปน เปนการจับกุงคร้ังเดียวหมดท้ังหมดแตเปนการจับในลักษณะกุงยังมีชีวิต โดยใชอวนลากตอนกุงใหเขาประตูจับกุง แลวนําไปนอคหรือทําใหกุงหมดสติท่ีอุณหภูมิตํ่าแลวช่ังน้ําหนักทั้ง เปยก จากน้นั ขนสงโดยรถหอ งเยน็ ปรับอณุ หภมู ิเพ่ือนําเขา โรงงาน ขอ ดี 1. ไดก ุงทส่ี ดมคี ุณภาพ 2. ไดนา้ํ หนกั เพ่มิ ขึ้นกวา จบั ตาย 3. ไดราคาสูง ขอ เสีย 1. ใชรถในการขนสง จาํ นวนมาก 2. หากสภาพพื้นบอไมไดมาตรฐานจะทําใหการเก็บเก่ียวผลผลิตเกิดการเสยี หาย 3. การจับกุงตาย เปน การจบั กุงครงั้ เดยี วหมดบอ การช่งั นํ้าหนักจะต้งั ใหน าํ้ หมดมากที่สดุ แลวขอ หาในการช่งั นํ้าหนกั จากนน้ั นําไปเขารถหองเยน็ ปรบั อณุ หภูมสิ งเขาโรงงาน

การเล้ยี งก้งุ 73 73 ขอดี 1. ไดก งุ หมดทุกตวั 2. สามารถทําไดงา ย ขอ เสยี 1. ผลผลติ ท่ีไดนา้ํ หนักไมดเี ทาที่ควรเมื่อเทยี บกับการจับกุงเปน 2. ราคาตา่ํ กวา การจับกุง เปน วธิ ีการเกบ็ เกี่ยวกุงโดยวธิ ีทยอยจับ Partial

74 การเลีย้ งก้งุ 74 บทปฏบิ ตั กิ ารท่ี 7 เรอ่ื ง การเก็บเก่ียวผลผลติ ในการเล้ียงกุงในปจจุบันนั้น บางรายบางฟารมท่ีมีพรอมในทุกดาน จะมีการปลอยกุงอยางหนาแนน ทาํ ใหไดผ ลผลิตตอไรส ูงมาก เพราะฉะนน้ั ในการเกบ็ เกี่ยวผลผลิตจาํ เปน ตองใชเทคนิควิธีการตางๆ กันขนึ้ อยูกับ อัตรารอดของกุงที่เลี้ยง เชนอาจจะบงจับขายหลายครั้ง หรืออาจจับขายครั้งเดียวซ่ึงจะจับกุงตายหรือกุงเปน ขึน้ อยูกบั ราคาของผูรบั ซ้ือ อุปกรณ 1. เคร่ืองสูบน้ํา 2. ทอ สูบน้ํา 3. อวนลากกุง 4. ประตจู บั กงุ 5. ถังนอคอุณหภูมิ 6. ออกซเิ จนผง 7. ปูนขาว 8. รถขนยา ย 9. ตาชง่ั 10. น้ําแขง็ วิธกี าร 1. นักเรียนรวมกนั เตรียมอปุ กรณท ใี่ ชใ นการเก็บเกยี่ ว 2. นักเรยี นรวมกนั ประกอบตดิ ตั้งเคร่ืองสบู น้ํา 3. ดาํ เนินการสูบน้ําลดน้ําออกจากบอเลย้ี งประมาณ 50% 4. ดาํ เนินการตดิ ตงั้ บริเวณจบั กงุ หรอื ตัง้ ......และประตเู ทยี ม 5. เมื่อระดับนํา้ ลดลงเหลอื ประมาณ 30-40% เรม่ิ ทาํ การลากอวนเพ่อื ตอ นกงุ ใหล งประตูเทยี ม 6. นักเรยี นรวมกนั จบั กงุ จากถงุ อวนแลว นําไปนอคที่อุณหภูมิตํ่า 7. เคลื่อนยา ยกุงทีน่ อคอุณหภูมแิ ลว ไปทาํ การช่งั น้าํ หนัก 8. เคล่อื นยา ยกงุ ชง่ั นํา้ หนักแลวไปยังรถหอ งเยน็ 9. เม่ือเกบ็ เกยี่ วใกลจ ะเสรจ็ ปริมาณกงุ เหลอื ในบอ นอยใหทาํ การไลกุง ที่ตกคางโดยใชปนู ขาวหวา นไลกุง 10. นักเรยี นรวมกันหวา นออกซิเจนภายในบอเพอื่ ปองกนั ไปใหก ุงออ นแอหรือตาย 11. นักเรยี นรวมกันศึกษาปฏิบัตดิ ูงานวิธกี ารจับกุงจากเอกชนรายอนื่ ๆ เพือ่ เปน แนวทางในการปฏบิ ัติ

การเลย้ี งกุง้ 75 75 แบบบันทึกจาํ นวนผลผลติ บอ ที.่ ...... นํ้าหนกั (กก) /จํานวนตะกรา แถวท1่ี 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 นาํ้ หนัก น้าํ หนัก หกั ตะกรา รวม รวม 1 15 19 20 20 15 18 19 20 20 15 131 171 10 กก. 2 3 นํา้ หนักรวม..............................กก. นํา้ หนักตะกรา..........................กก. จํานวนตะกรา............................ใบ นาํ้ หนักกงุ สทุ ธิ.........................กก. คาํ ถามทายบท 1. บอกอปุ กรณทีจ่ ะใชในการจบั กุงจําหนา ย 2. อธบิ ายวิธีการจบั กงุ บางสวน 3. อธบิ ายขั้นตอนการจับกงุ ทง้ั บอ 4. บอกวธิ กี ารเกบ็ เกี่ยวผลผลติ มีกีว่ ธิ อี ะไรบาง

76 บทที่ 8 การบนั ทึกข้อมบลู ทแลทะ่ี 8การคำ�นวณตน้ ทุนการผลิต การบนั ทกึ ขอมลู และการคาํ นวณตน ทนุ การผลิต 1.บันทกึ ประวัตฟิ ารม ชือ่ ฟารม ................................................................................................................................................................. เจา ของ.................................................................................................................................................................. เลขทะเบียนฟารม.............................................................................................................. .................................... ที่อยู............................................................................................................................... ........................................ ชอื่ ผูจ ัดการ..................................................................... ชือ่ ผดู แู ล............................................................... ชนิดกงุ … กุงขาวแวนนาไม … กุงกลุ าดํา บอ ที่............................................................................... พื้นทบ่ี อ.............................................................ไร วันทปี่ ลอยกงุ ................................................................. จาํ นวนกุงท่ปี ลอย.............................................ตวั ราคาตัวละ...........................................................สตางค ขนาดกุงท่ปี ลอ ย(PL)............................................. แหลง พนั ธกุ งุ ................................................................. ชวงเวลาท่ีปลอยกุง............................................... วิธกี ารปลอย.......................................................................................................................................................... การอนบุ าลลูกกุง … ก้ันคอก … บอ อนบุ าลซีเมนต/ พีอี … ไมอนุบาล อาหารทใ่ี ช … อาหารเม็ด ยีห่ อ...................................... … อาหารสด เชน.............................................. บอพักนํ้า … ม.ี ...................................ไร … ไมม ี แหลง น้ํา … คลอง, แมนํา้ … บาดาล … ทะเล … อื่นๆ (ระบุ)................................................... เคร่ืองใหอากาศ … ไฟฟา จํานวน.......................................ตัว … นาํ้ มัน/แกส จํานวน.................................ตัว ลกั ษณพื้นดินกน บอ … ดนิ เหนยี ว … ดินเหนยี วปนทราย … ดินปา ชายเลน … อน่ื ๆ (ระบุ)................................................... 2. ขอมูลการเตรยี มบอกอ นปลอ ย 1. การเตรยี มบอ 1.1 ระยะเวลาพักบอ (หลังทาํ ความสะอาดถงึ นํานาํ้ เขา บอ)....................... วนั 1.2 การทาํ ความสะอาดในบอ … ฉดี เลน.......... วนั … ใชแ ทรกเตอรตักดิน........... วนั … ตากบอโดยอาศัยแสงแดด........ วัน … ไมไ ดทําความสะอาดบอ แตใชส ารเคมี ชนิด................................ปริมาณ................................... … อนื่ ๆ (ระบุ).................................................................................................................................. 1.3 การใชว ัสดปุ นู ในการเตรียมบอ … ปูนขาว......................กก./ไร … ปูนโดโลไมท...........................กก./ไร … ปนู มารล /แคลเซียม...................กก./ไร … อื่นๆ (ระบุ).......................................

การเลย้ี งกุ้ง 77 77 2. การเตรยี มน้ํากอ นปลอยกุง … พักนํ้าในบอพักแลวจึงนําน้าํ เขาบอเลีย้ ง … ใชน ้ําสดจากแหลง ธรรมชาติ … อน่ื ๆ (ระบุ)................................................................................................................................. 3. ระดบั นาํ้ กอ นปลอ ยกุง ....................................ซม. 4. การทําสนี ้ํากอนปลอยกุง (โปรดระบชุ นิด ปนู ,ปยุ และปรมิ าณท่ีใช) … ปลอยใหส นี ้าํ เกดิ เอง … ใชว ัสดปุ นู ....................และปุย....................... … ใชปุย......................เพียงอยา งเดยี ว … อื่นๆ (ระบุ).................................................... 5. การใชสารเคมแี ละเวชภัณฑใ นการเตรยี มนํ้า … ฟอรม าลนิ ..................ลติ ร … คลอรนี ....................กก. … บี.เค.ซี......................ลติ ร … อน่ื ๆ (ระบุ)....................... … ไอโอดีน...................ลติ ร … จุลนิ ทรีย..................กก. 6. คุณภาพนา้ํ กอนปลอ ยกุง ชนิดและปริมาณแพลงกต อนเดน (Dominant)……………………………………………………………………… … สีน้าํ .......................... … ความขุนใส..................ซม. … ความเคม็ ................พพี ที ี … พเี อช.......................... … อลั คาไลน.......................... 7. ระยะเวลาในการเตรียมน้ํา................................วนั 8. การตรวจลูกกุงกอ นปลอย … ทดสอบความแข็งแรง.................................... … PCR (กรมประมง) … อนื่ ๆ (ระบุ).................................................................................................................................. 3. บันทกึ ตนทนุ การเล้ยี ง คา พนั ธกุ งุ ............................................................................................................บาท คา อาหารเมด็ .......................................................................................................บาท คาอาหารสด........................................................................................................บาท คา เคมีภัณฑแ ละเวชภณั ฑ...................................................................................บาท -ยาฆา เชอื้ ..............................................................................................บาท -ยาตา นจลุ ชีพ........................................................................................บาท -วิตามินและอาหารเสรมิ .......................................................................บาท -จุลนิ ทรีย..............................................................................................บาท -วัสดปุ ูน................................................................................................บาท คาใชจายอน่ื ๆ -แรงงาน,นํา้ มนั ,อุปกรณต างๆ...............................................................บาท รวมตน ทุน....................................................................................................บาท

78 การเล้ียงกุ้ง 78 4. สรปุ ผลการเลี้ยง ระยะเวลาท่เี ลี้ยงทัง้ หมด......................................................................................วนั นํ้าหนกั กุง ทั้งหมดทีจ่ บั ได.....................................................................................ตัน ขนาดกงุ ที่จับได. ...................................................................................................ตวั /กโิ ลกรัม ผลผลิตตอ ไร.........................................................................................................กิโลกรมั นํ้าหนกั ตัวเฉล่ยี ....................................................................................................กรัม อตั ราการเจรญิ เติบโต (ADG)................................................................................กรัม/วนั อตั รารอด (%)....................................................................................................... อตั ราแลกเน้ือ (FCR)............................................................................................. ราคากุง ทขี่ าย.......................................................................................................บาท/กโิ ลกรัม รายได...................................................................................................................บาท รายได.....................................................................................................บาท ตนทุน.....................................................................................................บาท กําไรข้นั ตน..............................................................................................บาท วิธีการคาํ นวณตนทุนผลติ สูตรการคาํ นวณที่ใชป ระกอบการคาํ นวณตน ทนุ การผลติ 1. น้าํ หนกั กงุ ในบอ(กก.) = ปรมิ าณอาหารตอ วนั (กก.) x 100 เปอรเ ซ็นตอาหารตอนํ้าหนักกุง 2. ผลผลิตตอไร = นํ้าหนกั กุงทจี่ ับไดทง้ั หมด จาํ นวนไร 3. อตั ราการเจริญเตบิ โต (ADG) = นํา้ หนกั กุงในบอครง้ั หลัง(กก.)-นํ้าหนักกงุ คร้ังแรก(กก.) ระยะหางระหวางการสมุ คร้งั แรกและครัง้ หลัง 4. ขนาดกงุ (Size ตัว/กก.) = จาํ นวนกงุ ทจี่ บั ได (สุม ) นา้ํ หนักกงุ ที่จับได (สุม) 5. นํ้าหนกั ตวั เฉลี่ย (กรมั ) = นํา้ หนักกุงทส่ี ุม(กก.) X 1000 จาํ นวนกงุ 6. อัตรารอด (%) = จาํ นวนกงุ ในบอ x 100 จาํ นวนกุงทปี่ ลอย 7. อตั ราแลกเน้ือ (FCR) = ปรมิ าณอาหารทใี่ ชท งั้ หมดในการเลีย้ งกุง น้าํ หนักกุง ทีจ่ บั ได หมายเหตุ : การใชอาหารสดใหเ ทยี บอาหารสาํ เรจ็ รูปดงั นี้ = อาหารเมด็ 1 กก. - อาหารสดพวกปลาหรือหอยทมี่ สี เี ปลือก คิด 10 กก. = อาหารเมด็ 1กก. - อาหารสดพวกปลาหรือหอยท่ไี มมีเปลือก คิด 5 กก.

บทที่ 9 การตลาดและการจ�ำ หบนทา่ ทยี่ ต9ลาดตา่ งประเทศที่ไทยส่งออกกุง้ การตลาดและการจําหนา ยตลาดตางประเทศทไี่ ทยสงออกกุง เนื่องจากุงกุลาดําเปนสิ้นคาเพ่ือการสงออก ประมาณรอยละ 95 จากปริมาณการผลิตท้ังหมด มีการ บริโภคภายในประเทศเพียงรอ ยละ 5 เทานัน้ โรงงานผลิตผลิตภัณฑสัตวนํา้ สงออกของไทยสวนใหญมีมาตรฐาน สุขลักษณะท่ีดีตามมาตรฐานสากล ผูผลิตไทยมีความพรอมสําหรับระบบคุณภาพ HACCP (Hazard Analysis Critical Control Point) เพือ่ ใหส ามารถแขงขนั กบั ประเทศอน่ื ได ประเทศผูนําเขาที่สําคัญ ไดแก สหรัฐอเมริกา ญ่ีปุนและสหภาพยุโรป ประเทศผูนําเขากําหนด มาตรฐานตางๆ เพื่อความปลอดภัยของผูบริโภค โดยมีการกําหนดมาตรฐานทางจุลชีววิทยา ทางเคมีและ กายภาพ หากประเทศผูนําเขาตรวจพบวาผลิตภัณฑที่นําเขาไมเปนไปตามาตรฐานก็จะมีการกีดกันสินคาไว สงกลบั หรือทําลาย แตละประเทศมีกฎระเบยี บทแี่ ตกตา งกัน ประเทศสหรัฐอเมริกา เปนประเทศที่เขมงวดในเร่ืองของเอกสาร ระเบียบ คุณภาพของสินคามาก หากมีความผดิ พลาดหรอื ไมถูกตอ ง สนิ คานัน้ จะตองถูกสงกลบั หรือทําลาย ดังนั้นเพ่ือความปลอดภัยตอผูบริโภคสหรัฐฯ ประเทศคูคาจะตองปฏิบัติตามกฎของ Consumer Seafood Safely Act โดยใหกระทรวงเกษตรของสหรัฐฯ (USDA) และสํานักงาคณะกรรมการอาหารและยา สหรฐั ฯ (USFDA) ตรวจสอบคุณภาพของสินคา ท่ีนาํ เขาไปจําหนายในสหรัฐฯ และตรวจสอบโรงงานในประเทศ ผูสงออก โดยรัฐบาลกําหนดใหอาหารทะเลจะตองผานการตรวจสอบคุณภาพในหองปฏิบัติการและ การตรวจสอบคุณภาพโดยประสาทสัมผัส การตรวจสอบการนําเขา โดย FDA (Food and Drug Administration) โดยวิธกี ารสมุ ตวั อยาง ซึ่งจะดู ช่ือ ที่อยู และประวัติของผูนําเขาหากไมเคยมีประวัติการนําเขาในทางเสียหายก็จะไมถูกตรวจ แตหากวาผูนํา เขาเคยมีประวัติของผูนําสนิ คาไมไดคุณภาพจะถูกจดั ไวในกลุมข้ึนบญั ชดี ําจะถูกตรวจอบทกุ shipment จํานวน 5 ครั้งตดิ ตอ กัน หากผานการตรวจสอบเปน ทีน่ า พอใจ ถอนช่ือออกจากบญั ชีดาํ มาใชว ิธสี ุม ตวั อยางแบบเดมิ ได FDA จะทําการตรวจโดยวิธีการดมกลิ่น (sensory) นอกจากน้ีแลวยังเขมงวดในเร่ืองของสารตกคาง ในอาหาร โดยเฉพาะตรวจหาสาร sulfide ซง่ึ เปน สารท่รี ักษาความสดของกงุ ตองไมเ กิน 100 ppm. ต้ังแตวันที่ 18 ธันวาคม 2540 เปนตนมาที่สหรัฐฯ กําหดใหประเทศผูสงออกสินคาประมงเขาสหรัฐฯ โรงงานจะตองใชร ะบบ HACCP และ USFDA ไดประกาศใหกฎหมายกําหนด Import Alert เก่ยี วกบั การกักกัน ผลิตภัณฑสัตวน้ําจากผูผลิตในตางประเทศท่ีไมไดปฏิบัติตามระเบียบของ HACCP ตามขอกําหนดของสหรัฐฯ จะนํามาตรการกดี กนั โดยอตั โนมตั ิมาใชกบั ผลติ ภัณฑท่นี ําเขาจากผผู ลติ สตั วน ้ันๆ นอกจากน้ี สหรัฐฯ ยังกําหนดใหผ ูสง ออกกุงไปยังสหรัฐตามกฎหมายอนุรักษเตาทะเล ตอ งใชเครื่องมือ TEDs (Turtle Excluder Devices) ในการจับกุงจะไดไมเปนการทําลายเตาทะเล ในวันท่ี 1 พฤษภาคม ของ ทุกป จะมีการทบทวนวาประเทศตางๆท่ีเปนผูสงออกกุงไปยังสหรัฐฯ ไดมีมาตรการการอนุรักษเตาทะเลเทา เทียมสหรัฐฯ ไดม ีมาตรการการอนรุ ักษเ ตา ทะเลเทาเทยี มสหรฐั ฯ โดยการใหก ารรับรองในป 2541 ไทยเปนหน่ึง ใน 39 ประเทศ ท่ีสหรฐั ฯใหการรับรองวา การจบั กงุ ไมเปน อนั ตรายตอ เตา ทะเล ประเทศญ่ีปุน การสงออกจะตองมีใบรับรองสุขอนามัย (Healthy Certificate) โดยหนวยงานของ รัฐบาลไทย และการนําเขากุงของญ่ีปุนจะตองปฏิบัติตามกฎหมายวาด วยสุขอนามัยของอาหาร (Food Sanitation Law) อยูภายใตการดําเนินงานของกระทรวงสาธารณสุขและสวัสดิการ ซ่ึงครอบคลุม การจําหนายอาหารท่ีไมถูกสุขอนามัยรวมทั้งการกําหนดมาตรฐานสินคาอาหารและการแจงขอมูลเกี่ยวกับ อาหาร เชนการอนุญาตนาํ เขา เปน ตน

80 การเลย้ี งก้งุ 80 สหภาพยุโรป หรืออียู เขมงวดทางดานคุณภาพของสินคาอาหาร โดยเฉพาะอาหารทะเล โรงงาผลิต จะตองไดรบั การรับรองของกรมประมง (Competent Authority) และอยูใ นบญั ชีรายชอ่ื ทีส่ หภาพยโุ รปใหการ รับรอง และการสงออกจะตองมีใบรับรองสุขอนามัยจากกรมประมง รวมท้ังจะเขมงวดในเร่ืองของบรรจุภัณฑ หีบหอ การควบคุมความปลอดภยั ของอาหารและการปดฉลากของสินคา ในทาํ นองเดยี วกับของสหรัฐอเมริกา ในอนาคตสหภาพยุโรปจะใชสมุดปกขาว (White Paper) เปนเอกสารที่ใชเปนแนวนโยบายในการ จัดการดานสุขอนามัยใหกับผูบริโภค เปนนโยบายในการปองกันความเส่ียงตอโรคและใชเปนแนวทางในการ กําหนดมาตรการสรางเชื่อมั่นใหกับผูบริโภคในสหภาพยุโรปวา อาหารท่ีจําหนายในกลมุ สหภาพยุโรปจะปลอด เชื้อและสารพิษตกคางตางๆ มาตรการน้ีเปนผลมาจากการแพรระบาดของโรควัวบา (Mad Cow) หรือแมแต กระแสของผลิตภัณฑที่ไดจากการดัดแปลงทางพันธุกรรม(Genetically Modified Organism-GMOs) และ การปนเปอ นของสารไดออกซิน (Dioxin) ท่มี ีบทบทสาํ คญั ตอ ภาคอตุ สาหกรรมอาหารทนี่ ําเขา สหภาพยุโรป หลักการหรือมาตรการในการเพ่ิมความปลอดภัยของอาหารจะขยายครบคลุมไปในวงกวางต้ังแต การผลิตวัตถุดิบจนถึงผูบริโภค และเพ่ือใหเกิดประสิทธิภาพในการจัดการจึงตองมีมาตรการในการสืบ แหลงท่ีมา (Traceability) และความโปรงใส (Transparency) ของวัตถุดิบหรือสวนประกอบตางๆที่ใชใน การผลิต กลาวโดยรวมแลวมาตรการนี้จะมีผลตอผูประกอบการที่เกี่ยวของทั้งวงจรการผลิตอาหารซ่ึงเริ่มต้ังแต ผูผลิตวัตถุดิบ ผูแปรรูป ผูแทนจําหนาย จนถึงผูบริโภค ที่จะตองมีวิธีการท่ีจะกอใหอาหารถูกสุขลักษณะและมี ความปลอดภัย สามารถแสดงหลักฐานแหลงที่มาของวัตถุดิบหรือวัตถุดิบท่ีเปนปจจัยในการผลิตทั้งหมด หาก เกิดกรณีพิพาทหรือขอโตแยงในดานความปลอดภัยของอาหาร ไมวาจะเปนกรณีของวัตถุเจือปน สารตกคาง หรือสารพษิ ทป่ี นเปอนในอาหารท่อี าจตรวจสอบได ประเทศไทยในฐานะผนู ําเขาอาหารทะเลรายใหญของสหภาพยโุ รปจะตองมีการเปลี่ยนแปลงใหเ ปนไป ตามกฎขอบังคับของสหภาพยุโรป ตองมีการเตรียมพรอมในในดานการเก็บรวบรวมขอมูล ความสามารถและ ประสิทธิภาพในการวิเคราะหของหองปฏิบัติการ ระบบคุณภาพ ระบบสิ่งแวดลอมและอ่ืนๆท่ีเกี่ยวของกับ อุตสาหกรรมอาหารท้ังระบบ หนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชนจะตองมีการเตรียมพรอมเพ่ือรองรับกฎเกณฑ ตางๆ โดยเฉพาะประเด็นดานส่ิงแวดลอ ม สิทธิมนุษยชนและแรงงานสวัสดิภาพสัตว ฯลฯ เขาเชื่อมโยงกับเรือ่ ง ของการกําหนดมาตรฐานการผลิตและควบคุมการผลิตสินคาน้ัน กรณีดังกลาวอาจสงผลกระทบตอไทยในดาน การสรา งขอกดี กันทางการคา ในอนาคตการเขมงวดในเรื่องคุณภาพและความปลอดภัยตอผูบริโภคจะเนนมากขึ้น การเตรียมความ พรอมของโรงงานผลิต แตเพียงฝายเดียวคงจะไมเพียงพอ เกษตรกรผูเล้ียงกุงหรือโรงงานรับซื้อกุงบางแหงตอง ใหความรวมมืออยางจริงจัง อยาเห็นแกไดเล็กๆนอยๆ เชนมีการฉีดวุนเขาไปในตัวกุงเพ่ือเพ่ิมน้ําหนัก แชกุงใน สารเคมีบางอยางเพื่อทําใหเปลือกแข็งเพิ่มนํ้าหนักส่ิงตางๆ เหลานี้จะเกิดผลเสียตอสวนรวมอยางมาก และ อาจจะทําลายอตุ สาหกรรมนี้ได ผปู ระกอบการทุกฝา ยตอ งมีจติ สํานึกและจรรยาบรรณที่ดตี ออุตสาหกรรมซึ่งจะ ทาํ ใหไ ทยสามารถแขงขันกับตา งประเทศและทําใหอุตสาหกรรมน้ยี ั่งยนื ตอ ไป

การเล้ยี งก้งุ 81 81 อา งองิ https://dictionary.sanook.com/search/dict-fish http://www.thaikasetsart.com http://www.arda.orth/kasetinfo/south/shrimp/controller/index.php https://dictionary.sanook.com/search/dict-fish https://th.wikipedia.org/wiki https://www.shrimpcenter.com/t-shrimp051.html https://dictionary.sanook.com/search/dict-fishhttps://th.wikipedia.org/wiki


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook