Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการสอนประวัติศาสตร์ ม.4-1-65

โครงการสอนประวัติศาสตร์ ม.4-1-65

Published by วชิรวิชญ์ กวดนอก, 2022-07-19 13:51:07

Description: โครงการสอนประวัติศาสตร์ ม.4-1-65

Search

Read the Text Version

โครงการสอนและกำหนดการสอน รายวชิ า ประวัตศิ าสตร์ (ส31103) ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2565 ของ พระครูปรีชาปริยตั ยาทร,ดร. ตำแหนง่ ครพู เิ ศษ กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรยี นวัดพระแก้วดอนเตา้ สุขาดาราม สำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเขต 1 ลำปาง

คำอธิบายรายวชิ าพื้นฐาน รหัสวชิ า ส31103 รายวชิ า ประวัติศาสตร์ไทย 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 20 ช่วั โมง จำนวน 0.5 หนว่ ยกติ ................................................................................................................................................................... ศึกษา วิเคราะห์ ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ท่ีแสดงถึงการเปล่ียนแปลงของ มนุษยชาติ ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ คุณค่าและประโยชน์ของวิธีการทางประวัติศาสตร์ท่ีมีต่อ การศึกษาทางประวัติศาสตร์ ประเด็นสำคัญทางประวัติศาสตร์ตั้งแต่ความเป็นมาของชาติไทยสมัยก่อน อาณาจักรสุโขทัยจนถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครอง โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์ กระบวนการแก้ปญั หา กระบวนการกลุ่ม เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจตระหนักในความสำคัญของการศึกษาประวัติศาสตร์ชาติไทย เกิดความ รักความภาคภูมิใจและธำรงความเป็นไทย มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซ่ือสัตย์ สุจรติ มีวนิ ยั ใฝเ่ รียนรู้ รักความเปน็ ไทย มุ่งม่ันในการทำงาน ตวั ชีว้ ัด ส. 4.1 ม. 4-6/1 , ม. 4-6/2 ส. 4.3 ม. 4-6/1 , ม. 4-6/2 รวมทั้งหมด 4 ตัวช้ีวัด

ชื่อรายวชิ า ส 31103 ประวตั ศิ าสตร์ไทย 1 ภาคเรียนท่ี 1 ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 เวลา 20 ชัว่ โมง 0.5 หน่วยกิต หน่วยที่ ชือ่ หน่วย มาตรฐาน/ ตวั ชี้วดั สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา น้ำหนกั คะแนน ช่ัวโมง 10 1 เวลา ยคุ สมัย ส 4.1 ม. 4-6/1 การกำหนดเวลา ยุคสมัย การนับ และเทียบ 3 และวิธกี ารทาง ศักราชในประวตั ิศาสตร์ไทย ทำให้สามารถศึกษา ประวตั ิศาสตร์ ส 4.1 ม. 4-6/2 และเรียงลำดบั เหตกุ ารณต์ ่างๆ ในประวัตศิ าสตร์ ได้ รวมท้ังมีความสัมพันธ์เช่ือมโยงจากอดีตสู่ ปจั จบุ ัน และคาดการณ์ในอนาคตเขา้ ด้วยกนั ได้ 2 การตงั้ ถน่ิ ฐาน ส 4.1 ม. 4-6/1 การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ 3 10 ในดินแดนไทย ไทย การต้ังถน่ิ ฐานในดนิ แดนไทย โดยใช้วิธีการ ทางประวัติศาสตร์อย่างเป็นระบบ ย่อมทำให้ผล ส 4.1 ม. 4-6/2 การศึกษาน้ันมีคุณค่าและ เป็นที่ยอมรับในวง วิชาการ 3 รฐั ไทยใน ส 4.3 ม. 4-6/1 การศึกษาประเดน็ ทางประวัตศิ าสตรไ์ ทย 6 25 ดินแดนไทย นอกจากฝึกกระบวนการวเิ คราะหแ์ ลว้ ยังทำให้ เกดิ องค์ความรู้ใหม่ทางประวตั ศิ าสตร์ และ 6 25 4 ความสำคญั ของ ส 4.3 ม. 4-6/2 ตระหนกั ถึงความสำคญั ของรฐั ไทยในดินอดน สถาบนั ไทย 1 10 1 20 พระมหากษตั รยิ ์ สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นศูนย์รวม 20 100 จิตใจของชาวไทยและอยู่คู่กับสังคมไทย ตอ่ ชาติไทย มาโดยตลอด มีบทบาทสำคัญในการ ป้องกันอาณาจักรและรักษาเอกราชของ ชาติ ทำนบุ ำรุงพระพุทธศาสนา สง่ เสริม เศรษ ฐกิจของชาติ และยังสืบ ท อด เผ ย แ พ ร่ วั ฒ น ธ ร ร ม ข อ ง ช า ติ ม า จ น ถึ ง ปจั จุบัน สอบกลางภาค/คะแนนระหวา่ งภาค สอบปลายภาค/คะแนนปลายภาค รวมตลอดภาคเรียน

กำหนดการเรยี นรู้รายช่วั โมง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม รายวชิ า ประวตั ิศาสตร์ไทย 1 รหสั วิชา ส31103 ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4 หนว่ ยการเรยี นรู้ ชัว่ โมง ว/ด/ป แผนการเรยี นรู้ มาตรฐาน สาระสำคญั สอ่ื การเรยี นรู้ท่ี /ตวั ชวี้ ัด สำคัญ หน่วยการ 3 21 พ.ค.65 -แผนการเรยี นรทู้ ่ี1 ส 4.1 การกำหนดเวลา ยุค 1)หนังสอื เรียน เรียนรู้ที่ 1 28 พ.ค.65 เวลา ศกั ราช และยุค ม. 4-6/1 สมัย การนบั และ ประวตั ศิ าสตรม์ .4 เวลา ยุคสมยั เทยี บศักราชใน และวธิ กี ารทาง สมยั ทาประวตั ิศาสตร์ ประวตั ศิ าสตรไ์ ทย 2)ตัวอยา่ ง ประวัตศิ าสตร์ 2 คาบ ทำให้สามารถศกึ ษา หลักฐานทาง และเรียงลำดับ ประวัติศาสตร์ -แผนการเรยี นรู้ที่ 2 เหตุการณ์ตา่ งๆ ใน 3)อินเตอรเ์ นต 4 ม.ิ ย.65 หลกั ฐานและวิธีการ ประวตั ศิ าสตร์ได้ 4) DLtv. รวมทัง้ มี ทางประวัติศาสตร์ ความสัมพนั ธ์ เชื่อมโยงจากอดีตสู่ ปัจจุบัน และ คาดการณใ์ นอนาคต เขา้ ดว้ ยกนั ได้ หนว่ ยการเรียนรู้ 3 11 ม.ิ ย.65 -แผนการเรียนรู้ที่1 ส 4.1 การสร้างองค์ 1)หนงั สือเรียน ที่ 2 ถน่ิ เดิมของชนชาติไทย ม. 4-6/2 ความรใู้ หม่ทาง ประวัตศิ าสตร์ไทย การตงั้ ถนิ่ ฐานใน และการตั้งถ่นิ ฐานใน ประวตั ศิ าสตร์ ม.4-6 ดนิ แดนไทย ดนิ แดนไทย ไทย การตั้งถน่ิ 2)หนังสอื คน้ ควา้ ฐานในดนิ แดน เพิ่มเติม 18 มิ.ย.65 -แผนการเรียนรทู้ ่ี 2 ไทย โดยใช้ 3)อนิ เตอรเ์ นต แควน้ ตามพรลงิ ค์และ วธิ กี ารทาง 4)ผงั มโนทศั น์ อาณาจกั รทวารวดี ประวัตศิ าสตร์ 25 มิ.ย.65 -แผนการเรียนรทู้ ่ี3 อยา่ งเปน็ ระบบ อาณาจกั รศรวี ิชยั ย่อมทำใหผ้ ล การศึกษานัน้ มี แควน้ ละโวห้ รือลพบรุ ี คณุ ค่าและเปน็ ที่ ยอมรบั ในวง และแคว้นหรภิ ุญชัย วิชาการ

หนว่ ยการเรยี นรู้ ชั่วโมง ว/ด/ป แผนการเรยี นรู้ มาตรฐาน สาระสำคญั สื่อการเรียนรูท้ ่ี /ตวั ช้ีวัด สำคัญ หนว่ ยการเรียนรู้ 6 2 ก.ค.65 -แผนการเรียนรูท้ ี่ 1 ส 4.3 การศกึ ษา ม. 4-6/1 ประเดน็ ทาง 1)หนงั สือเรียน ท่ี 3 แควน้ โยนกเชยี งแสน ม. 4-6/2 ประวตั ิศาสตร์ ประวตั ิศาสตร์ไทย รฐั ไทยในดินแดน แควน้ หริ ัญนครเงินยาง ม.4-6 ไทยนอกจากฝึก 2)หนงั สือคน้ ควา้ ไทย และแควน้ พะเยา กระบวนการ เพม่ิ เติม วเิ คราะห์แลว้ ยงั 3)อินเตอร์เนต -แผนการเรยี นรทู้ ่ี 2 ทำให้เกดิ องค์ 4)ผงั มโนทัศน์ 9 ก.ค.65 อาณาจักรลา้ นนาและ ความรู้ใหมท่ าง 16 ก.ค.65 อาณาจักรสุโขทยั ประวตั ศิ าสตร์ และตระหนักถึง 23 ก.ค.65 -แผนการเรียนร้ทู ี่ 3 ความสำคัญของ 30 ก.ค.65 แคว้นสุพรรณภมู แิ ละ รฐั ไทยในดนิ แดน ไทย อาณาจักรอยธุ ยา 6 ส.ค.65 -แผนการเรยี นรู้ท่ี 4 อาณาจกั รธนบุรแี ละ รัตนโกสนิ ทร์ 23 ก.ค.65 สอบกลางภาคเรยี น 1/2565 หน่วยการเรียนรู้ 6 13 ส.ค.65 -แผนการเรยี นรทู้ ี่ 1 ส 4.3 สถาบัน 1)หนงั สือเรยี น ท่ี 4 20 ส.ค.65 ความสำคัญของสถาบนั ม. 4-6/2 พระมหากษัตริย์ ประวัติศาสตร์ม.4 27 ส.ค.65 พระมหากษตั รยิ ์ต่อชาติ ความสำคญั ของ เปน็ ศูนย์รวม 2)ตวั อยา่ ง สถาบัน ไทย จติ ใจของชาวไทย หลกั ฐานทาง และอยูค่ กู่ ับ พระมหากษตั รยิ ์ 10 ก.ย.65 -แผนการเรียนรู้ที่ 2 สังคมไทยมาโดย ประวัตศิ าสตร์ ต่อชาติไทย 17 ก.ย.65 ผลงานของ 24 ก.ย.65 พระมหากษัตรยิ ์ต่อการ ตลอด มบี ทบาท 3)อินเตอรเ์ นต พัฒนาชาติไทย สำคัญในการ 4) DLtv. ปอ้ งกัน อาณาจกั รและ รกั ษาเอกราช ของชาติ ทำนุ บำรงุ พระพทุ ธศาสนา สง่ เสรมิ เศรษฐกจิ

ของชาติ และยัง สบื ทอดเผยแพร่ วัฒนธรรมของ ชาตมิ าจนถงึ ปจั จบุ ัน 1 ต.ค.65 สอบปลายภาคเรียน 1/2565 การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ โดยการประเมินสภาพจริง พจิ ารณาจากพฒั นาการของผเู้ รยี น ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรยี น การรว่ มกิจกรรม และการทดสอบ 1. ก่อนสอบกลางภาค 30 คะแนน ผลการเรียนรูท้ คี่ าดหวงั - งานที่มอบหมาย 20 คะแนน - ทดสอบระหว่างเรยี น 10 คะแนน 2. สอบกลางภาค 10 คะแนน ผลการเรยี นรูท้ คี่ าดหวัง - ปรนัย 5 คะแนน - อตั นยั 5 คะแนน 3. หลงั กลางภาค 40 คะแนน ผลการเรียนรู้ทคี่ าดหวงั - งานท่มี อบหมาย 20 คะแนน - ทดสอบระหวา่ งเรียน 20 คะแนน 4. สอบปลายภาค 20 คะแนน ผลการเรียนร้ทู คี่ าดหวงั - ปรนยั 1๐ คะแนน - อตั นยั ๑๐ คะแนน *นักเรยี นต้องทำตามเงอื่ นไขที่ครกู ำหนดให้มฉิ ะนนั้ จะให้ผลการเรียน เป็น ร กำหนดการวดั ผล ภาคเรยี นที่ ๑ ตน้ เดือนกรกฏาคม ๒๕๖๕ ๑. ทดสอบกอ่ นสอบกลางภาค ปลายเดือนกรกฏาคม ๒๕๖๕ ๒. ทดสอบกลางภาค ต้นเดอื นกนั ยายน ๒๕๖๕ ๓. ทดสอบหลังกลางภาค ปลายเดือนกันยายน ๒๕๖๕ ๔. ทดสอบปลายภาค

ข้อกำหนดอื่นๆ 1. นักเรียนต้องปฏิบัติตามงานที่ได้รับมอบหมายจากครูผู้สอนท้ังในรูปแบบของการทำใบงาน แบบทดสอบ ชิน้ งานเดี่ยว และการทำช้ินงานกลมุ่ 2. นักเรยี นตอ้ งมีความรับผดิ ชอบตอ่ ตนเองและช่วยเหลืองานเพอื่ นในกลุ่มอยูเ่ สมอ 3. ในการตอบคำถามผ่านแบบทดสอบ หรือการทำแบบฝึกหัดทุกรูปแบบ นักเรียนจะต้องทำด้วย ตนเอง ห้ามลอกงานมาสง่ อยา่ งเดด็ ขาดมิฉะนน้ั นกั เรียนจะไม่ได้คะแนนเดด็ ขาด 4. นกั เรยี นต้องเกบ็ ใบงานทกุ ช้ินทท่ี ำเพือ่ รวบรวมเข้าเล่มสง่ ในท้ายเทอม คุณ ลักษ ณ ะอันพึ งป ระสงค์ของผู้เรียน ๘ ข้อ ตามห ลักสูตรแกน กลางการศึกษ าขั้น พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ทนี่ กั เรยี นควรทราบ ควรระลึก และต้องหม่ันปฏิบตั อิ ยู่เสมอมดี ังน้ี ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ตัวชวี้ ัด ๑.๑ เป็นผลเมอื งท่ีดขี องชาติ ๑.๒ ธำรงไว้ซ่ึงความเป็นไทย ๑.๓ ศรัทธา ยึดมั่น และปฏบิ ตั ติ นตามหลักศาสนา ๑.๔ เคารพเทดิ ทนู สถาบันพระมหากษตั รยิ ์ ๒. ซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ ตัวชีว้ ดั ๒.๑ ประพฤตติ รงตามความเปน็ จรงิ ตอ่ คนเองทั้งกาย และวาจา ใจ ๒.๒ ประพฤติตรงตามเปน็ จริงต่อผอู้ ื่นท้งั กาย วาจา ใจ ๓. มวี นิ ยั ตวั ชี้วัด ๓.๑ ประพฤติตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บขอ้ บังคับของครอบครัว โรงเรียน และสงั คม ๔. ใฝ่เรยี นรู้ ตวั ชี้วดั ๔.๑ ตง้ั ใจเพยี รพยายามในการเรียน และเขา้ ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ ๔.๒ แสวงหาความรูร้ จู้ ากแหลง่ เรยี นรู้ตา่ ง ๆ ทัง้ ภายในและภายนอกโรงเรียนด้วยการ เลอื กใช้สอ่ื อย่างเหมาะสม สรุปเป็นองค์ความรู้ และสามารถนำไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ได้ ๕. อยอู่ ย่างพอเพียง ตวั ช้วี ดั ๕.๑ ดำเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม ๕.๒ มีภมู ิคมุ้ กันในตัวทีด่ ี ปรับตวั เพือ่ อยใู่ นสงั คมได้อย่างมีความสุข ๖. มุง่ มน่ั ในการทำงาน ตวั ชีว้ ัด ๖.๑ ต้งั ใจและรับผดิ ชอบในหนา้ ทกี่ ารงาน ๖.๒ ทำงานด้วยเพียรพยายามและอดทนเพื่อให้สำเร็จตามเปา้ หมาย ๗. รกั ความเปน็ ไทย ตวั ชวี้ ัด ๗.๑ ภาคภมู ิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมไทยและมีความกตัญญูกตเวที ๗.๒ เห็นคณุ ค่าและใชภ้ าษาไทยในการสื่อสารได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม ๗.๓ อนุรกั ษแ์ ละสืบทอดภมู ิปัญญาไทย

๘. มจี ติ สาธารณะ ตวั ชี้วัด ๘.๑ ชว่ ยเหลอื ผู้อ่ืนดว้ ยด้วยความเต็มใจโดยไมห่ วงั ผลตอบแทน ๘.๒ เขา้ ร่วมกิจกรรมทีเ่ ปน็ ประโยชน์ตอ่ โรงเรียน ชุมชน และสงั คม

แบบประเมินการนำเสนอ ลำดั รายการประเมนิ คุณภาพการปฏบิ ตั ิ บท่ี 4321 1 นำเสนอเน้อื หาในผลงานได้ถูกต้อง 2 การนำเสนอมีความนา่ สนใจ 3 ความเหมาะสมกบั เวลา 4 ความกล้าแสดงออก 5 บคุ ลิกภาพ นำ้ เสยี งเหมาะสม รวม ลงชื่อ..............................................................................ผปู้ ระเมิน ......................./.........................../........................ เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 4 คะแนน การนำเสนอผลงานสมบรู ณ์ชัดเจน ให้ 3 คะแนน การนำเสนอผลงานยงั มีข้อบกพร่องเล็กน้อย ให้ 2 คะแนน การนำเสนอผลงานยังมีขอ้ บกพร่องเปน็ สว่ นใหญ่ ให้ 1 คะแนน การนำเสนอผลงานมีขอ้ บกพรอ่ งมาก เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ระดับคุณภาพ ดีมาก ชว่ งคะแนน ดี 18-20 พอใช้ 14-17 ปรับปรุง 10-13 ต่ำกว่า 10

แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุม่ ลำดบั ชอ่ื – สกลุ ความร่วมมือ การแสดง การรบั ฟงั การตัง้ ใจ การร่วม รวม ท่ี ของผู้รบั 4321 ความคดิ เหน็ ความคดิ เหน็ ทำงาน ปรับปรงุ 20 การประเมนิ ผลงานกลุ่ม คะแนน 4321 4321 4321 4321 เกณฑ์การให้คะแนน = ลงชื่อ...................................................ผ้ปู ระเมิน ดีมาก = 4 ............../.................../................ ดี = 3 พอใช้ = 2 ปรบั ปรุง 1 เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั หมายเหตุ ครูอาจใชว้ ธิ ีการมอบหมายใหห้ วั หน้า คุณภาพ กลุม่ เป็นผู้ประเมนิ หรือให้ตัวแทนกลุม่ ผลัดกัน 14-16 ดมี าก ประเมนิ หรือใหม้ ีการประเมนิ โดยเพ่ือน โดยตัวนักเรียน 11-13 8-10 ดี เอง ตามความเหมาะสมกไ็ ด้ ตำ่ กวา่ 8 พอใช้ ปรับปรงุ

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เวลา ยคุ สมัย และวิธีการทางประวตั ิศาสตร์ เวลา 3 ช่ัวโมง ผงั มโนทศั น์เปา้ หมายการเรียนรแู้ ละขอบข่ายภาระงาน/ช้นิ งาน ดา้ นความรู้ 1. เวลา ศกั ราช และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 2. หลักฐานและวธิ กี ารทางประวัติศาสตร์ ด้านทักษะ/ เวลา ยคุ สมัย และ ด้านคุณธรรม กระบวนการ หลกั ฐานทาง จริยธรรม และค่านยิ ม 1. การส่ือสาร ประวัติศาสตร์ 2. การคิด1 1. มวี นิ ัย 3. การใช้เทคโนโลยี ภาระงาน/ชิ้นงาน 2. ใฝเ่ รียนรู้ 4. กระบวนการกลุ่ม 3. รับผดิ ชอบ 1. การทำแบบทดสอบ 4. มงุ่ มั่นในการทำงาน 2. การอภิปราย 3. การสำรวจ 4. การนำเสนอผลงาน

ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 เวลา ยุคสมัย และวิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร์ ขน้ั ท่ี 1 ผลลพั ธป์ ลายทางที่ตอ้ งการให้เกิดข้นึ กบั นกั เรียน ตวั ชวี้ ัดช่วงชั้น 1. ตระหนักถงึ ความสำคญั ของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตรท์ แ่ี สดงถึงการ เปล่ียนแปลง ของมนุษยชาติ (ส 4.1 ม. 4–6/1) 2. สร้างองค์ความรใู้ หม่ทางประวัติศาสตร์ โดยใช้วธิ ีการทางประวัติศาสตร์อยา่ งเป็นระบบ (ส 4.1 ม. 4–6/2) ความเขา้ ใจท่ีคงทนของนกั เรียน คำถามสำคญั ท่ที ำให้เกิดความเขา้ ใจที่คงทน นกั เรียนจะเข้าใจว่า... 1. เวลาและยุคสมัยทางประวัตศิ าสตรม์ ี 1. เวลาและยุคสมยั ทางประวัติศาสตร์มี ประโยชน์ ความสำคัญตอ่ การศึกษาประวัตศิ าสตร์ ตอ่ การศกึ ษาประวัติศาสตรอ์ ยา่ งไร เพราะ 2. เหตุใดจึงตอ้ งมกี ารแบง่ ยุคสมยั ทาง ทำให้รู้วา่ เหตุการณใ์ ดเกิดก่อน และ ประวัติศาสตร์ เหตกุ ารณ์ 3. วิธีการทางประวตั ิศาสตร์มีความสำคัญ ใดเกดิ ขึน้ ทีหลัง ทำใหเ้ ขา้ ใจเรอ่ื งราว ตอ่ ทาง การศึกษาประวัตศิ าสตร์อยา่ งไร ประวตั ศิ าสตร์ได้ดีขึ้น 2. การแบง่ ยุคสมัยทางประวตั ิศาสตรไ์ ทย แบง่ ออกเป็น 2 สมยั คือ สมัยก่อน ประวตั ศิ าสตร์ และสมัยประวัติศาสตร์ 3. การศกึ ษาประวตั ิศาสตร์ใชว้ ธิ ีการทาง ประวัติศาสตร์ ต้องอาศัยหลักฐานทาง ประวัติศาสตรเ์ พอ่ื ค้นหาข้อมูลต่าง ๆ อนั จะ นำไปสกู่ ารสรปุ ข้อเท็จจรงิ ทาง ประวตั ิศาสตร์ ความรู้ของนกั เรียนทน่ี ำไปสู่ความเข้าใจที่ ทักษะ/ความสามารถของนกั เรียนท่นี ำไปสู่ คงทน นกั เรยี นจะรู้ว่า... ความเข้าใจท่ีคงทน นักเรียนจะสามารถ...

1. คำสำคัญ ไดแ้ ก่ หลกั ฐานทาง 1. อธิบายความสำคัญของเวลาและยคุ สมยั ประวตั ศิ าสตร์ ทาง สมยั กอ่ นประวตั ิศาสตร์ สมยั ประวตั ิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ 2. นำวิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์มาใชศ้ กึ ษา วธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร์ หลักฐาน 2. เวลาและยุคสมยั ทางประวตั ศิ าสตร์มี ทางประวัติศาสตรไ์ ด้อยา่ งเหมาะสม ความสำคัญต่อการศึกษาประวตั ิศาสตร์ ทำใหร้ ้วู า่ เหตุการณใ์ ดเกดิ กอ่ น และ เหตุการณ์ ใดเกดิ ข้ึนทหี ลงั ทำใหเ้ ข้าใจเรอ่ื งราว ทาง ประวตั ิศาสตร์ได้ดีขน้ึ 3. การแบง่ ยุคสมัยทางประวตั ิศาสตรไ์ ทย แบ่งเปน็ 2 สมัย คือ สมยั กอ่ น ประวตั ิศาสตร์ ไดแ้ ก่ ยุคหินกับยคุ โลหะ สว่ นสมัย ประวตั ิศาสตร์ แบ่งย่อยไดห้ ลายแบบ เชน่ แบง่ ตามราชธานี แบ่งตามราชวงศ์ แบง่ ตาม พระนามพระมหากษัตริย์ แบ่งตาม พัฒนาการและความเปลย่ี นแปลงของ บา้ นเมอื ง แบ่งตามลักษณะการ ปกครอง แบง่ ตามสมัยของรัฐบาล และแบง่ ตาม แนว ประวตั ิศาสตร์สากล 4. วิธกี ารทางประวัติศาสตร์ เป็นวิธกี าร สืบค้น เรอ่ื งราวในอดตี อย่างเป็นระบบ โดยให้ ความสำคญั ในเรือ่ งการตรวจสอบ หลกั ฐาน

การประเมนิ ความนา่ เช่ือถือและคุณค่า ของ หลักฐาน รวมทง้ั การวิเคราะหต์ ีความ ข้อมูล ทางประวตั ิศาสตร์ ทั้งนีเ้ พอ่ื ใหไ้ ดม้ าซึง่ องค์ ความรใู้ หมบ่ นพ้นื ฐานความเป็นเหตุ เปน็ ผล โดยตอ้ งอาศยั หลกั ฐานทาง ประวตั ิศาสตร์ เชน่ หลักฐานทเ่ี ปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษรและ หลกั ฐานทไี่ มเ่ ปน็ ลายลักษณ์อกั ษร ส่วน วิธกี ารทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญมี 5 ขั้นตอน ไดแ้ ก่ การกำหนดปัญหา การ รวบรวมหลกั ฐาน การตรวจสอบและ ประเมนิ หลกั ฐาน การตคี วามหลักฐาน และ การเรียบเรียงและการนำเสนอ ขัน้ ที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรยี นรู้ซ่งึ เปน็ หลักฐานทแี่ สดงวา่ นักเรยี นมี ผลการเรยี นรู้ ตามท่ีกำหนดไว้อย่างแท้จริง 1. ภาระงานทน่ี ักเรียนต้องปฏิบตั ิ 1.1 อภิปรายเก่ยี วกับการแบ่งยุคสมัยทางประวตั ิศาสตร์ 1.2 สำรวจชมุ ชนเกย่ี วกับหลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ 1.3 ใช้วธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร์สืบค้นขอ้ มูลเก่ียวกับหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ 2. วธิ กี ารและเครอ่ื งมอื ประเมินผลการเรียนรู้ 2.1 วิธกี ารประเมินผลการเรยี นรู้ 2.2 เคร่อื งมือประเมนิ ผลการเรียนรู้ 1) การทดสอบ 1) แบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลัง 2) การประเมินผลงาน/กิจกรรมเปน็ เรียน

รายบคุ คลหรือเป็นกลมุ่ 2) แบบประเมนิ ผลงาน/กิจกรรม 3) การประเมนิ ดา้ นคุณธรรม เป็น จรยิ ธรรม รายบุคคลหรือเป็นกล่มุ และคา่ นิยม 3) แบบประเมนิ ดา้ นคุณธรรม 4) การประเมนิ ด้านทักษะ/ จริยธรรม กระบวนการ และค่านิยม 4) แบบประเมนิ ดา้ นทกั ษะ/ กระบวนการ 3. ส่ิงท่มี ุง่ ประเมิน 3.1 ความสามารถ 6 ด้าน ได้แก่ การอธิบาย ช้แี จง การแปลความและตีความ การประยกุ ต์ ดัดแปลง และนำไปใช้ การมมี ุมมองทห่ี ลากหลาย การให้ ความสำคัญและใสใ่ จในความร้สู กึ ของผู้อืน่ และ การรู้จกั ตนเอง 3.2 สมรรถนะสำคัญ ไดแ้ ก่ ความสามารถในการส่ือสาร ความสามารถในการ คิด ความสามารถในการ แก้ปญั หา ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต และความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี 3.3 คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ได้แก่ รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซอื่ สตั ย์สจุ ริต มี วนิ ัย ใฝเ่ รียนรู้ อยอู่ ย่าง พอเพียง มุ่งม่ันในการทำงาน รักความเปน็ ไทย และมจี ิตสาธารณะ ขั้นที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 1 เวลา ศักราช และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ เวลา 2 ช่ัวโมง แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 2 หลักฐานและวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ เวลา 1 ชั่วโมง

แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 1 เวลา ศักราช และยคุ สมัยทางประวตั ิศาสตร์ สาระที่ 4 ประวตั ิศาสตร์ เวลา 2 ชว่ั โมง หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 เวลา ยุคสมยั ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 4-6 วธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ 1. สาระสำคญั เวลาและยคุ สมัยทางประวัติศาสตรม์ ีความสำคัญต่อการศึกษาประวัตศิ าสตร์ ทำใหร้ ้วู ่า เหตุการณใ์ ดเกิดก่อน และเหตกุ ารณ์ใดเกดิ ข้ึนทีหลงั ทำให้เข้าใจเรือ่ งราวทางประวตั ศิ าสตรไ์ ด้ดีข้นึ การแบง่ ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยแบง่ เปน็ 2 สมัย คือ สมัยกอ่ นประวตั ิศาสตร์ ได้แก่ ยุคหนิ กับยคุ โลหะ ส่วนสมัยประวัติศาสตร์ แบง่ ยอ่ ยได้หลายแบบ เช่น แบง่ ตามราชธานี แบง่ ตาม ราชวงศ์ แบง่ ตามพระนามพระมหากษตั ริย์ แบง่ ตามพัฒนาการและความเปล่ียนแปลงของ บา้ นเมอื ง แบ่งตามลักษณะการปกครอง แบง่ ตามสมัยของรัฐบาล และแบ่งตามแนวประวตั ิศาสตร์ สากล 2. ตวั ชีว้ ัดช่วงช้นั • ตระหนักถึงความสำคญั ของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ท่แี สดงถงึ การ เปล่ียนแปลงของมนุษยชาติ (ส 4.1 ม. 4–6/1) 3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธบิ ายถงึ ความสำคญั ของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ได้ (K) 2. เหน็ คุณคา่ และความสำคญั ของเวลาและยุคสมัยทางประวตั ศิ าสตร์ (A) 3. วิเคราะหค์ วามสำคญั ของเวลาและยุคสมยั ทางประวตั ศิ าสตร์ (P)

4. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ (K) และค่านิยม (A) ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) • ประเมนิ พฤตกิ รรมในการ 1. ทดสอบกอ่ นเรยี น • ประเมนิ พฤตกิ รรมในการ ทำงานเปน็ รายบคุ คล 2. ซกั ถามความรเู้ รอื่ ง เวลา ทำงานเปน็ รายบุคคลใน และ ศักราช และยุคสมัยทาง ดา้ น เป็นกลมุ่ ในด้านการ สอ่ื สาร ประวัติศาสตร์ ความมวี ินัย ความใฝ่ การคิด การแกป้ ัญหา 3. ตรวจผลงาน/กิจกรรม เรยี นรู้ ฯลฯ เปน็ ฯลฯ รายบุคคลหรอื เป็นกลุ่ม 5. สาระการเรยี นรู้ 1. เวลาและยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร์ 2. การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย 6. แนวทางบูรณาการ ภาษาไทย ฟงั พูด อ่าน และเขียนข้อมูลเกี่ยวกับเวลา ศักราช และยุคสมัยทาง ประวัติศาสตร์ คณติ ศาสตร์ คำนวณเทยี บศักราช 7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ข้นั ท่ี 1 นำเขา้ ส่บู ทเรียน 1. ครูแจ้งตวั ชี้วัดช่วงชัน้ และจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ให้นกั เรยี นทราบ 2. ครใู หน้ ักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน 3. ครใู หน้ ักเรียนดปู ฏทิ นิ ท่ีมกี ารนบั แบบไทย และภาพเครอื่ งมอื หนิ กะเทาะยุคหินสมยั กอ่ น ประวัตศิ าสตร์ แล้วซักถามนักเรยี นว่า มีความสำคญั อย่างไร ให้นักเรียนช่วยกันแสดงความคดิ เหน็ จากน้นั ครูอธบิ ายสรุปเพ่ือเชอื่ มโยงเข้าสู่เนือ้ หาทจ่ี ะเรียน ขน้ั ท่ี 2 กจิ กรรมการเรียนรู้ เวลาและศักราช 4. ครูสนทนากับนักเรียนเกย่ี วกับเวลาและศกั ราช 5. ครูต้งั คำถามเก่ียวกบั เวลาและศักราช ตวั อย่างคำถาม 1) การนบั เวลาแบบไทยมีวิธกี ารนบั อยา่ งไร 2) การนับวัน เดอื น ข้นึ แรม ใช้เครื่องหมายอังค่นั เดยี่ วทำอยา่ งไร

3) การนบั พทุ ธศักราชแบบไทยและแบบลังกาแตกต่างกันหรอื ไม่ อยา่ งไร 6. นักเรียนช่วยกันตอบแล้วครอู ธบิ ายเพิ่มเติม 7. ครอู ธบิ ายเกีย่ วกบั ศกั ราชและการเทียบศกั ราช 8. ครสู มุ่ นกั เรียน 4–6 คน ออกมาคดิ วิธีเทียบพทุ ธศกั ราชเป็นศักราชอ่ืน ๆ บนกระดาน จากนนั้ ถามเพอ่ื น ๆ วา่ คิดได้ถกู ต้องหรือไม่ แล้วครอู ธิบายเพ่ิมเตมิ 9. ครใู ห้นกั เรียนกลุ่มเดมิ หาขา่ วหรือบทความที่ระบุปีศักราช แลว้ นำมาเทียบศักราชระบบ ต่าง ๆ วา่ ได้คำตอบเท่าไร 10. ครูใหก้ ลุ่มสง่ ตัวแทนออกมาอา่ นขา่ วหรือบทความหนา้ ชั้นเรียนพรอ้ มทั้งเทียบศักราชให้ เพื่อนรว่ มช้ันดู และเพื่อนร่วมชัน้ ชว่ ยกนั ตรวจสอบคำตอบ การแบง่ ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย 11. ครูอธิบายเกีย่ วกับการแบง่ ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย 12. ครจู ดั การเรยี นการสอนแบบอภิปรายโดยใช้เทคนิคระดมสมอง โดยปฏบิ ตั ิตามขั้นตอน ดงั น้ี ขั้นดำเนินการอภปิ ราย 1) ครแู จ้งหวั ขอ้ วตั ถปุ ระสงค์ และรูปแบบการอภปิ รายใหน้ ักเรยี นทราบ โดยเขียน ลงบน กระดานหรอื แผน่ ใสให้นักเรยี นดู หวั ข้ออภิปราย: การแบ่งยุคสมัยทางประวัตศิ าสตรไ์ ทย วตั ถุประสงค์ของการอภิปราย: เพอ่ื ใหน้ ักเรียนเห็นความสำคญั ของการแบง่ ยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร์ไทย 2) ใหน้ กั เรียนแบง่ กลุ่ม กล่มุ ละ 4–6 คน โดยแตล่ ะกล่มุ เลอื กประธาน 1 คน เลขานกุ าร กลมุ่ 1 คน เปน็ ผู้จดบนั ทึกความคิดเหน็ ของกลุ่ม 3) ให้แตล่ ะกลุ่มดำเนนิ การอภิปรายตามหัวขอ้ ทก่ี ำหนด ในขณะที่กลมุ่ ดำเนินการ อภปิ ราย ครคู อยสังเกตและกระตุน้ ให้ทุกคนไดแ้ สดงความคิดเหน็ กันอย่างเต็มท่ี ข้ันสรปุ อภิปราย 1) ใหแ้ ต่ละกลุ่มสรปุ บันทกึ ผลการอภิปราย 2) ตวั แทนกลมุ่ นำเสนอผลการอภปิ รายตอ่ ที่ประชุมหรือหน้าช้นั เรยี น 13. ครใู หน้ ักเรียนทำใบงานท่ี 1 เรือ่ ง การแบ่งยุคสมัยทางประวัตศิ าสตร์ 14. ครใู หน้ กั เรียนสืบคน้ วา่ ประเทศสมาชิกอาเซยี นแต่ละประเทศใช้ศักราชอะไรกันบ้าง บนั ทกึ ผลการสบื คน้ แล้วสรุปเป็นตาราง และเกบ็ เป็นความรู้เสริม

15. ในขณะนักเรียนปฏิบัติกจิ กรรม ใหค้ รูสงั เกตพฤตกิ รรมในการทำงานและการนำเสนอ ผลงานของนกั เรยี นตามแบบประเมนิ พฤตกิ รรมในการทำงานเปน็ รายบุคคลหรอื เป็นกล่มุ ข้นั ท่ี 3 ฝกึ ฝนผเู้ รียน 16. ครใู ห้นักเรียนทำกิจกรรมท่ีเก่ียวกบั เวลา ศักราช และยุคสมัยทางประวัตศิ าสตร์ ใน แบบฝกึ ทกั ษะ รายวิชาพน้ื ฐาน ประวัติศาสตร์ ม. 4-6 เล่ม 1 ของบริษัท สำนักพมิ พ์วฒั นาพานชิ จำกดั แลว้ ช่วยกันเฉลยคำตอบทีถ่ กู ตอ้ ง ขั้นท่ี 4 นำไปใช้ 17. ครูแนะนำใหน้ ักเรียนทำแผน่ พบั เพอ่ื เผยแพร่ความรู้เร่ือง เวลา ศกั ราช และยคุ สมัย ทางประวัติศาสตร์ ขั้นท่ี 5 สรุป 18. ครูและนักเรยี นร่วมกันสรปุ ความรู้เร่อื ง เวลา ศกั ราช และยุคสมัยทาง ประวัตศิ าสตร์ โดยใหน้ กั เรียนสรุปเปน็ แผนทคี่ วามคิด 8. กจิ กรรมเสนอแนะ ครใู หน้ ักเรียนแบง่ กลุ่ม กลุ่มละ 4–6 คน ศกึ ษาคน้ ควา้ เพ่ิมเตมิ เรอ่ื ง เวลา ศกั ราช และยคุ สมยั ทางประวัตศิ าสตร์ จากนน้ั นำมาจดั ทำเป็นรายงาน 9. สอื่ /แหล่งการเรยี นรู้ 1. แบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลังเรียน 2. ปฏทิ นิ ทม่ี กี ารนบั แบบไทย และภาพเคร่ืองมอื หนิ กะเทาะยคุ หนิ สมัยกอ่ นประวัติศาสตร์ 3. ใบงานที่ 1 เรือ่ ง การแบง่ ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 4. หนังสือเรียน รายวิชาพนื้ ฐาน ประวตั ิศาสตร์ ม. 4–6 เล่ม 1 บริษัท สำนักพิมพ์ วัฒนาพานชิ จำกัด 5. แบบฝึกทักษะ รายวิชาพน้ื ฐาน ประวัติศาสตร์ ม. 4–6 เลม่ 1 บรษิ ทั สำนักพิมพ์ วฒั นาพานิช จำกัด 10. บนั ทึกหลงั การจัดการเรียนรู้ 1. ความสำเร็จในการจดั การเรียนรู้ แนวทางการพัฒนา 2. ปญั หา/อปุ สรรคในการจัดการเรียนรู้ แนวทางแก้ไข 3. สิง่ ทไี่ ม่ไดป้ ฏบิ ัติตามแผน เหตผุ ล 4. การปรบั ปรุงแผนการจัดการเรยี นรู้ ลงชอื่ ผู้สอน //

แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 2 เวลา 1 ช่ัวโมง หลักฐานและวิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4-6 เล่ม 1 สาระที่ 4 ประวตั ศิ าสตร์ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 เวลา ยุคสมยั และวธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร์ 1. สาระสำคญั หลักฐานทางประวัติศาสตร์เป็นร่องรอยการกระทำของมนุษย์หรือร่องรอยของอดีต ใน การศึกษาประวัติศาสตร์จำเป็นต้องอาศัยหลักฐานหรือร่องรอยต่าง ๆ เกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ มา ศกึ ษา วิเคราะห์ ตีความข้อมูลทไ่ี ด้ และตรวจสอบความถกู ตอ้ งของเรอ่ื งราวหรอื เหตกุ ารณ์นน้ั ๆ การศึกษาประวัติศาสตร์โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ ต้องอาศัยหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์เพ่ือค้นหาข้อมูลต่าง ๆ อันจะนำไปสู่การสรุปข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ มี 5 ข้ันตอน คือ การกำหนดปัญหาหรือเร่ืองที่จะศึกษา การรวบรวมหลักฐาน การตรวจสอบและ ประเมินหลกั ฐาน การตคี วามหลกั ฐาน การเรยี บเรียงและนำเสนอ 2. ตัวช้วี ัดชว่ งช้ัน • สร้างองคค์ วามรูใ้ หม่ทางประวัติศาสตร์ โดยใช้วิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์อย่างเปน็ ระบบ (ส 4.1 ม. 4–6/2) 3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธบิ ายหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์และวิธีการทางประวตั ศิ าสตรไ์ ด้ (K) 2. มคี วามสนใจศกึ ษาเกี่ยวกบั หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ (A) 3. นำวธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร์มาใชศ้ กึ ษาหลกั ฐานทางประวัติศาสตรไ์ ด้อยา่ งเหมาะสม (P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ (K) และคา่ นิยม (A) ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) • ประเมินพฤติกรรมในการ 1. ทดสอบหลงั เรียน • ประเมินพฤติกรรมในการ ทำงานเป็นรายบคุ คล 2. ซักถามความรเู้ รือ่ ง ทำงานเป็นรายบคุ คลใน และ หลกั ฐานและวิธีการ ด้าน เปน็ กล่มุ ในด้านการ ส่อื สาร ทาง ความมีวนิ ัย ความใฝ่ การคดิ การแกป้ ญั หา ประวตั ศิ าสตร์ เรียนรู้ ฯลฯ 3. ตรวจผลงาน/กจิ กรรม ฯลฯ เป็น รายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม 5. สาระการเรยี นรู้ • วธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร์ 1. หลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ 2. วิธกี ารทางประวัติศาสตร์ 6. แนวทางบูรณาการ ภาษาไทย  ฟัง พดู อา่ น และเขียนขอ้ มลู เก่ียวกบั หลักฐานและวธิ กี ารทาง ประวตั ศิ าสตร์ การงานอาชีพฯ  สบื ค้นความรูเ้ ก่ยี วกบั หลักฐานทางประวัติศาสตรใ์ นประเทศไทย 7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ข้นั ที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูแจง้ ตวั ช้ีวดั ช่วงช้นั และจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ให้นักเรยี นทราบ 2. ครูให้นักเรียนดูภาพเบา้ ดนิ เผา ทบี่ ้านนาดี จังหวดั อดุ รธานี ภาพหมอ้ สามขา ทบ่ี ้านเกา่ จงั หวดั กาญจนบุรี แล้วซกั ถามนกั เรียนวา่ ใครเคยเห็นของจริงบ้าง นักเรยี นช่วยกันตอบ ครู อธบิ ายเพือ่ เชือ่ มโยงเขา้ ส่เู น้ือหาที่จะเรยี น ขั้นที่ 2 กจิ กรรมการเรียนรู้ หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ 3. ครูสนทนากบั นักเรยี นศึกษาเกี่ยวกับหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ 4. ครถู ามนักเรียนวา่ รจู้ กั หลักฐานทางประวัติศาสตร์อะไรบา้ ง

5. ครใู หน้ กั เรียนแบง่ กลุ่ม กลมุ่ ละ 4–6 คน สำรวจว่าชุมชนของตนเองมีหลกั ฐานทาง ประวตั ศิ าสตรอ์ ะไรบ้าง แล้วบนั ทกึ ลงในแบบสำรวจ 6. ครใู หน้ ักเรียนสำรวจหลักฐานทางประวัติศาสตรท์ ่ีเปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษรเก่ียวกับการ จัดตั้งสมาคมประชาชาตแิ หง่ เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้หรืออาเซียน วา่ มอี ะไรบา้ ง บันทึกผลการ สำรวจ แลว้ นำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กนั ในชนั้ เรียน วิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์ 7. ครอู ธิบายวิธีการทางประวัติศาสตร์ว่ามีขน้ั ตอนอะไรบ้าง โดยใช้แผนภมู ิขั้นตอนของ วธิ ีการทางประวัติศาสตรป์ ระกอบ แล้วเปดิ โอกาสให้นกั เรียนซักถาม 8. ครสู นทนากับนักเรียนเกย่ี วกบั การใช้วธิ ีการทางประวตั ิศาสตรใ์ นการศกึ ษา ประวัติศาสตร์ โดยใชข้ ้อมูลจากสือ่ การเรียนร้ตู า่ ง ๆ 9. ครใู หน้ กั เรียนทำใบงานท่ี 2 เรื่อง หลักฐานทางประวตั ศิ าสตรใ์ นประเทศไทย จากน้ัน ครูใหน้ ักเรียนบนั ทกึ ความรทู้ ีไ่ ด้ลงในแบบบันทึก 10. ในขณะนักเรียนปฏิบัติกจิ กรรม ให้ครูสงั เกตพฤติกรรมในการทำงานและการนำเสนอ ผลงานของนกั เรยี นตามแบบประเมนิ พฤตกิ รรมในการทำงานเปน็ รายบุคคลหรอื เปน็ กลุ่ม ข้ันที่ 3 ฝกึ ฝนผเู้ รียน 12. ครูให้นกั เรียนทำกิจกรรมท่ีเกี่ยวกับ หลกั ฐานและวิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์ และ แบบทดสอบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ประจำหนว่ ยการเรียนรู้ ในแบบฝกึ ทกั ษะ รายวิชา พ้นื ฐาน ประวตั ิศาสตร์ ม. 4-6 เล่ม 1 ของบรษิ ัท สำนักพมิ พ์วฒั นาพานชิ จำกดั แลว้ ช่วยกัน เฉลยคำตอบที่ถกู ตอ้ ง ขั้นท่ี 4 นำไปใช้ 13. ครใู หน้ ักเรียนนำประโยชน์จากการเรียนรูเ้ ร่ือง หลักฐานและวธิ กี ารทาง ประวัตศิ าสตร์ ไปเผยแพร่ความรใู้ หก้ บั ผอู้ ืน่ ได้ ข้ันที่ 5 สรปุ 14. ครูและนกั เรยี นร่วมกนั สรุปความรู้เรือ่ ง หลักฐานและวิธีการทางประวตั ิศาสตร์ โดยใหน้ ักเรียนสรุปเปน็ แผนทค่ี วามคิด 15. ครใู ห้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรยี นและช่วยกันเฉลยคำตอบ 8. กิจกรรมเสนอแนะ ครใู ห้นกั เรียนศึกษาเพิม่ เติมเก่ยี วกับเวลา ยุคสมยั และวิธีการทางประวัติศาสตร์ แล้วนำผล การศึกษามาจัดทำเปน็ รายงาน 9. สอื่ /แหล่งการเรยี นรู้

1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียน 2. ภาพเบ้าดนิ เผา ทบ่ี า้ นนาดี จังหวัดอดุ รธานี ภาพหมอ้ สามขา ทบ่ี ้านเกา่ จังหวัด กาญจนบุรี 3. ใบงานท่ี 2 เรอื่ ง หลกั ฐานทางประวัติศาสตรใ์ นประเทศไทย 4. แบบบนั ทึกการสำรวจ 5. หนังสอื เรียน รายวชิ าพนื้ ฐาน ประวตั ิศาสตร์ ม. 4–6 เลม่ 1 บริษทั สำนกั พิมพ์ วัฒนาพานชิ จำกัด 6. แบบฝกึ ทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ประวตั ิศาสตร์ ม. 4–6 เลม่ 1 บรษิ ทั สำนักพิมพ์ วัฒนาพานิช จำกดั 10. บนั ทึกหลงั การจดั การเรยี นรู้ ผู้สอน // 1. ความสำเรจ็ ในการจดั การเรยี นรู้ 10. บแันนทวึกทหางลกังากราพรฒั จดันกาารเรยี นรู้ 2. ปญั หา/อุปสรรคในการจัดการเรยี นรู้ แนวทางแกไ้ ข 3. ส่งิ ท่ีไมไ่ ด้ปฏบิ ัตติ ามแผน เหตผุ ล 4. การปรบั ปรุงแผนการจัดการเรยี นรู้ ลงชอ่ื

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 2 การตั้งถนิ่ ฐานในดนิ แดนไทย เวลา 3 ช่ัวโมง ผังมโนทศั น์เป้าหมายการเรียนรู้และขอบขา่ ยภาระงาน/ชนิ้ งาน ด้านความรู้ 1. ถิน่ เดิมของชนชาตไิ ทย 2. การต้ังถ่นิ ฐานในดนิ แดนไทย 3. รฐั โบราณในดินแดนไทย ด้านทักษะ/ การตั้งถิ่นฐาน ด้านคุณธรรม กระบวนการ ในดนิ แดนไทย จรยิ ธรรม และค่านิยม 1. การสอ่ื สาร 2. การคดิ 1. ความมีวนิ ัย 3. การใช้เทคโนโลยี 2. ใฝ่เรยี นรู้ 4. กระบวนการกลุ่ม 3. รบั ผิดชอบ 4. มงุ่ มั่นในการทำงาน ภาระงาน/ช้ินงาน 1. การทำแบบทดสอบ 2. การสืบค้นขอ้ มูล 3. การวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็น 4. การอภปิ รายแสดงความคิดเหน็ 5. การสบื ค้นข้อมลู 6. การนำเสนอผลงาน

ผงั การออกแบบการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 2 การต้ังถิน่ ฐานในดนิ แดนไทย ขั้นท่ี 1 ผลลพั ธป์ ลายทางท่ีต้องการใหเ้ กิดขึ้นกบั นกั เรยี น ตวั ช้ีวัดช่วงชั้น • วิเคราะหป์ ระเด็นสำคัญของประวตั ิศาสตร์ไทย (ส 4.3 ม. 4–6/1) ความเขา้ ใจท่ีคงทนของนักเรยี น นกั เรียนจะ คำถามสำคญั ทท่ี ำให้เกดิ ความเขา้ ใจที่ เข้าใจว่า... คงทน ปัจจุบนั การศกึ ษาประวัติศาสตรบ์ าง เพราะเหตุใดประเด็นในการศกึ ษา ประเดน็ ยังไมม่ ีขอ้ สรปุ ทแี่ น่นอน ซ่งึ ผลสรุปของ ประวัติศาสตร์จงึ หาข้อสรุปท่แี นช่ ัดไมไ่ ด้ การศกึ ษาประวัติศาสตรน์ ั้นอาจเปลยี่ นแปลง แล้วเราจะศกึ ษาประวัติศาสตร์ไดอ้ ยา่ งไร หรอื แกไ้ ขได้หากมีการค้นพบหลักฐานใหม่ ๆ ที่ นา่ เชอื่ ถอื ความรู้ของนักเรียนทนี่ ำไปสู่ความเขา้ ใจทคี่ งทน ทกั ษะ/ความสามารถของนักเรียนท่ี นักเรยี นจะรู้วา่ ... นำไปสู่ 1. คำสำคญั ได้แก่ การต้ังถิ่นฐาน แอ่งโคราช ความเขา้ ใจท่ีคงทน นกั เรียนจะสามารถ แอ่งสกลนคร รัฐโบราณ ... 2. การศึกษาประวัตศิ าสตร์เก่ียวกบั 1. อธบิ ายแนวคิดที่เกี่ยวกับถน่ิ เดมิ ของ แนวความคิดเรื่อง ชนชาตไิ ทย ถ่ินเดมิ ของชนชาตไิ ทย มีแนวความคดิ 2. วิเคราะห์ประเด็นการศึกษาเกี่ยวกบั เกย่ี วกับเรื่องน้ีอยู่ 5 แนวคิด ซึ่งผูท้ ี่เสนอแนว ถ่ินเดมิ ของชนชาติไทย ความนดิ ตา่ ง ๆ สันนิษฐานโดยตีความและ 3. บอกปจั จยั ทีม่ อี ทิ ธิพลต่อลกั ษณะการ อา้ งอิงข้อมลู และหลกั ฐานทีแ่ ตกตา่ งกนั ต้งั 3. การศกึ ษาเรื่องการตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย ถนิ่ ฐานในดนิ แดนไทย เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลจากหลักฐานทางด้าน 4. วิเคราะหป์ ระเด็นการศึกษาเกยี่ วกับ โบราณคดที ่ีคน้ พบและขอ้ มูลจากเอกสาร การ ชาวต่างชาติ ทำให้ทราบว่าดินแดนในประเทศ ตั้งถน่ิ ฐานในดนิ แดนไทย ไทยมมี นุษยเ์ ข้ามาตงั้ 5. อธบิ ายลักษณะของรัฐโบราณใน ถิ่นฐานเมอ่ื หลายพันปีก่อน ปจั จัยสำคัญ ดนิ แดนของประเทศไทย ท่มี ีผลต่อลักษณะการตง้ั ถิ่นฐานของมนุษย์ คือ ปจั จัยทางกายภาพและปจั จัยทางสงั คม 4. รฐั โบราณทีต่ ้ังถ่ินฐานในดินแดนไทยมรี ฐั ทสี่ ำคญั ไดแ้ ก่ แควน้ ตามพรลงิ คห์ รอื แควน้

นครศรีธรรมราช อาณาจักรทวารวดี อาณาจักรศรีวิชัย แควน้ ละโว้หรอื ลพบรุ ี และ แคว้นหริภุญชัย ข้นั ท่ี 2 ภาระงานและการประเมนิ ผลการเรียนรซู้ ึ่งเป็นหลักฐานทแ่ี สดงว่านักเรียนมีผลการเรียนรู้ ตามทีก่ ำหนดไว้อยา่ งแทจ้ รงิ 1. ภาระงานทนี่ ักเรียนต้องปฏบิ ัติ 1.1 สืบคน้ ข้อมูลเกย่ี วกบั ถนิ่ เดมิ ของชนชาติไทยและการต้งั ถ่ินฐานในดินแดนไทย 1.2 วิเคราะห์และแสดงความคดิ เหน็ เกี่ยวกบั ถ่ินเดิมของชนชาติไทยและการตงั้ ถ่ินฐานในดินแดนไทย 1.3 อภิปรายแสดงความคดิ เห็นเกย่ี วกบั รฐั โบราณในดินแดนไทย 1.4 สบื ค้นข้อมูลเกี่ยวกบั รัฐโบราณในดินแดนไทย 2. วธิ ีการและเครอ่ื งมอื ประเมนิ ผลการเรียนรู้ 2.1 วิธกี ารประเมนิ ผลการเรียนรู้ 2.2 เครอื่ งมอื ประเมนิ ผลการเรียนรู้ 1) การทดสอบ 1) แบบทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรียน 2) การประเมินผลงาน/กิจกรรมเปน็ 2) แบบประเมินผลงาน/กจิ กรรมเป็น รายบคุ คลหรอื เปน็ กลุ่ม รายบคุ คลหรือเป็นกลมุ่ 3) การประเมินด้านคุณธรรม 3) แบบประเมนิ ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม จริยธรรม และคา่ นิยม และค่านิยม 4) แบบประเมินด้านทกั ษะ/กระบวนการ 4) การประเมินด้านทกั ษะ/ กระบวนการ 3. สิ่งท่ีมุ่งประเมนิ 3.1 ความสามารถ 6 ด้าน ได้แก่ การอธิบาย ช้ีแจง การแปลความและตคี วาม การ ประยกุ ต์ ดัดแปลง และนำไปใช้ การมีมมุ มองที่หลากหลาย การใหค้ วามสำคญั และใส่ใจในความรสู้ ึกของ ผู้อื่น และ การรจู้ กั ตนเอง 3.2 สมรรถนะสำคัญ ได้แก่ ความสามารถในการสอื่ สาร ความสามารถในการคิด ความสามารถ ในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต และความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 3.3 คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ได้แก่ รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ซอ่ื สตั ย์สจุ ริต มวี ินยั ใฝ่ เรยี นรู้ อยู่อย่างพอเพียง ม่งุ มนั่ ในการทำงาน รักความเปน็ ไทย และมจี ติ สาธารณะ

ขนั้ ท่ี 3 แผนการจัดการเรียนรู้ เวลา 1 ชัว่ โมง แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 4 ถนิ่ เดมิ ของชนชาตไิ ทยและการตัง้ ถนิ่ ฐานในดินแดนไทย เวลา 1 ช่ัวโมง แผนการจี ัดการเรียนรทู้ ่ี 5 แคว้นตามพรลงิ ค์และอาณาจกั รทวารวดี เวลา 1 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 6 อาณาจกั รศรีวชิ ัย แคว้นละโวห้ รือลพบรุ ี และแคว้นหริภญุ ชัย

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 3 เวลา 1 ช่วั โมง ถ่ินเดิมของชนชาติไทยและการตัง้ ถ่นิ ฐานในดนิ แดนไทย ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 สาระที่ 4 ประวตั ิศาสตร์ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 การต้งั ถ่ินฐานในดินแดนไทย 1. สาระสำคญั การศึกษาเร่อื งถน่ิ เดมิ ของชนชาตไิ ทย ยังมหี ลกั ฐานไมเ่ พยี งพอท่ีจะสรุปเปน็ ข้อยุติไดแ้ นน่ อน ว่าถน่ิ เดิมของชนชาตไิ ทยอย่ทู ไ่ี หน มแี นวคิดต่าง ๆ ทีย่ งั จะตอ้ งศึกษาคน้ คว้าต่อไป 2. ตัวชี้วัดชว่ งช้ัน • วิเคราะห์ประเด็นสำคญั ของประวตั ิศาสตร์ไทย (ส 4.3 ม. 4–6/1) 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายถิน่ เดิมของชนชาตไิ ทยและการต้ังถิ่นฐานในดินแดนไทยได้ (K) 2. มคี วามสนใจใฝร่ ู้ท่ีจะศกึ ษาเร่ืองถน่ิ เดิมของชนชาติไทยและการตง้ั ถ่ินฐานในดินแดนไทย (A) 3. สืบคน้ ขอ้ มูลและวิเคราะห์ถิ่นเดิมของชนชาตไิ ทยและการตั้งถ่นิ ฐานในดนิ แดนไทย (P) 4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ดา้ นความรู้ (K) และคา่ นิยม (A) ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) • ประเมินพฤตกิ รรมในการ 1. ทดสอบก่อนเรียน • ประเมนิ พฤติกรรมในการ ทำงานเปน็ รายบคุ คล 2. ซักถามความรเู้ ร่อื ง ทำงานเปน็ รายบคุ คลใน และ ถ่ินเดมิ ของชนชาติไทย ด้าน เปน็ กลุ่มในด้านการ สอื่ สาร และ ความมวี นิ ัย ใฝ่เรียนรู้ การคิด การแก้ปัญหา การตั้งถ่นิ ฐานใน ฯลฯ ฯลฯ ดนิ แดนไทย 3. ตรวจผลงาน/กิจกรรม เป็น รายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม

5. สาระการเรียนรู้ 1. ถิ่นเดินของชนชาตไิ ทย 2. การตง้ั ถ่นิ ฐานในดนิ แดนไทย 6. แนวทางการบูรณาการ ฟัง พดู อ่าน และเขยี นเรื่อง ถน่ิ เดมิ ของของชนชาติไทย ภาษาไทย  และการต้ังถิน่ ฐานในดินแดนไทย สบื ค้นขอ้ มลู เก่ียวกบั ถิน่ เดิมของชนชาติไทย การงานอาชีพฯ  7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ข้นั ที่ 1 นำเข้าสูบ่ ทเรียน 1. ครแู จง้ ตวั ช้ีวดั ช่วงชน้ั และจดุ ประสงค์การเรียนรู้ให้นกั เรยี นทราบ 2. ครูใหน้ กั เรียนทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น 3. ครูให้นักเรียนดแู ผนทท่ี วีปเอเชีย แล้วถามวา่ คนไทยมาจากไหน ถิน่ เดิมของชนชาติไทย อยู่ ท่ไี หน พรอ้ มท้งั ให้นักเรยี นออกมาชี้แผนทป่ี ระกอบ จากนัน้ ครสู รุปเพื่อเช่ือมโยงเขา้ สู่เนือ้ หาที่ จะเรยี น ขั้นท่ี 2 กิจกรรมการเรียนรู้ ถิ่นเดมิ ของชนชาติไทย 4. ครูสนทนากบั นกั เรยี นเกยี่ วกบั ถ่ินเดมิ ของชนชาตไิ ทย 5. ครูใหน้ ักเรียนแบง่ ออกเป็น 5 กลุ่ม แต่ละกลุ่มสืบคน้ ข้อมลู เก่ยี วกบั เรื่องต่อไปนี้ กลุ่มที่ 1 ถ่ินเดมิ ของชนชาติไทยอยบู่ ริเวณตอนกลางของจีน กลุ่มที่ 2 ชนชาติไทยเป็นเช้อื สายมองโกลมถี น่ิ เดมิ อยู่แถบเทือกเขาอัลไต กลุ่มท่ี 3 ถ่ินเดมิ ของชนชาติไทยอย่บู ริเวณตอนใต้ของจนี กลมุ่ ท่ี 4 ถ่นิ เดิมของชนชาติไทยอย่ใู นคาบสมทุ รมลายแู ละหมเู่ กาะอนิ โดนีเซีย กล่มุ ที่ 5 ถิน่ เดมิ ของชนชาติไทยอยูใ่ นประเทศไทยปัจจุบนั 6. ครูใหแ้ ต่ละกลมุ่ วิเคราะห์สรุป แลว้ บันทึกผลการสืบคน้ จากนน้ั นำมารายงานให้เพื่อนฟงั แล้วเพ่ือน ๆ แสดงความคิดเห็น จากนัน้ ใหน้ ักเรยี นทำใบงาน เรอ่ื ง ถน่ิ เดิมของชนชาติไทยใน ความคิดของนกั วิชาการการต้ังถ่ินฐานในดนิ แดนไทย 7. ครสู นทนากับนกั เรยี นเกีย่ วกับการตัง้ ถนิ่ ฐานในดินแดนไทย 8. ครใู หน้ ักเรียนศกึ ษาค้นควา้ เก่ียวกับการตั้งถน่ิ ฐานในดินแดนไทย ครถู ามคำถามนกั เรยี น ตวั อย่างคำถาม

1) ปจั จัยท่มี ีอทิ ธิพลต่อการตงั้ ถน่ิ ฐานของมนษุ ย์ในดินแดนไทยมีอะไรบ้าง 2) เหตใุ ดจงึ เรียกชอ่ื วัฒนธรรมยุคโลหะในแอ่งสกลนครวา่ วฒั นธรรมบ้านเชียง 3) การตงั้ ถ่นิ ฐานของชุมชนสมยั ก่อนประวัติศาสตรใ์ นภาคกลางพบมากในบริเวณ ใด 4) ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศภาคใตข้ องไทยเป็นอย่างไร จากนน้ั นักเรยี นตอบคำถามแล้วครูอธบิ ายเพ่ิมเติม 9. ครใู ห้นกั เรียนเปรียบเทียบปจั จยั ท่ีมีอิทธิพลต่อการตั้งถน่ิ ฐานในดนิ แดนไทยกบั ของดินแดนประเทศสมาชิกอาเซียน สรปุ และบนั ทกึ ผล 10. ในขณะปฏิบัตกิ ิจกรรมของนกั เรียน ให้ครูสังเกตพฤติกรรมในการทำงานและ การนำเสนอผลงานของนกั เรียนตามแบบประเมินพฤติกรรมในการทำงานเป็นรายบุคคลหรือเปน็ กลุ่ม ขั้นท่ี 3 ฝกึ ฝนผเู้ รียน 11. ครใู ห้นักเรียนทำกิจกรรมทเ่ี ก่ียวกบั ถน่ิ เดมิ ของชนชาตไิ ทยและการตั้งถนิ่ ฐานใน ดนิ แดนไทย ในแบบฝึกทกั ษะ รายวิชาพ้นื ฐาน ประวัตศิ าสตร์ ม. 4-6 เล่ม 1 ของบริษทั สำนักพมิ พว์ ัฒนาพานิช จำกัด แลว้ ชว่ ยกนั เฉลยคำตอบท่ีถูกต้อง ขั้นที่ 4 นำไปใช้ 12. ครใู หน้ กั เรียนทำแผ่นพบั เกีย่ วกับถ่นิ เดมิ ของชนชาตไิ ทยและการต้ังถนิ่ ฐานใน ดินแดนไทยเพ่อื เผยแพร่ความรู้ ขั้นท่ี 5 สรปุ 13. ครแู ละนักเรียนร่วมกนั สรปุ ความรเู้ ร่ือง ถน่ิ เดิมของชนชาติไทยและการต้ังถ่ินฐานใน ดินแดนไทยลงในสมุด 8. กจิ กรรมเสนอแนะ ครูใหน้ ักเรียนแบง่ กลมุ่ กลุ่มละ 4–6 คน รว่ มกันอภิปรายเกี่ยวกับถิ่นเดิมของชนชาติไทย และการต้ังถ่นิ ฐานในดินแดนไทย และนำข้อมูลมาแลกเปล่ียนเรียนร้กู ันในชัน้ เรียน 9. สอื่ /แหล่งการเรยี นรู้ 1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 2. แผนทท่ี วปี เอเชยี 3. แบบบนั ทกึ ผลการสบื ค้นขอ้ มลู เรอื่ ง ถ่ินเดมิ ของชนชาตไิ ทย

4. ใบงาน เรอ่ื ง ถิ่นเดมิ ของชนชาตไิ ทยในความคดิ ของนักวิชาการ 5. หนงั สอื เรียน รายวชิ าพ้นื ฐาน ประวตั ิศาสตร์ ม. 4–6 เล่ม 1 บริษัทสำนักพมิ พว์ ัฒนา พานชิ จำกดั 6. แบบฝึกทักษะ รายวิชาพ้ืนฐาน ประวัติศาสตร์ ม. 4–6 เล่ม 1 บรษิ ัท สำนักพมิ พ์ วฒั นาพานิช จำกดั 10. บนั ทกึ หลงั การจดั การเรยี นรู้ 1. ความสำเร็จในการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการพัฒนา 2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้ แนวทางแก้ไข 3. สง่ิ ท่ไี มไ่ ดป้ ฏบิ ตั ติ ามแผน เหตุผล 4. การปรบั ปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ ลงช่ือ ผู้สอน //

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 4 แควน้ ตามพรลิงค์และอาณาจักรทวารวดี สาระที่ 4 ประวตั ิศาสตร์ เวลา 1 ชว่ั โมง หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 การตัง้ ถิ่นฐานในดินแดนไทย ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4- 6 1. สาระสำคญั แคว้นตามพรลิงค์หรือแคว้นนครศรีธรรมราช (ประมาณพุทธศตวรรษที่ 7–19) จีนเรียกว่า ตันมาลิง แคว้นตามพรลิงค์ตั้งข้ึนเมื่อประมาณพุทธศตวรรษท่ี 7 เมื่อถึงพุทธศตวรรษที่ 18 ได้ เปล่ียนช่ือเป็นแคว้นนครศรธี รรมราช ศูนย์กลางอำนาจและการค้าอยู่ท่ีเมอื งนครศรีธรรมราช และ เปน็ แหล่งวัฒนธรรมภายนอก คืออินเดยี และลงั กา ศาสนาที่นบั ถือมีท้ังศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และ พระพุทธศาสนานิกายมหายานและเถรวาท จนปลายพุทธศตวรรษท่ี 18 นครศรีธรรมราชมี ความสัมพันธ์กับลังกา จึงรับพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทแบบลังกาวงศ์เข้ามาสู่ดินแดนประเทศ ไทย และกลายเป็นศูนย์กลางเผยแผ่พระพุทธศาสนา และนำมาเผยแผ่ที่สุโขทัย แคว้น นครศรีธรรมราชตกอยู่ภายใต้อิทธพิ ลของอาณาจกั รสุโขทยั ในสมยั พ่อขนุ รามคำแหงมหาราช ต่อมา เมื่อตั้งอาณาจักรอยุธยาข้ึนใน พ.ศ. 1893 แคว้นนครศรีธรรมราชก็ถูกรวมเข้ากับอาณาจักร อาณาจักรอยธุ ยา อาณาจักรทวารวดี (ประมาณพุทธศตวรรษท่ี 12–16) เป็นอาณาจักรในภาคกลางของ ดินแดนประเทศไทย ศูนย์กลางอำนาจอยทู่ ี่เมืองนครปฐมโบราณ (นครชัยศรี หรือเมอื งอูท่ อง หรือ เมืองลพบุรี) ชาวทวารวดีอาจเป็นชาวมอญ โดยสันนิษฐานจากการค้นพบจารึกภาษามอญโบราณ หลายหลัก ทวารวดีรับอารยธรรมมาจากอินเดีย นับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท ซึ่งจะเห็นได้ จากศิลปกรรมทางพระพุทธศาสนา เช่น พระพุทธรูป พระพิมพ์ ธรรมจักรและกวางหมอบ จารึก คาถา เย ธมฺมา และสถูปเจดีย์ขนาดใหญ่ อาณาจักรทวารวดีส้ินสุดลงในราวพุทธศตวรรษท่ี 16 เนือ่ งจากเขมรแผ่อำนาจเขา้ มายังภาคกลางของดินแดนประเทศไทย 2. ตัวช้วี ัดชว่ งชั้น • วเิ คราะห์ประเด็นสำคัญของประวตั ิศาสตร์ไทย (ส 4.3 ม. 4–6/1) 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. บอกความเปน็ มาของแควน้ ตามพรลิงค์หรือแคว้นนครศรีธรรมราชและอาณาจักรทวาร วดไี ด้ (K) 2. ตระหนกั และเหน็ ความสำคญั ของแคว้นตามพรลงิ ค์หรือแควน้ นครศรธี รรมราชและ อาณาจกั รทวารวดี (A)

3. สบื ค้นขอ้ มูลเกย่ี วกับแควน้ ตามพรลิงค์หรอื แควน้ นครศรีธรรมราชและอาณาจักรทวารวดี ได้ (P) 4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ (K) และคา่ นิยม (A) ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) • ประเมนิ พฤติกรรมในการ 1. ซักถามความรู้เรือ่ ง • ประเมินพฤตกิ รรมในการ ทำงานเปน็ รายบคุ คล แควน้ ทำงานเปน็ รายบคุ คลใน และ ตามพรลงิ คแ์ ละ ด้านความมีวนิ ัย ความใฝ่ เปน็ กลุ่มในดา้ นการ สือ่ สาร อาณาจกั ร เรยี นรู้ ฯลฯ การคดิ การแกป้ ัญหา ทวารวดี ฯลฯ 2. ตรวจผลงาน/กิจกรรม เปน็ รายบคุ คลหรือเป็นกลุ่ม 5. สาระการเรียนรู้ 1. แควน้ ตามพรลิงคห์ รือแคว้นนครศรีธรรมราช 2. อาณาจกั รทวารวดี 6. แนวทางการบูรณาการ ฟัง พูด อ่าน และเขยี นข้อมลู เกย่ี วกบั แคว้นตามพรลิงคห์ รือแคว้น ภาษาไทย  นครศรีธรรมราชและอาณาจกั รทวารวดี จดั ป้ายนิเทศเกี่ยวกบั แคว้นตามพรลิงค์หรอื แควน้ นครศรีธรรมราช ศิลปะ  และอาณาจกั รทวารวดี 7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ข้นั ท่ี 1 นำเข้าส่บู ทเรียน 1. ครแู จง้ ตัวช้ีวัดช่วงชน้ั และจุดประสงคก์ ารเรียนร้ใู หน้ กั เรียนทราบ 2. ครูให้นักเรียนดูภาพพระบรมธาตเุ จดยี ์ วัดมหาธาตุมหาวรวหิ าร จังหวัด นครศรีธรรมราช และภาพเหรียญเงินสมัยทวารวดี แล้วถามวา่ นกั เรยี นเคยเห็นหรือไม่ นักเรยี น ชว่ ยกันตอบ ครสู รุปเพือ่ เชื่อมโยงเข้าสู่เน้ือหาที่จะเรยี น ข้ันท่ี 2 กจิ กรรมการเรยี นรู้

3. ครสู นทนากบั นกั เรียนเกี่ยวกับแควน้ ตามพรลงิ ค์หรอื แคว้นนครศรีธรรมราชและ อาณาจักรทวารวดี 4. ครูใหน้ ักเรียนแบง่ กลมุ่ กลมุ่ ละ 4–6 คน รว่ มกันอภิปรายแสดงความคิดเหน็ ในประเดน็ ต่อไปน้ี 1) แควน้ ตามพรลิงค์หรือแคว้นนครศรีธรรมราชมีศนู ยก์ ลางการคา้ อยทู่ ใี่ ด 2) เหตุใดจึงกลา่ ววา่ แควน้ ตามพรลงิ ค์หรือแคว้นนครศรธี รรมราชเปน็ ศนู ย์กลาง การเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา 3) อาณาจกั รทวารวดีอยู่ในภาคใดของดินแดนประเทศไทย 4) อาณาจกั รทวารวดีรบั อารยธรรมมาจากที่ใด 5. ครูใหน้ กั เรียนแต่ละกลุ่มเขียนคำถามลงในกระดาษแลว้ ส่งตวั แทนออกมานำเสนอผลงาน ดว้ ยรูปแบบทน่ี ่าสนใจ และนำผลงานมาติดทีป่ า้ ยนิเทศ จากนัน้ ครอู ธิบายเพ่มิ เติม 6. ในขณะปฏิบตั กิ ิจกรรมของนกั เรยี น ใหค้ รสู งั เกตพฤตกิ รรมในการทำงานและการ นำเสนอผลงานของนักเรยี นตามแบบประเมนิ พฤติกรรมในการทำงานเป็นรายบคุ คลหรือเป็นกลุ่ม ข้ันที่ 3 ฝกึ ฝนผูเ้ รียน 7. ครใู ห้นักเรียนทำกิจกรรมที่เก่ียวกับแควน้ ตามพรลงิ คห์ รอื แคว้นนครศรธี รรมราชและ อาณาจักรทวารวดี ในแบบฝกึ ทกั ษะ รายวชิ าพน้ื ฐาน ประวัตศิ าสตร์ ม. 4-6 เล่ม 1 ของบริษทั สำนกั พมิ พ์วฒั นาพานชิ จำกัด แลว้ ชว่ ยกนั เฉลยคำตอบท่ถี กู ต้อง ขน้ั ที่ 4 นำไปใช้ 8. ครูใหน้ ักเรียนคน้ ควา้ เกี่ยวกบั แควน้ ตามพรลงิ ค์หรือแควน้ นครศรีธรรมราชและ อาณาจกั ร ทวารวดี แลว้ นำผลงานของทกุ คนมาจดั ปา้ ยนิเทศ ขัน้ ที่ 5 สรุป 9. ครูและนกั เรยี นร่วมกันสรุปความรู้เร่อื ง แควน้ ตามพรลิงค์หรือแคว้นนครศรีธรรมราช และอาณาจกั รทวารวดี โดยใหน้ กั เรยี นสรุปเป็นแผนท่ีความคิด 8. กจิ กรรมเสนอแนะ ครูให้นักเรียนสรุปสาระสำคัญเก่ียวกบั แควน้ ตามพรลิงคห์ รอื แคว้นนครศรีธรรมราชและ อาณาจักรทวารวดีด้วยภาษาของตนเอง 9. สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 1. ภาพพระบรมธาตเุ จดีย์ วดั มหาธาตมุ หาวรวหิ าร จังหวดั นครศรีธรรมราช และภาพ เหรียญเงนิ สมัยทวารวดี

2. หนังสอื เรียน รายวชิ าพนื้ ฐาน ประวัติศาสตร์ ม. 4–6 เล่ม 1 บริษัท สำนักพิมพ์ วัฒนาพานิช จำกดั 3. แบบฝึกทกั ษะ รายวิชาพน้ื ฐาน ประวตั ิศาสตร์ ม. 4–6 เล่ม 1 บริษัท สำนักพมิ พ์ วัฒนาพานชิ จำกดั 10. บนั ทกึ หลังการจัดการเรียนรู้ 1. ความสำเรจ็ ในการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการพฒั นา 2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรยี นรู้ แนวทางแก้ไข 3. ส่งิ ที่ไมไ่ ด้ปฏิบัตติ ามแผน เหตผุ ล 4. การปรับปรุงแผนการจดั การเรียนรู้ ลงชอ่ื ผ้สู อน //

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 5 เวลา 1 ชั่วโมง อาณาจกั รศรีวชิ ัย แคว้นละโว้หรือลพบรุ ี และแควน้ หรภิ ุญชัย ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 4-6 สาระท่ี 4 ประวตั ศิ าสตร์ หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 2 การตง้ั ถน่ิ ฐานในดินแดนไทย 1. สาระสำคัญ อาณาจักรศรีวิชัย (ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13–18) อาณาจักรศรีวิชัยเดิมเป็นชุมชน โบราณที่ตั้งอยู่ริมฝ่ังทะเล เหมาะเป็นเมืองท่าทางการค้า ต่อมากลายเป็นศูนย์กลางทางการค้าที่ สำคัญ เพราะอยู่ในเส้นทางการค้าระหว่างจีนและอินเดีย มีการติดต่อค้าขายกับพ่อค้าอินเดีย จีน และอาหรับ ตั้งเป็นอาณาจักรเม่ือประมาณพุทธศตวรรษที่ 13 มีอาณาเขตครอบคลุมภาคใต้ของ ประเทศไทย ศรีวิชัยรับอารยธรรมอินเดีย ในระยะแรกนับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทและ ศาสนาพราหมณ์–ฮินดู ต่อมานับถือพระพุทธศาสนานิกายมหายาน ศิลปกรรมที่มีช่ือเสียง ได้แก่ รูปพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร อาณาจักรนี้สิ้นสุดลงในปลายพุทธศตวรรษที่ 18 เน่ืองจากถูกพวก โจฬะรกุ ราน แคว้นละโว้หรอื ลพบุรี (ประมาณพุทธศตวรรษท่ี 12–18) รับวฒั นธรรมมาจากทวารวดีมา ก่อนจนถึงพุทธศตวรรษท่ี 16 จึงรับวัฒนธรรมจากเขมร ศูนย์กลางอยู่ที่เมืองละโว้หรือลพบุรี ส่ิงก่อสร้างที่เป็นประธานศาสนสถาน ได้แก่ ปราสาทหรือปรางค์ เดิม ชาวละโว้นับถือ พระพุทธศาสนานิกายเถรวาท ต่อมาเมื่อวัฒนธรรมเขมรเข้ามาจึงนับถือศาสนาพราหมณ์ -ฮินดู และพระพุทธศาสนานิกายมหายานตามเขมร ประติมากรรมมีท้ังเทวรูป พระโพธิสัตว์ และพุทธรูป ซึ่งนยิ มสร้างปางนาคปรก แคว้นหริภุญชัย (ประมาณพุทธศตวรรษท่ี 13–19) ต้ังอยู่ในที่ราบลุ่มแม่นำ้ ปิงตอนบนและ ทร่ี าบลุ่มแมน่ ้ำวงั ราชธานีคือเมืองหริภญุ ชยั หรือเมอื งลำพูน เร่อื งราวของแควน้ น้ีปรากฏในตำนาน ทางภาคเหนือ เช่น จามเทวีวงศ์ ตำนานมูลศาสนา ชินกาลมาลีปกรณ์ ซ่ึงตำนานชินกาลมาลี ปกรณ์กล่าวว่า ฤๅษีวาสุเทพเป็นผู้สร้างเมืองหริภุญชัยแล้วส่งคนไปอัญเชิญพระนางจามเทวีจาก เมืองละโว้มาเป็นกษัตริย์ พระนาง จามเทวีนำวัฒนธรรมทวารวดีจากละโว้ไปเผยแผ่ที่หริภุญชัย ชาวหริภุญชยั จึงนับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท สถาปัตยกรรมท่ีสำคญั ได้แก่ เพระเจดีย์กู่กูด และพระบรมธาตุหรภิ ญุ ชัย 2. ตวั ชี้วัดชว่ งชน้ั • วิเคราะหป์ ระเดน็ สำคญั ของประวัติศาสตรไ์ ทย (ส 4.3 ม. 4–6/1)

3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บอกความเปน็ มาของอาณาจักรอาณาจกั รศรีวิชยั แควน้ ละโว้หรือลพบรุ ี และแคว้นหริ ภุญชยั ได้ (K) 2. มคี วามสนใจใฝ่รู้เกย่ี วกับอาณาจักรศรีวิชัย แคว้นละโวห้ รอื ลพบุรี และแคว้นหริภญุ ชัย (A) 3. สืบคน้ ข้อมลู เกีย่ วกับอาณาจกั รศรวี ิชัย แคว้นละโว้หรือลพบุรี และแควน้ หรภิ ุญชัยได้ (P) 4. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) และคา่ นิยม (A) • ประเมนิ พฤติกรรมในการ ทำงานเปน็ รายบุคคล 1. ทดสอบหลังเรียน • ประเมินพฤติกรรมในการ และ 2. ซักถามความรเู้ รื่อง ทำงานเปน็ รายบุคคลใน เปน็ กลุ่มในด้านการ อาณาจักร ด้าน ส่ือสาร การคดิ การแก้ปัญหา ศรีวชิ ัย แคว้นละโว้หรือ ความมีวนิ ัย ใฝเ่ รียนรู้ ฯลฯ ลพบุรี และแคว้นหริภุญ ฯลฯ ชัย 3. ตรวจผลงาน/กจิ กรรม เป็น รายบคุ คลหรือเป็นกลุ่ม 5. สาระการเรยี นรู้ 1. อาณาจักรศรีวิชยั 2. แควน้ ละโวห้ รือลพบุรี 3. แคว้นหรภิ ญุ ชัย 6. แนวทางการบรู ณาการ ภาษาไทย  ฟงั พูด อ่าน และเขียนขอ้ มูลเกย่ี วกับอาณาจักรศรีวชิ ัย แคว้นละโว้ หรือลพบรุ ีและแคว้นหรภิ ญุ ชยั ศิลปะ  จัดป้ายนิเทศเก่ียวกับอาณาจักรศรวี ิชยั แควน้ ละโว้หรือลพบุรีและ แควน้ หริภญุ ชัย

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นท่ี 1 นำเขา้ สู่บทเรียน 1. ครแู จ้งตัวชี้วัดช่วงชน้ั และจดุ ประสงค์การเรียนรใู้ หน้ กั เรยี นทราบ 2. ครูให้นกั เรียนดูภาพพระปรางค์สามยอด จังหวัดลพบุรี ภาพอนุสาวรีย์พระนางจามเทวี ทีอ่ ำเภอเมอื งลำพูน จังหวัดลำพนู แล้วร่วมกนั แสดงความคิดเหน็ ครอู ธิบายเพื่อเช่อื มโยงเข้าสู่ เนอื้ หาท่ีจะเรียน ขนั้ ที่ 2 กิจกรรมการเรยี นรู้ 3. ครสู นทนากบั นักเรียนเร่อื งอาณาจกั รศรีวชิ ัย แคว้นละโวห้ รือลพบรุ ี และแคว้นหริภุญชยั จากสื่อการเรยี นเรียนรู้หรือหนังสือเรียน 4. ครูให้นักเรียนแบ่งออกเปน็ 3 กลมุ่ แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนจบั สลากเลอื กเรื่องท่ีศึกษา ตอ่ ไปน้ี กลุ่มท่ี 1 อาณาจกั รศรวี ิชัย กลุ่มที่ 2 แควน้ ละโว้หรือลพบรุ ี กลุม่ ท่ี 3 แคว้นหริภญุ ชัย สมาชิกในกลมุ่ ร่วมกันศึกษาค้นควา้ ข้อมูลเกยี่ วกับหัวขอ้ ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย แล้วนำขอ้ มลู มา จัดทำป้ายนิเทศนำเสนอหนา้ ชน้ั เรียน และเปิดโอกาสให้เพอื่ น ๆ ร่วมกันแสดงความคิดเห็นตอ่ ผลงาน 5. ครใู ห้นกั เรียนลงคะแนนคดั เลอื กปา้ ยนิเทศ เพอ่ื นำมาติดทีบ่ อร์ดหนา้ ช้ันเรียน 6. ในขณะปฏิบตั กิ จิ กรรมของนักเรียน ใหค้ รูสังเกตพฤติกรรมในการทำงานและการ นำเสนอผลงานของนกั เรยี นตามแบบประเมนิ พฤตกิ รรมในการทำงานเปน็ รายบุคคลหรอื เป็นกลุ่ม ขัน้ ที่ 3 ฝกึ ฝนผ้เู รียน 7. ครูให้นกั เรียนทำกิจกรรมเกีย่ วกับอาณาจกั รศรวี ิชัย แคว้นละโวห้ รือลพบุรี และแคว้นหริ ภญุ ชยั และแบบทดสอบการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ประจำหนว่ ยการเรยี นรู้ ในแบบฝึกทกั ษะ รายวิชาพื้นฐาน ประวตั ิศาสตร์ ม. 4-6 เล่ม 1 ของบริษัท สำนกั พิมพ์วฒั นาพานิช จำกัด แล้ว ชว่ ยกนั เฉลยคำตอบทถี่ ูกต้อง ข้นั ที่ 4 นำไปใช้ 8. ครูใหน้ กั เรียนยกตัวอย่างอาณาจักรศรวี ิชัย แคว้นละโวห้ รือลพบุรี และแคว้นหริภุญชัยท่ี นา่ ภาคภมู ิใจในด้านอ่นื ๆ 9. ครใู ห้นกั เรียนทำแผ่นพับเร่ือง อาณาจกั รศรีวิชยั แคว้นละโวห้ รอื ลพบรุ ี และแคว้นหริ ภญุ ชัยเพอื่ เผยแพร่ความรู้ ข้ันที่ 5 สรปุ

10. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันสรุปความรู้เร่อื ง อาณาจักรศรีวิชัย แควน้ ละโว้หรือลพบรุ ี และ แควน้ หริภุญชัยโดยให้นักเรียนสรุปเปน็ แผนท่คี วามคิด 11. ครใู ห้นกั เรียนทำแบบทดสอบหลงั เรียนและช่วยกันเฉลยคำตอบ 8. กิจกรรมเสนอแนะ ครูใหน้ กั เรียนศกึ ษาค้นควา้ เพม่ิ เตมิ เรอื่ ง อาณาจักรศรีวิชัย แคว้นละโวห้ รอื ลพบุรี และ แคว้นหรภิ ุญชัยแลว้ นำมาจัดทำเป็นรายงาน 9. ส่ือ/แหล่งการเรยี นรู้ 1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียน 2. ภาพพระปรางค์สามยอด จังหวัดลพบรุ ี ภาพอนุสาวรียืพระนางจามเทวี ทีอ่ ำเภอเมอื ง ลำพูน จงั หวัดลำพูน 3. หนงั สือเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน ประวตั ิศาสตร์ ม. 4–6 เลม่ 1 บริษัทสำนักพิมพว์ ฒั นา พานิช จำกดั 4. แบบฝึกทักษะ รายวิชาพ้ืนฐาน ประวตั ิศาสตร์ ม. 4–6 เล่ม 1 บรษิ ทั สำนกั พิมพ์ วฒั นาพานชิ จำกดั 10. บนั ทึกหลังการจัดการเรยี นรู้ 1. ความสำเร็จในการจดั การเรียนรู้ แนวทางการพฒั นา 2. ปญั หา/อปุ สรรคในการจัดการเรยี นรู้ แนวทางแกไ้ ข 3. สงิ่ ทไ่ี มไ่ ดป้ ฏิบตั ติ ามแผน เหตุผล 4. การปรบั ปรงุ แผนการจัดการเรยี นรู้ ลงช่ือ ผู้สอน / /


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook