โครงการสอนและกำหนดการสอน รายวชิ า ประวัตศิ าสตร์ (ส32103) ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2565 ของ พระครูปรีชาปริยตั ยาทร,ดร. ตำแหนง่ ครพู เิ ศษ กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรยี นวัดพระแก้วดอนเตา้ สุขาดาราม สำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเขต 1 ลำปาง
คำอธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน รหสั วิชา ส32๑๐3 รายวิชา ประวตั ศิ าสตรส์ ากล 1 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 เวลา 2๐ ช่วั โมง จำนวน 0.5 หน่วยกิต ................................................................................................ ศึกษา วิเคราะห์ ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ท่ีแสดงถึงการเปล่ียนแปลงของ มนุษยชาติ ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ คุณค่าและประโยชน์ของวิธีการทางประวัติศาสตร์ท่ีมีต่อ การศึกษาประวัติศาสตร์สากล อารยธรรมลุ่มแม่น้ำไทกรีส – ยูเฟรทีส ไนล์ ฮวงโห สินธุ และอารยธรรมกรีก โรมัน การติดต่อระหว่างโลกตะวันออกกับโลกตะวันตกท่ีมีผลต่อพัฒนาการและการเปล่ียนแปลงของโลก เหตกุ ารณ์สำคัญต่างๆ ท่สี ่งผลตอ่ การเปล่ยี นแปลงของโลกในปัจจบุ ัน การขยาย การล่าอาณานคิ มของประเทศ ในยุโรปไปยังทวปี อเมริกา แอฟริกาและเอเชีย และผลกระทบ ความรว่ มมือและความขัดแย้งของมนุษยชาตใิ น โลก สถานการณ์สำคัญของโลกในครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 21 โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการทางสงั คม กระบวนการเผชญิ สถานการณ์ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลมุ่ เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักในความสำคัญของการศึกษาประวัติศาสตร์สากล มี คุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ในดา้ นใฝ่เรยี นรู้ มุ่งมั่นในการทางาน ซอ่ื สัตยส์ จุ รติ มวี ินยั มีความรบั ผิดชอบ รหัสตัวช้วี ดั ส 4.1 ม.4-6/1, ม.4-6/2 ส 4.2 ม.4-6/1, ม.4-6/2, ม.4-6/3 , ม.4-6/4 รวมท้งั หมด 6 ตวั ช้ีวัด
ชอื่ รายวชิ า ส 32103 ประวัตศิ าสตร์สากล 1 ภาคเรยี นที่ 1 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 เวลา 20 ชัว่ โมง 0.5 หนว่ ยกติ หนว่ ยที่ ชอื่ หน่วย มาตรฐาน/ ตัวช้ีวัด สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา น้ำหนัก คะแนน ชั่วโมง 10 1 เวลาและการ ส 4.1 ม. 4-6/1 ศึกษา วิเคราะห์ ความสำคัญของเวลา 3 แบง่ ยคุ สมยั ทาง และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ท่แี สดงถงึ ประวตั ิศาสตร์ ส 4.1 ม. 4-6/2 การเปล่ยี นแปลงของมนุษยชาติ สากล 2 การสรา้ งองค์ ส 4.1 ม. 4-6/1 การสรา้ งองค์ความรู้ใหม่ทาง 3 10 ความรู้ใหม่ทาง ประวตั ิศาสตร์ ส 4.1 ม. 4-6/2 ประวตั ิศาสตร์ ขั้นตอนของวธิ ีการทาง 20 สากล 30 ประวตั ิศาสตร์ คณุ คา่ และประโยชน์ของ 3 อารยธรรมของ ส 4.2 ม. 4-6/1 วธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร์ทีม่ ตี ่อการศึกษา 10 โลกยุคโบราณ ประวัติศาสตรส์ ากล 20 100 4 เหตกุ ารณ์สำคัญ ส 4.2 ม. 4-6/2 อารยธรรมลมุ่ แม่น้ำไทกรีส – ยูเฟรทสี 5 ทาง ไนล์ ฮวงโห สนิ ธุ และอารยธรรมกรีก 7 ประวัติศาสตร์ที่ โรมนั มีผลตอ่ โลก การตดิ ต่อระหว่างโลกตะวันออกกับโลก 1 ปัจจบุ ัน ตะวันตกท่ีมีผลต่อพฒั นาการและการ 1 เปลีย่ นแปลงของโลก เหตุการณ์สำคัญ 20 ตา่ งๆ ทสี่ ่งผลต่อการเปลยี่ นแปลงของโลก ในปจั จุบัน การขยาย การล่าอาณานิคม ของประเทศในยุโรปไปยังทวีปอเมรกิ า แอฟริกาและเอเชีย และผลกระทบ ความ ร่วมมอื และความขัดแยง้ ของมนุษยชาติใน โลก สถานการณ์สำคัญของโลกใน คริสตศ์ ตวรรษที่ 21 สอบกลางภาค/คะแนนระหว่างภาค สอบปลายภาค/คะแนนปลายภาค รวมตลอดภาคเรยี น
กำหนดการเรียนร้รู ายชว่ั โมง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม รายวิชา ประวัติศาสตร์สากล 1 รหสั วิชา ส32103 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 หน่วยการ ชั่วโมง ว/ด/ป แผนการเรยี นรู้ มาตรฐาน สาระสำคญั ส่ือการเรยี นรู้ที่ 3 18 พ..ค.65 /ตัวชีว้ ดั สำคัญ เรียนรู้ 25 พ..ค.65 -แผนการเรยี นรู้ท่ี1 ส 4.1 ศึกษา วเิ คราะห์ ความสำคญั ของเวลา ม. 4-6/1 ความสำคัญของ 1)หนังสอื เรยี น หน่วยการ 1 ม.ิ ย.65 และยุคสมัยทาง เวลาและยุคสมัย ประวัติศาสตรม์ .4 ประวัตศิ าสตรส์ ากล ทาง 2)ตวั อยา่ ง เรยี นรทู้ ่ี 1 ประวตั ศิ าสตร์ท่ี หลักฐานทาง -แผนการเรยี นรทู้ ่ี 2 แสดงถึงการ ประวตั ศิ าสตร์ เวลาและการ การแบ่งยุคสมัยทาง เปล่ียนแปลงของ 3)อินเตอร์เนต แบง่ ยคุ สมัยทาง ทางประวัติศาสตร์ มนษุ ยชาติ 4) DLtv. ประวัติศาสตร์ สากล สากล หน่วยการ 3 8 มิ.ย.65 -แผนการเรยี นรู้ท่ี1 ส 4.1 การสร้างองค์ 1)หนงั สือเรียน 15 ม.ิ ย.65 ขั้นตอนของวิธีการ ม. 4-6/2 ประวัตศิ าสตร์ไทย เรียนรทู้ ่ี 2 22 มิ.ย.65 ทางประวตั ิศาสตร์โดย ความร้ใู หมท่ าง ม.4-6 ใชว้ ธิ ีนำเสนอตวั อยา่ ง 2)หนงั สอื คน้ คว้า การสร้างองค์ ทีละขนั้ ตอนอยา่ ง ประวตั ศิ าสตร์ เพม่ิ เติม ความรู้ใหม่ทาง ชดั เจน 3)อนิ เตอร์เนต ประวัตศิ าสตร์ ขั้นตอนของ 4)ผงั มโนทศั น์ สากล -แผนการเรียนรู้ท่ี 2 วิธีการทาง คุณคา่ และประโยชน์ ประวตั ิศาสตร์ ของวธิ ีการทาง คณุ ค่าและ ประวัตศิ าสตร์ต่อ ประโยชนข์ อง การศกึ ษา วิธีการทาง ประวัตศิ าสตรท์ ี่มี -แผนการเรียนรู้ที่3 ต่อการศกึ ษา ผลการศึกษา ประวัตศิ าสตร์ โครงงานทาง สากล ประวัติศาสตร์
หนว่ ยการ ชวั่ โมง ว/ด/ป แผนการเรียนรู้ มาตรฐาน สาระสำคญั สื่อการเรียนรทู้ ี่ เรยี นรู้ /ตวั ชว้ี ัด สำคญั หนว่ ยการ 5 29 ม.ิ ย.65 -แผนการเรียนรทู้ ี่ 1 ส 4.2 อารยธรรมลุ่ม 1)หนงั สอื เรยี น ม. 4-6/1 เรยี นรู้ที่ 3 อารยธรรมเมโสโปเต แมน่ ำ้ ไทกรีส – ประวตั ิศาสตร์ไทย เมีย ยูเฟรทีส ไนล์ ฮวง อารยธรรมของ โห สินธุ และ ม.4-6 โลกยุคโบราณ 6 ก.ค.65 -แผนการเรยี นรู้ที่ 2 อารยธรรมกรกี 2)หนงั สอื ค้นควา้ อารยธรรมอยี ปิ ต์ โรมนั เพ่ิมเติม 3)อินเตอร์เนต 13 ก.ค.65 -แผนการเรยี นร้ทู ี่ 3 4)ผังมโนทศั น์ อารยธรรมโรมัน 20 ก.ค.65 -แผนการเรียนรูท้ ี่ 4 อารยธรรมอนิ เดยี หนว่ ยการ 7 27 ก.ค.65 -แผนการเรียนรู้ท่ี 5 ส 4.2 การติดต่อระหว่าง 1)หนังสอื เรียน เรียนรทู้ ี่ 4 27 ก.ค.65 อารยธรรมจนี ม. 4-6/2 3 ส.ค.65 โลกตะวันออกกับ ประวตั ศิ าสตร์ม.4 สอบกลางภาคเรยี น โลกตะวนั ตกท่ีมี เหตุการณ์สำคัญ 10 ส.ค.65 1/65 ผลต่อพัฒนาการ 2)ตวั อย่าง ทาง 18 ส.ค.65 และการ หลกั ฐานทาง 25 ส.ค.65 -แผนการเรียนรทู้ ี่ 1 เปลี่ยนแปลงของ ประวัตศิ าสตร์ ประวตั ศิ าสตรท์ ่ี เหตกุ ารณส์ ำคัญในสมัย โลก เหตกุ ารณ์ 3)อินเตอร์เนต มผี ลตอ่ โลก กลาง ปัจจบุ นั สำคัญต่างๆ ที่ 4) DLtv. -แผนการเรยี นรทู้ ่ี 2 ระบบการปกครองแบบ สง่ ผลตอ่ การ ฟิวดลั เปลย่ี นแปลงของ -แผนการเรยี นรู้ท่ี 3 สงครามคเู สด โลกในปัจจบุ นั -แผนการเรียนรทู้ ี่ 4 การขยาย การลา่ การฟน้ื ฟศู ิลปวิทยาการ อาณานิคมของ ประเทศในยโุ รป
7 ก.ย.65 -แผนการเรียนรทู้ ่ี 5 ไปยงั ทวีปอเมรกิ า การค้นพบและการ แอฟริกาและ สำรวจทางทะเล เอเชยี และ ผลกระทบ ความ 14 ก.ย.65 -แผนการเรียนรู้ที่ 6 ร่วมมือและความ การปฏวิ ัตทิ าง ขัดแยง้ ของ วทิ ยาศาสตร์ มนุษยชาติในโลก สถานการณ์ 21 ก.ย.65 -แผนการเรยี นร้ทู ี่ 7 สำคัญของโลกใน แนวคิดท่มี ผี ลตอ่ โลก ครสิ ต์ศตวรรษที่ 21 สมัยใหม่ 28 ก.ย.65 สอบปลายภาคเรยี น 1/65 การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ โดยการประเมนิ สภาพจรงิ พจิ ารณาจากพฒั นาการของผเู้ รยี น ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรม และการทดสอบ 1. ก่อนสอบกลางภาค 30 คะแนน ผลการเรยี นรทู้ ่คี าดหวัง - งานที่มอบหมาย 20 คะแนน - ทดสอบระหว่างเรยี น 10 คะแนน 2. สอบกลางภาค 10 คะแนน ผลการเรียนรู้ท่คี าดหวงั - ปรนยั 5 คะแนน - อตั นัย 5 คะแนน 3. หลงั กลางภาค 40 คะแนน ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง - งานทีม่ อบหมาย 20 คะแนน - ทดสอบระหวา่ งเรียน 20 คะแนน 4. สอบปลายภาค 20 คะแนน ผลการเรยี นรทู้ ีค่ าดหวงั - ปรนยั 1๐ คะแนน - อัตนัย ๑๐ คะแนน *นกั เรียนต้องทำตามเงือ่ นไขท่คี รูกำหนดใหม้ ฉิ ะน้นั จะใหผ้ ลการเรยี น เป็น ร
กำหนดการวัดผล ภาคเรยี นที่ ๑ ต้นเดือนกรกฏาคม ๒๕๖๕ ๑. ทดสอบกอ่ นสอบกลางภาค ปลายเดือนกรกฏาคม ๒๕๖๕ ๒. ทดสอบกลางภาค ต้นเดอื นกันยายน ๒๕๖๕ ๓. ทดสอบหลังกลางภาค ปลายเดอื นกันยายน ๒๕๖๕ ๔. ทดสอบปลายภาค ข้อกำหนดอื่นๆ 1. นักเรียนต้องปฏิบัติตามงานท่ีได้รับมอบหมายจากครูผู้สอนท้ังในรูปแบบของการทำใบงาน แบบทดสอบ ชนิ้ งานเดีย่ ว และการทำชิน้ งานกลุ่ม 2. นักเรยี นต้องมคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ ตนเองและชว่ ยเหลอื งานเพอื่ นในกลุ่มอยูเ่ สมอ 3. ในการตอบคำถามผ่านแบบทดสอบ หรือการทำแบบฝึกหัดทุกรูปแบบ นักเรียนจะต้องทำด้วย ตนเอง ห้ามลอกงานมาสง่ อย่างเด็ดขาดมิฉะนั้นนักเรียนจะไมไ่ ด้คะแนนเด็ดขาด 4. นกั เรยี นต้องเก็บใบงานทกุ ชน้ิ ทที่ ำเพ่อื รวบรวมเขา้ เลม่ สง่ ในท้ายเทอม คุณ ลักษ ณ ะอันพึ งป ระสงค์ของผู้เรียน ๘ ข้อ ตามห ลักสูตรแกน กลางการศึกษ าขั้น พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ทนี่ กั เรียนควรทราบ ควรระลกึ และตอ้ งหมนั่ ปฏบิ ัตอิ ยูเ่ สมอมดี ังน้ี ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ตวั ช้วี ดั ๑.๑ เป็นผลเมอื งท่ดี ขี องชาติ ๑.๒ ธำรงไวซ้ ึ่งความเปน็ ไทย ๑.๓ ศรัทธา ยดึ ม่ัน และปฏบิ ตั ติ นตามหลักศาสนา ๑.๔ เคารพเทดิ ทนู สถาบนั พระมหากษตั ริย์ ๒. ซือ่ สัตย์สจุ รติ ตัวชี้วัด ๒.๑ ประพฤติตรงตามความเป็นจรงิ ตอ่ คนเองทง้ั กาย และวาจา ใจ ๒.๒ ประพฤตติ รงตามเปน็ จริงต่อผูอ้ ื่นท้งั กาย วาจา ใจ ๓. มีวนิ ัย ตวั ช้วี ดั ๓.๑ ประพฤติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบขอ้ บังคบั ของครอบครัว โรงเรยี น และสงั คม ๔. ใฝ่เรียนรู้ ตัวชว้ี ดั ๔.๑ ตง้ั ใจเพียรพยายามในการเรยี น และเข้าร่วมกิจกรรมการเรยี นรู้ ๔.๒ แสวงหาความรรู้ ้จู ากแหล่งเรยี นรตู้ ่าง ๆ ท้ังภายในและภายนอกโรงเรยี นดว้ ยการ เลอื กใชส้ ่ืออย่างเหมาะสม สรุปเปน็ องค์ความรู้ และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
๕. อย่อู ยา่ งพอเพยี ง ตวั ชว้ี ัด ๕.๑ ดำเนนิ ชีวติ อย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม ๕.๒ มภี ูมคิ ้มุ กนั ในตวั ทีด่ ี ปรับตัวเพ่อื อยู่ในสงั คมได้อยา่ งมีความสุข ๖. มุง่ มัน่ ในการทำงาน ตัวช้วี ัด ๖.๑ ตั้งใจและรบั ผดิ ชอบในหนา้ ท่กี ารงาน ๖.๒ ทำงานด้วยเพียรพยายามและอดทนเพ่อื ให้สำเรจ็ ตามเปา้ หมาย ๗. รกั ความเปน็ ไทย ตัวชี้วดั ๗.๑ ภาคภมู ใิ จในขนบธรรมเนยี มประเพณี ศิลปะ วฒั นธรรมไทยและมีความกตัญญกู ตเวที ๗.๒ เห็นคุณค่าและใชภ้ าษาไทยในการสื่อสารได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม ๗.๓ อนรุ ักษ์และสบื ทอดภูมิปัญญาไทย ๘. มจี ิตสาธารณะ ตวั ชี้วัด ๘.๑ ชว่ ยเหลือผอู้ น่ื ดว้ ยด้วยความเตม็ ใจโดยไมห่ วงั ผลตอบแทน ๘.๒ เข้าร่วมกิจกรรมที่เปน็ ประโยชนต์ อ่ โรงเรยี น ชุมชน และสงั คม
แบบประเมินการนำเสนอ ลำดั รายการประเมนิ คุณภาพการปฏบิ ตั ิ บท่ี 4321 1 นำเสนอเน้อื หาในผลงานได้ถูกต้อง 2 การนำเสนอมีความนา่ สนใจ 3 ความเหมาะสมกบั เวลา 4 ความกล้าแสดงออก 5 บคุ ลิกภาพ นำ้ เสยี งเหมาะสม รวม ลงชื่อ..............................................................................ผปู้ ระเมิน ......................./.........................../........................ เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 4 คะแนน การนำเสนอผลงานสมบรู ณ์ชัดเจน ให้ 3 คะแนน การนำเสนอผลงานยงั มีข้อบกพร่องเล็กน้อย ให้ 2 คะแนน การนำเสนอผลงานยังมีขอ้ บกพร่องเปน็ สว่ นใหญ่ ให้ 1 คะแนน การนำเสนอผลงานมีขอ้ บกพรอ่ งมาก เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ระดับคุณภาพ ดีมาก ชว่ งคะแนน ดี 18-20 พอใช้ 14-17 ปรับปรุง 10-13 ต่ำกว่า 10
แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม ลำดบั ชอ่ื – สกลุ ความร่วมมือ การแสดง การรับฟัง การตัง้ ใจ การร่วม รวม ท่ี ของผู้รบั 4321 ความคดิ เห็น ความคิดเหน็ ทำงาน ปรับปรงุ 20 การประเมนิ ผลงานกลุม่ คะแนน 4321 4321 4321 4321 เกณฑ์การให้คะแนน = ลงชอ่ื ...................................................ผู้ประเมิน ดีมาก = 4 ............../.................../................ ดี = 3 พอใช้ = 2 ปรบั ปรุง 1 เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั หมายเหตุ ครอู าจใช้วิธกี ารมอบหมายใหห้ ัวหน้า คุณภาพ กลุม่ เป็นผู้ประเมิน หรือให้ตัวแทนกลุม่ ผลัดกนั 14-16 ดมี าก ประเมิน หรือให้มกี ารประเมนิ โดยเพื่อน โดยตัวนกั เรียน 11-13 8-10 ดี เอง ตามความเหมาะสมกไ็ ด้ ตำ่ กวา่ 8 พอใช้ ปรับปรงุ
หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 1 ยคุ สมัยและหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ เวลา 4 ช่ัวโมง ผังมโนทัศน์เป้าหมายการเรยี นร้แู ละขอบข่ายภาระงาน/ช้ินงาน ด้านความรู้ 1. อารยธรรมเมโสโปเตเมีย 2. อารยธรรมลุ่มนำ้ ไนล์ 3. ชนชาติเกา่ แกบ่ างกลุม่ ในเอเชียไมเนอร์และดินแดน ใกล้เคียง 4. อารยธรรมกรกี 5. อารยธรรมโรมนั ดา้ นทักษะ/ ยุคสมัย และหลกั ฐาน ดา้ นคณุ ธรรม กระบวนการ ทางประวตั ิศาสตร์ จรยิ ธรรม และคา่ นิยม 1. การสอ่ื สาร ประวตั ศิ าสตร์ 2. การคดิ 1. มีวนิ ยั 3. การแก้ปัญหา 2. ใฝ่เรียนรู้ 4. การใช้กระบวนการกล่มุ 3. รกั ความเป็นไทย 5. การใชเ้ ทคโนโลยี 4. มุง่ ม่ันในการทำงาน ภาระงาน/ชน้ิ งาน 1. ทำแบบทดสอบ 2. การสืบคน้ ขอ้ มูล 3. การจัดปา้ ยนิเทศ 4. การสรา้ งแผนท่ีความคิด 5. การนำเสนอผลงาน
ผงั การออกแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 1 ยุคสมัยและหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ขน้ั ท่ี 1 ผลลัพธป์ ลายทางที่ต้องการให้เกิดข้ึนกับนกั เรียน ตวั ช้ีวัดช่วงชัน้ ตระหนกั ถงึ ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตรท์ ี่แสดงถึงการเปล่ยี นแปลง ของมนษุ ยชาติ (ส. 4.1 ม. 4–6/1) สรา้ งองคค์ วามรู้ใหมท่ างประวัตศิ าสตรโ์ ดยใช้วิธีการทางประวตั ิศาสตรอ์ ย่างเป็นระบบ (ส. 4.1 ม. 4–6/2) ความเขา้ ใจที่คงทนของนกั เรยี น คำถามสำคัญทที่ ำให้เกิดความเขา้ ใจทีค่ งทน นกั เรียนจะเขา้ ใจวา่ ... การศกึ ษาเก่ียวกับการนบั เวลาและ การนับเวลาและการเทยี บศกั ราช การ การเทียบศกั ราช การแบง่ ยุคสมยั ทาง แบ่งยุคสมยั ทางประวัตศิ าสตร์ และหลักฐาน ประวตั ิศาสตร์ และหลกั ฐานทาง ทางประวัติศาสตรม์ ีความสำคัญอย่างไร ประวัตศิ าสตร์ชว่ ยให้เขา้ ใจเรอื่ งราวทาง ประวัติศาสตร์ได้ดีขึ้น ความรู้ของนักเรียนท่ีนำไปส่คู วามเข้าใจท่ี ทกั ษะ/ความสามารถของนกั เรียนท่นี ำไปสู่ คงทน ความเข้าใจท่ีคงทน นกั เรียนจะสามารถ... นักเรียนจะร้วู ่า... อธิบายการเรียงลำดับเหตุการณท์ าง คำสำคัญ ไดแ้ ก่ สมัยโบราณ สมัยกลาง ประวัตศิ าสตรต์ ามการแบ่งยุคสมัยทาง สมยั ปจั จบุ นั ประวัตศิ าสตร์ นกั ประวัติศาสตรไ์ ด้แบง่ ยุคสมัยทาง จำแนกและวิเคราะห์ข้อมูลจากหลักฐานทาง ประวัตศิ าสตรอ์ อกเปน็ 2 สมัย โดยอาศัย ประวตั ศิ าสตร์ หลกั ฐานที่เปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษรเป็นเกณฑ์ ไดแ้ ก่ สมัยกอ่ นประวัติศาสตร์ ซ่งึ เป็น ช่วงเวลาท่ีมนุษย์ยังไมร่ ู้จกั ใช้ตัวหนงั สือใน การเล่าเร่อื งราว และสมยั ประวัตศิ าสตร์ ซึง่ เป็นชว่ งเวลาทีม่ นษุ ยใ์ ช้ตัวหนังสอื ใน การเล่าเรอ่ื งราวต่าง ๆ หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ คือ รอ่ งรอย พฤติกรรมของมนษุ ย์ในอดีต ซ่ึงนกั ประวัตศิ าสตรใ์ ชใ้ นการศึกษาเร่อื งราวใน อดตี ของมนุษย์ นกั ประวัติศาสตร์ได้
จดั แบง่ หลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ตาม ความสำคัญของหลกั ฐานออกเปน็ หลกั ฐาน ชน้ั ต้นและหลกั ฐานชนั้ รอง นอกจากนี้ยงั แบ่งหลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ตาม ลักษณะของหลกั ฐานเปน็ หลกั ฐานลาย ลักษณ์อกั ษรและหลักฐานทีไ่ มเ่ ป็นลาย ลักษณอ์ กั ษร หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ที่ปรากฏในภมู ภิ าคตา่ ง ๆ ของโลก เชน่ โครงกระดูกมนษุ ย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ทป่ี ระเทศจนี เมอื งโบราณโมเฮนโจดาโร ในลมุ่ นำ้ สนิ ธุ ข้นั ที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรยี นรู้ซง่ึ เป็นหลกั ฐานท่ีแสดงว่านักเรียนมีผล การเรียนรู้ ตามทกี่ ำหนดไว้อยา่ งแท้จรงิ 1. ภาระงานที่นักเรียนต้องปฏิบัติ 1.1 จัดป้ายนิเทศแสดงขอ้ มูลเรอ่ื งการแบง่ ยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตร์ 1.2 สรา้ งแผนทคี่ วามคิดเกย่ี วกับหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ 2. วธิ กี ารและเครือ่ งมอื ประเมินผลการ เรยี นรู้ 2.2 เครื่องมอื ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 2.1 วิธกี ารประเมินผลการเรยี นรู้ 1) แบบทดสอบก่อนเรยี นและหลงั 1) การทดสอบ เรียน 2) การประเมินผลงาน/กิจกรรมเปน็ 2) แบบประเมนิ ผลงาน/กจิ กรรม รายบคุ คลหรอื เปน็ กลุ่ม เปน็ 3) การประเมนิ ด้านคุณธรรม รายบุคคลหรือเปน็ กล่มุ จรยิ ธรรม 3) แบบประเมนิ ด้านคณุ ธรรม และค่านิยม จริยธรรม 4) การประเมินดา้ นทกั ษะ/ และคา่ นิยม กระบวนการ 4) แบบประเมินดา้ นทกั ษะ/ กระบวนการ 3. สิ่งท่ีมงุ่ ประเมนิ 3.1 ความเข้าใจ 6 ด้าน ไดแ้ ก่ การอธบิ าย ชแ้ี จง การแปลความและตีความ การ ประยุกต์
ดดั แปลง และนำไปใช้ การมมี ุมมองทีห่ ลากหลาย การให้ความสำคัญและใสใ่ จ ในความรู้สกึ ของผู้อืน่ และการรู้จักตนเอง 3.2 ทักษะ/กระบวนการ เช่น การส่อื สาร การคิด การแกป้ ญั หา การใช้เทคโนโลยี กระบวนการกลมุ่ 3.3 คุณธรรม จริยธรรม และค่านยิ ม เช่น รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สจุ ริต มี วนิ ยั ใฝเ่ รียนรู้ อยอู่ ย่างพอเพียง ม่งุ ม่ันในการทำงาน รักความเปน็ ไทย มจี ิตสาธารณะ ขัน้ ที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 1 การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ เวลา 1 ช่ัวโมง แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 2 หลักฐานทางประวัติศาสตร์ เวลา 2 ชั่วโมง
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 1 การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สาระที่ 4 ประวตั ิศาสตร์ เวลา 1 ชว่ั โมง หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ยุคสมยั และหลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 4-6 1. สาระสำคญั การศึกษาเกี่ยวกับการแบ่งยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตร์เพอื่ ใหร้ ้วู ่าเหตกุ ารณใ์ ดเกิดกอ่ นและ เหตุการณใ์ ดเกดิ หลงั ซึ่งจะชว่ ยให้เขา้ ใจเรอ่ื งราวทางประวตั ศิ าสตรไ์ ดด้ ีขน้ึ 2. ตัวช้วี ัดช่วงชนั้ ตระหนักถงึ ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวตั ิศาสตร์ ท่ีแสดงถงึ การ เปลี่ยนแปลงของมนษุ ยชาติ (ส. 4.1 ม. 4–6/1) 3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธบิ ายการแบง่ ยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตรไ์ ด้ (K, P) 2. สนใจใฝ่เรยี นรู้และตระหนกั ถงึ ความสำคัญของการแบ่งยุคสมัยทางประวตั ิศาสตร์ (A) 4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) และคา่ นิยม (A) 1. ทดสอบกอ่ นเรียน ประเมินพฤติกรรมในการ ประเมนิ พฤตกิ รรมในการ 2. ซกั ถามความรูเ้ รอื่ ง การ ทำงานเป็นรายบคุ คล ทำงานเปน็ รายบุคคล แบง่ ในด้าน และเปน็ ยุคสมัยทาง ความมีวินัย ความใฝ่ กลุ่มในด้านการสอื่ สาร ประวัติศาสตร์ เรียนรู้ การคิด การแก้ปญั หา 3. ตรวจผลงาน/กจิ กรรม ฯลฯ ฯลฯ เปน็ รายบุคคลหรอื เป็นกลุ่ม 5. สาระการเรยี นรู้ การแบง่ ยุคสมัยทางประวัตศิ าสตร์ 1. สมัยก่อนประวตั ิศาสตร์ 2. สมัยประวัติศาสตร์
6. แนวทางบรู ณาการ ภาษาไทย ฟงั พูด อา่ น และเขยี นขอ้ มลู เก่ียวกบั การการแบ่งยคุ สมยั ทางประวัติศาสตร์ การงานอาชีพฯ ศกึ ษาความรูเ้ รือ่ ง การแบง่ ยคุ สมัยทางประวตั ิศาสตร์ จาก แหลง่ การเรียนรู้ต่าง ๆ เช่น ห้องสมุด อินเทอร์เนต็ ศลิ ปะ จัดทำป้ายนิเทศและตกแต่งใหส้ วยงาม 7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ข้นั ที่ 1 นำเขา้ ส่บู ทเรียน 1. ครูแจ้งตวั ชี้วัดช่วงช้ันและจุดประสงคก์ ารเรียนร้ใู หน้ กั เรยี นทราบ 2. ครใู หน้ ักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรยี น 3. ครูให้นักเรียนดูภาพเคร่ืองมอื ยคุ หินเก่าและภาพหลกั ศิลาจารกึ แลว้ ถามนักเรียนว่า ส่ิงใด น่าจะเกิดข้ึนมากอ่ นกนั ครูเฉลยแลว้ โยงเขา้ สเู่ น้ือหาท่จี ะเรยี น ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ 4.ครใู ห้นักเรยี นแบ่งกลมุ่ กลุ่มละ 4–6 คน ศกึ ษาความรู้เรอ่ื ง การแบ่งยุคสมัยทาง ประวัติศาสตร์ จากแหล่งการเรียนรู้ตา่ ง ๆ เช่น หอ้ งสมุด อินเทอร์เน็ต จากน้ันใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ นำ ข้อมูลมาจัดทำป้ายนิเทศ ตกแต่งให้สวยงามนำเสนอผลงานหนา้ ชนั้ เรียน 5. ครใู ห้นกั เรียนเลอื กปา้ ยนเิ ทศดีเด่นโดยให้นกั เรียนพจิ ารณาจากเนอ้ื หา ความถกู ต้อง และความสวยงาม 6. ครูให้นักเรียนนำป้ายนิเทศทไี่ ดร้ บั การคัดเลือกไปติดทห่ี นา้ หอ้ งเรยี น ข้ันที่ 3 ฝกึ ฝนผเู้ รียน 7. ครูใหน้ ักเรียนทำกจิ กรรมเก่ียวกับการการแบง่ ยุคสมัยทางประวัตศิ าสตร์ ในแบบฝกึ ทกั ษะ รายวชิ าพ้ืนฐาน ประวัตศิ าสตร์ ม. 4-6 เลม่ 2 ของบริษทั สำนักพมิ พ์วัฒนาพานิช จำกดั แล้วช่วยกนั เฉลยคำตอบท่ีถกู ต้อง ขน้ั ท่ี 4 นำไปใช้ 8. ครใู หน้ ักเรียนนำความรเู้ กยี่ วกบั การแบง่ ยคุ สมัยทางประวตั ิศาสตร์ไปถา่ ยทอดให้คนใน ครอบครัวฟัง ขน้ั ที่ 5 สรุป 9. ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั สรปุ ความรู้เกยี่ วกับการแบ่งยุคสมยั ทางประวัตศิ าสตร์เป็นแผนท่ี ความคิดบันทึกลงสมุด
8. กจิ กรรมเสนอแนะ ครูให้นักเรียนคน้ หาข้อมลู เก่ียวกบั โบราณสถานในประเทศไทยทอี่ ยใู่ นสมัยประวัตศิ าสตร์ 1 แหง่ บนั ทกึ เรือ่ งราวแล้วนำมาเล่าให้เพื่อนฟังในชัน้ เรียน 9. สอื่ /แหล่งการเรียนรู้ 1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 2. ภาพเครือ่ งมอื ยุคหินเก่าและภาพหลักศิลาจารกึ 3. หนงั สือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ประวัติศาสตร์ ม. 4–6 เลม่ 2 บริษัท สำนักพมิ พ์ วัฒนาพานิช จำกัด 4. แบบฝึกทกั ษะ รายวิชาพ้ืนฐาน ประวัติศาสตร์ ม. 4–6 เล่ม 2 บริษทั สำนักพิมพ์ วัฒนาพานชิ จำกดั 10. บนั ทึกหลังการจดั การเรยี นรู้ 1. ความสำเร็จในการจัดการเรียนรู้ แนวทางการพฒั นา 2. ปญั หา/อปุ สรรคในการจดั การเรียนรู้ แนวทางแก้ไข 3. ส่ิงท่ไี ม่ได้ปฏิบตั ติ ามแผน เหตผุ ล 4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ ลงชือ่ ผ้สู อน / /
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2 หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ เวลา 2 ชั่วโมง หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ยุคสมยั และหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4-6 1. สาระสำคัญ หลักฐานทางประวัติศาสตร์เปน็ ร่องรอยที่หลงเหลอื มาจากอดตี ทำให้คนร่นุ หลังไดเ้ รียนรู้ และเขา้ ใจเร่ืองราวทเ่ี กิดข้ึนในอดตี และสามารถศึกษาประวตั ศิ าสตรไ์ ดอ้ ย่างเป็นระบบและได้ ข้อเท็จจริง 2. ตวั ชีว้ ัดชว่ งชัน้ สรา้ งองคค์ วามรใู้ หม่ทางประวัติศาสตร์โดยใช้วิธีการทางประวัตศิ าสตรอ์ ย่างเปน็ ระบบ (ส. 4.1 ม. 4–6/2) 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธบิ ายลักษณะและการจำแนกหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ได้ (K) 2. สนใจใฝ่เรยี นรู้และตระหนกั ถงึ ความสำคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ (A) 3. ยกตัวอยา่ งหลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลกได้ (P, K) 4. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) และคา่ นิยม (A) 1. ทดสอบหลังเรียน ประเมินพฤตกิ รรมในการ ประเมนิ พฤติกรรมในการ 2. ซกั ถามความรู้เร่ือง ทำงานเป็นรายบุคคลใน ทำงานเปน็ รายบคุ คล หลกั ฐานทาง ด้าน และเปน็ ประวัตศิ าสตร์ ความมวี ินัย ความใฝ่ กลุ่มในด้านการสื่อสาร 3. ตรวจผลงาน/กจิ กรรม เรียนรู้ การคิด การแกป้ ัญหา เปน็ ฯลฯ ฯลฯ รายบุคคลหรอื เป็นกลุ่ม 5. สาระการเรียนรู้ หลักฐานทางประวัติศาสตร์ 6. แนวทางบูรณาการ ภาษาไทย ฟัง พูด อ่าน และเขยี นขอ้ มูลเกย่ี วกับหลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์
ศลิ ปะ ตกแตง่ แผนท่ีความคิดเรอ่ื ง ประเภทของหลกั ฐานทาง ประวัติศาสตรใ์ หส้ วยงาม 7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขนั้ ท่ี 1 นำเข้าสูบ่ ทเรียน 1. ครแู จง้ ตวั ช้ีวดั ช่วงชนั้ และจดุ ประสงคก์ ารเรียนรใู้ ห้นกั เรยี นทราบ 2. ครูให้นกั เรียนดภู าพโบราณสถาน โบราณวตั ถุ แล้วให้นักเรยี นแสดงความคดิ เหน็ ว่าสิ่ง ตา่ ง ๆ ในภาพเหล่านี้มีความสำคญั อย่างไร ขน้ั ที่ 2 กจิ กรรมการเรียนรู้ 3. ครูอธบิ ายใหน้ ักเรียนฟังเกย่ี วกับประเดน็ ในการศึกษาเร่ือง หลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ ดังนี้ 1) ความหมายและความสำคญั ของหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ 2) ประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ 4. ครใู หน้ กั เรียนแบง่ กลุม่ กลมุ่ ละ 46 คน ศกึ ษาเรือ่ ง ประเภทของหลกั ฐานทาง ประวตั ศิ าสตร์ แล้วจัดทำเปน็ แผนท่ีความคิดลงบนกระดาษวาดเขียน ตกแตง่ ให้สวยงาม 5. ครูให้นกั เรียนแต่ละกลุ่มศึกษาขอ้ มูลเกย่ี วกบั หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ในภมู ิภาคต่าง ๆ ของโลก จากน้ันนกั เรียนช่วยกนั เสนอตัวอยา่ งหลักฐานทางประวตั ิศาสตรใ์ นภมู ิภาคต่าง ๆ ของโลก ท่ีรูจ้ กั โดยครูบันทึกขอ้ มูลลงบนกระดานดำ 6. ครใู หน้ ักเรียนแต่ละกลุ่มคน้ ขอ้ มลู แล้วยกตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในภมู ิภาค ตา่ ง ๆ ของโลกลงในใบงานเร่ือง หลกั ฐานทางประวัติศาสตรใ์ นภูมภิ าคต่าง ๆ ของโลก จากนั้นครู สุ่มเลือกนักเรยี นบอกตวั อย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในภมู ิภาคต่าง ๆ ของโลกจากใบงานทคี่ น้ ข้อมลู 7. ครใู หน้ ักเรียนสืบคน้ ขอ้ มูลเก่ยี วกบั หลกั ฐานทง้ั ท่ีเป็นลายลักษณ์อกั ษรและไมเ่ ปน็ ลาย ลักษณ์อักษรทสี่ ำคัญของประเทศสมาชิกอาเซียนแต่ละประเทศ ประเทศละ 2–3 ชนดิ ทำสรปุ เปน็ ตารางทั้ง 10 ประเทศแล้วนำมาแลกเปล่ียนเรยี นรูก้ ันในชนั้ เรยี น ขน้ั ที่ 3 ฝึกฝนผู้เรียน 8. ครูใหน้ ักเรียนทำกจิ กรรมเก่ียวกับหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ และแบบทดสอบการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ประจำหน่วยการเรียนรู้ ในแบบฝึกทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ประวตั ศิ าสตร์ ม. 4-6 เล่ม 2 ของบรษิ ทั สำนักพมิ พว์ ัฒนาพานิช จำกัด แลว้ ชว่ ยกนั เฉลย คำตอบที่ถกู ตอ้ ง ขั้นที่ 4 นำไปใช้
9. ครใู หน้ กั เรียนนำความรเู้ รื่อง หลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ ไปบอกเล่าให้คนในครอบครัว ฟงั ข้ันท่ี 5 สรปุ 10. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันสรุปความรู้เกย่ี วกับหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ แล้วให้นักเรียน บนั ทึกลงสมุด 11. ครใู ห้นกั เรียนทำแบบทดสอบหลังเรียนและช่วยกนั เฉลยคำตอบ 8. กิจกรรมเสนอแนะ ครใู หน้ ักเรียนแบง่ กลุ่มละ 4–6 คน คน้ หาภาพเก่ยี วกบั หลักฐานทางประวัตศิ าสตรใ์ น ประเทศไทยทีน่ กั เรียนสนใจ 1 ยคุ สมยั นำภาพมาจัดทำเป็นสมุดภาพเย็บเล่มตกแต่งใหส้ วยงาม 9. สือ่ /แหล่งการเรยี นรู้ 1. แบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลังเรียน 2. ใบงานเรอ่ื ง หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก 3. หนงั สอื เรียน รายวชิ าพ้นื ฐาน ประวัติศาสตร์ ม. 4–6 เลม่ 1 บรษิ ทั สำนักพมิ พ์ วฒั นาพานชิ จำกัด 4. แบบฝกึ ทกั ษะ รายวิชาพ้ืนฐาน ประวัติศาสตร์ ม. 4–6 เลม่ 1 บริษัท สำนักพมิ พ์ วัฒนาพานิช จำกดั 10. บันทึกหลังการจดั การเรยี นรู้ 1. ความสำเรจ็ ในการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการพัฒนา 2. ปัญหา/อปุ สรรคในการจัดการเรียนรู้ แนวทางแกไ้ ข 3. สง่ิ ท่ีไมไ่ ดป้ ฏิบัติตามแผน เหตุผล 4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ ลงชอ่ื ผสู้ อน / /
Search
Read the Text Version
- 1 - 20
Pages: