Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สังคมศึกษา ม.3

สังคมศึกษา ม.3

Published by วชิรวิชญ์ กวดนอก, 2021-08-30 10:50:42

Description: สังคมศึกษา ม.3

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) รายวชิ า ส๒๓๑๐๑ (สงั คมศกึ ษา ๕) (ชอ่ื คร)ู นายธวชั ชยั พทุ ธวงศ์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 โรงเรยี นวดั พระแก้วดอนเต้าสชุ าดาราม สังกดั สำนกั งานเขตการศกึ ษาพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามัญศึกษา เขต ๖ สำนักงานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ ตำบลเวียงเหนอื อำเภอเมอื งลำปาง จงั หวดั ลำปาง

เอกสารประกอบการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) รายวชิ า ส๒๓๑๐๑ (สงั คมศึกษา ๕) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 ลงช่ือ............................................................ (.........................................................) ครูผู้สอน ความคดิ เห็นของคณะผบู้ ริหาร  เห็นชอบ  ไม่เห็นชอบ เพราะ.................................... …………………………………………… .......................................................................... (นายณฐั พล สุทธนะ) หัวหน้าฝ่ายวชิ าการ …………/……………../…………….  ควรอนมุ ตั ิ  ไม่ควรอนมุ ตั ิ เพราะ.................................. …………………………………………… .......................................................................... (พระมหาปยิ พงษ์ สิรวิ ริ ยิ วํโส) รองผู้อำนวยการโรงเรียน …………/……………../…………….  อนมุ ัติ  ไม่อนมุ ัติ …………………………………………… (พระครสู ริ ิรัตนโสภิต, ดร.) ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น …………/……………../…………….



สปั ดาห์ท่ี 12 (ช่วั โมงที่ ๑) ใบความรวู้ ิชา สงั คมศึกษา 3 ส23101 (ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3) ชื่อหน่วยการเรยี นรู้ท่ี 6 เรื่อง วฒั นธรรมไทยและวัฒนธรรมสากล ……………………………………………………………… วฒั นธรรมไทย ชาติไทยเป็นชาติท่เี กา่ แกแ่ ละมวี ฒั นธรรมประจาชาติทเี่ กดิ จากภมู ิปัญญาของบรรพบุรุษและพัฒนาหล่อ หลอมข้ึนในสังคมไทย จนมีความเป็นเอกลักษณ์ของตนเองไม่ว่าจะเป็นภาษา วรรณคดี ศิลปวัตถุ ดนตรี อาหารและการแต่งกาย นอกจากนี้ คนไทยยังได้มีการยอมรับเอาวัฒนธรรมของชาติอื่นเข้ามาผสมผสาน โดย การนามาดัดแปลงผสมผสานกันไดอ้ ยา่ งกลมกลืน จนเกดิ เป็นวัฒนธรรมของสังคมไทยทม่ี เี อกลกั ษณ์ในทีส่ ดุ ที่มาของวฒั นธรรมไทย วฒั นธรรมไทยมีทมี่ าจากหลายแหลง่ กาเนดิ ด้วยกนั ดังนี้ 1) ส่ิงแวดล้อมทางภูมิศาสตร์และสังคมเกษตรกรรม เนื่องจากพื้นท่ีของประเทศไทยส่วนใหญ่มีสภาพ ภูมศิ าสตร์เปน็ ทรี่ าบลมุ่ แม่นา้ คนไทยจึงมีความผูกพันกับแม่น้าลาคลอง ทาให้เกิดวิถีชีวิตริมน้าและประเพณีต่าง ๆ ทเี่ กีย่ วข้องกับนา้ ทีส่ าคญั เชน่ ประเพณลี อยกระทง ประเพณสี งกรานต์ เปน็ ตน้ 2) พิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา พระพทุ ธศาสนาเผยแผเ่ ข้ามาในประเทศไทยเปน็ เวลานาน โดยคนไทย ได้นาหลักคาสอนมาใช้ในการดาเนินชีวติ นอกจากนยี้ ังมีประเพณแี ละพิธกี รรมตา่ ง ๆ ทเ่ี กี่ยวข้องกับศาสนาอีกเป็น จานวนมาก เช่น การทอดกฐิน การทอดผ้าปา่ การบวชเพ่อื สบื ทอดศาสนา เป็นตน้ 3) ค่านิยม เป็นแบบอย่างพฤติกรรมของคนในสังคมที่มีความแตกต่างกัน ค่านิยมบางอย่างกลายเป็น แกนหลักของวัฒนธรรมไทย เช่น ความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ซ่ึงคนไทยให้ความเคารพและเชิดชู สถาบันพระมหากษัตรยิ เ์ ปน็ อย่างมาก 4) การเผยแพร่และการยอมรบั วฒั นธรรมจากตา่ งชาติ ในอดีตประเทศไทยได้รับวัฒนธรรมจากจีนและ อินเดียเข้ามาผสมผสานกับวัฒนธรรมด้ังเดิม แต่ในปัจจุบันจากกระแสโลกาภิวัฒน์ทาให้เกิดการหล่ังไหลของ วัฒนธรรมต่างชาติเมาในประเทศไทย โดยเฉพาะวัฒนธรรมทีม่ าจากชาติตะวันตกที่เห็นได้อย่างชัดเจน เช่น การ แตง่ กายตามแบบสากล การผกู เนคไท การสวมเส้ือนอก การสรา้ งบ้านเรือนรูปทรงตา่ ง ๆ เป็นตน้ ลกั ษณะของวัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมไทยมาจากแหล่งท่ีมาท่ีต่างกันและเกิดการหล่อหลอมกันขึ้น จนเป็นวัฒนธรรมท่ีมีความเป็น เอกลักษณ์ประจาชาติ ในท่ีนี้จะขอกลา่ วถงึ ลักษณะที่สาคญั ของวัฒนธรรมไทย ดังน้ี 1. เป็นวัฒนธรรมแบบเกษตรกรรม คนไทยมีความเกี่ยวข้องกับน้า ผู้คนส่วนใหญ่จะประกอบอาชีพ เกษตรกรรม ทาการเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ ดังน้ันวัฒนธรรมประเพณีและวิถีชีวิตส่วนใหญ่จึงมักเกี่ยวกับน้าและ การเกษตร เช่น ประเพณีการทาขวัญข้าว หรือประเพณีการลงแขกเกี่ยวข้าว ซึ่งพบเห็นได้ทั่วไปตามชนบท เป็นต้น

2. เป็นวัฒนธรรมที่ยึดถือการกุศล คนไทยนิยมทาบุญในงานเทศกาลต่าง ๆ เพื่อเป็นสิริมงคลและเพ่ือ อุทิศบุญกุศลให้ญาติผู้ใหญ่ท่ีล่วงลับไปแล้ว ดังน้ันจึงสังเกตเห็นได้ว่างานพิธีมงคลหรืออวมงคลไทย มักจะมีการ ทาบุญเขา้ มาเป็นส่วนหนึ่งของงานพธิ ีเหล่านัน้ ด้วย 3. เป็นวัฒนธรรมท่ียึดถือเครือญาติ สังคมไทยมีความสัมพันธ์กันโดยยึดหลักอาวุโส คนท่ีมีอายุน้อย กวา่ จะให้ความเคารพผู้ท่ีมีอายุมากกว่าหรืออาวุโสกว่า เพราะถือว่าผู้อาวุโสเป็นผู้ที่สูงด้วยประสบการณ์ พบเห็น เร่ืองราวในชีวิตมาก่อนผู้ที่มีอายุน้อย การเข้าหาและพูดคุยกับท่านเหล่านั้นจะทาให้ได้รับประสบการณ์ที่ดี แล้ว นามาปรับใชใ้ นชีวติ ได้ ดังสุภาษติ ของไทยประโยคหนึ่งวา่ \"เดินตามหลังผู้ใหญ่ สุนัขไม่กดั \" 4. เป็นวัฒนธรรมท่ียึดถือพิธีกรรม มีข้ันตอนในการประกอบพิธีตามความเช่ือและมุ่งหวังความมีหน้ามี ตาในการจัดงาน เช่น การแต่งงาน โดยส่วนใหญ่ในสังคมไทยจะมีพิธีกรรมมากมาย ต้ังแต่การแห่ขันหมากมาสู่ ขอ การรดน้าสังข์อวยพรคู่บ่าวสาวและจัดงานเล้ียงฉลองสมรสโดยเชิญญาติพ่ีน้อง เพ่ือนฝูงของเจ้าบ่าวเจ้าสาว มารว่ มเปน็ เกียรติในงาน เปน็ ตน้ 5. เป็นวัฒนธรรมท่ีนิยมความสนุกสนาน กิจกรรมต่าง ๆ ของสังคมไทยส่วนใหญ่จะมีการสอดแทรก ความสนุกสนานไว้ด้วยเสมอ มีการร้อง รา ทาเพลง จนเกิดเป็นเพลงฉ่อย เป็นต้น ซ่ึงถือว่าเป็นการละเล่นเพ่ือ ผ่อนคลายความเหนด็ เหน่ือยหลงั เสรจ็ ส้ินฤดูเก็บเกย่ี ว 6. เป็นวัฒนธรรมท่ีมีการผสมผสาน วัฒนธรรมต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบันได้รับการผสมผสานมาจากการ เผยแพร่ทางวัฒนธรรมของสังคมอ่ืน เช่น ศาสนาพราหมณ์เป็นท่ีมาของประเพณีต่าง ๆ ซ่ึงได้รับการปฏิบัติสืบ ทอดในสังคม เช่น พิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ การต้ังศาลพระภูมิ เป็นต้น นอกจากน้ียังมีวัฒนธรรม ตะวันตกทก่ี าลังเขา้ มามีอิทธิพลมากในสงั คมไทย เช่น ดา้ นเทคโนโลยี การแตง่ กาย และอาหาร เปน็ ตน้

สัปดาหท์ ี่ 12 (ชว่ั โมงที่ ๑) ใบงานวิชา สังคมศึกษา 3 ส23101 (ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 3) ชื่อหน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 6 เรอ่ื ง วฒั นธรรมไทยและวัฒนธรรมสากล ช่อื ................................................นามสกุล...................................เลขท่ี............. ............................................................................................................................................................................... คาชี้แจง ให้นักเรียนเชื่อมโยงประเภทของวัฒนธรรมให้ถูกต้อง พร้อมทั้งยกตัวอย่างวัฒนธรรมไทย และบอกความสาคญั ของวัฒนธรรมไทย 1. จงเชอื่ มโยงประเภทของวัฒนธรรมใหถ้ กู ต้อง ศาสนา พิธีกรรม บา้ นทรงไทย เรอื การไหว้ วฒั นธรรมทางวัตถุ ปลา จอบ วฒั นธรรมทางจิตใจ มนุษย์ กฎหมาย ไมใ่ ช่วัฒนธรรม วัด หนังสอื จารตี ๒.ให้นักเรยี นยกตวั อย่างวัฒนธรรมไทย มา ๑0 ตัวอยา่ ง วฒั นธรรมไทย ๑6 27 38 49 5 10

สัปดาหท์ ี่ 12 (ชั่วโมงท่ี ๒) ใบความรู้วิชา สังคมศกึ ษา 3 ส23101 (ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3) ช่อื หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 6 เรอ่ื ง วฒั นธรรมไทยและวัฒนธรรมสากล ………………………………………………………………………………………. วัฒนธรรมสากล ท่มี าของวัฒนธรรมสากล ส่วนใหญ่มาจากวัฒนธรรมทางฝั่งตะวันตก หรือทางฝ่ังยุโรป ท่ีเป็นพฤติกรรมที่ คนต่างวัฒนธรรมเห็นกันคิดว่าควรมาปรับใช้ในบางอย่างหรือบางพฤติ กรรมที่เป็นสากลแล้วอาจจะดูไม่สุภาพใน บางเชื้อชาติก็เป็นได้ กระทู้นี้ถือว่าเป็นแนวทางในการเรียนรู้วัฒนธรรมต่างชาติเพ่ือประโยชน์ในการทาตัวให้ สอดคล้องเวลาท่เี ราไปเยอื นดินแดนของเขา 1.การนง่ั ไขว่หา้ ง หยุดทารา้ ยกระดูก ชาวอาหรบั ถือว่าเป็นกริ ิยาท่ีนา่ รงั เกยี จมาก ท่ีน่ังยืน่ เทา้ ขา้ งหนึ่งไป ข้างหนา้ ต่อหนา้ คู่สนทนา เท้าควรวางราบไปกับพนื้ ท้งั สองข้างจึงจะเปน็ การสภุ าพมากกว่า 2.การให้นามบัตร นามบัตรท่ีดีไม่ควรท่ีจะพิมพ์อักษรย่อ ด้านหลังของนามบัตรควรพิมพ์รายละเอียดท่ี ติดต่อได้เปน็ ภาษาอังกฤษ การพิมพย์ ศหรอื ตาแหนง่ เป็นเร่ืองท่ีควรกระทาเพราะเป็นการสร้างความประทับใจแก่ผู้ ที่ได้รับ ขณะที่เราย่ืนนามบัตรให้ผู้ใด ไม่ควรยื่นด้วยมือซ้าย ประเทศญี่ปุ่นเม่ือจะมอบนามบัตรให้ใคร จะย่ืนให้ท้ัง สองมอื ถอื เป็นการมอบใหผ้ ้อู ่นื อย่างเตม็ ใจ 3.การสนทนาด้วยเรื่องทวั่ ๆไป เป็นหัวข้อที่ควรกระทาก่อนสนทนาเรื่องของธุรกิจอย่างจริงจังชาวญ่ีปุ่น ถือเปน็ ธรรมเนียมที่ต้องปฏิบัตใิ หค้ วามรสู้ กึ ท่ีดโี ดยนยิ มด่มื นา้ ชากันก่อนวกเข้าหาเร่อื งของธุรกิจต่อไป 4.ระยะหา่ งของคู่สนทนา ชาวอเมรกิ ันจะยนื สนทนาหา่ งกันประมาณ 1 ฟุต ถึง 3 ฟุต ชาวสเปนหรือ ละตินอเมรกิ นั และชาวตะวนั ออกกลางจะยืนสนทนากนั อย่างใกลช้ ิด แต่ชาวเอเชยี และแอฟริกนั จะเวน้ ระยะห่าง จากกนั มาก เช่นเดยี วกนั กับการยืนสนทนากบั สุภาพสตรี ๕.การสบตา ชาวตะวนั ออกกลาง ชาวสเปน และชาวยุโรป นิยมมองสบตาเมื่อสนทนากัน ส่วนชาวเอเชีย โดยเฉพาะชาวญปี่ นุ่ การมองสบตาถือเป็นการไม่สุภาพและอาจทาให้คสู่ นทนาไม่พอใจได้ ๖.การใชม้ อื ชาวตะวนั ออกกลางและชาวตะวนั ออกไกลถือว่าการชนี้ ิ้วเปน็ กริ ิยาที่ไม่สภุ าพ การผายมือ ควรเปน็ สิ่งทีค่ วรกระทามากกวา่ ขณะเดยี วกันการยกหัวแม่มอื ข้ึนถือเปน็ กริ ิยาท่ีไม่สภุ าพสาหรบั ชาวออสเตรเลยี การใชน้ ้ิวหวั แมม่ ือและนิว้ ช้ที าสัญลักษณเ์ ปน็ วงกลมประเทศในแถบละตนิ อเมริกนั ถอื เสมือนวา่ เปน็ การให้นวิ้ กลาง ของชนอเมริกัน และในประเทศญปี่ ุ่นหมายความวา่ เงินทอง สว่ นในประเทศฝร่งั เศสหมายถึง ความไร้สาระ ๗.การสวมกอด การสวมกอดกันเป็นเร่ืองธรรมดาสามัญของชนประเทศแถบละตินอเมริกาและชาว สลาฟโดยท่วั ไป เช่นชายกอดชาย หญิงกอดหญิง เป็นรูปแบบแสดงความยินดีต่อกันเปรียบได้กับการสัมผัสมือของ ชาวตะวันตก อย่างไรก็ตามธรรมเนียมดังกล่าวน้ีหากเป็นชาวต่างชาติอ่ืน ๆ การจะกระทากิริยาดังกล่าวต้อง ใครค่ รวญอย่างรอบคอบและดูความเหมาะสมดว้ ย

สัปดาหท์ ี่ 12 (ชัว่ โมงท่ี ๒) ใบงานวิชา สังคมศกึ ษา 3 ส23101 (ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3) ชอ่ื หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 6 เรือ่ ง วฒั นธรรมไทยและวัฒนธรรมสากล ชอ่ื ...............................................นามสกุล..........................................เลขที่............. ........................................................................................................................................................ ใบงานเรอ่ื ง วัฒนธรรมสากล คาชแ้ี จง ให้นักเรียนเขียนเรื่องราวของตนเองใน 1 วัน พร้อมทั้งให้ระบุว่าในเรื่องราวนั้นมีวัฒนธรรม สากลเข้ามาเก่ียวขอ้ งก่ีอยา่ งและอะไรบ้าง 1. เหตุการณ์ของตนเองใน 1 วัน เรอื่ ง................................................................................. .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................



สปั ดาหท์ ่ี 13 (ชั่วโมงท่ี ๑) ใบความรวู้ ิชา สงั คมศกึ ษา 3 ส23101 (ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3) ช่อื หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 6 เร่อื ง วัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมสากล ……………………………………………………………… เรอ่ื ง วัฒนธรรมสากล วัฒนธรรมเป็นส่ิงท่ีไม่ม่ันคงที่หรือใช้เฉพาะในสังคมหน่ึงเท่านั้น ในปัจจุบันมีความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยีและการขนสง่ คมนาคม ทำให้การเผยแพร่วัฒนธรรมกระทำได้รวดเร็วยิง่ ข้นึ กระบวนการนเ้ี รียกว่า การเผยแพร่วัฒนธรรมกระทำได้รวดเร็วยิ่งข้ึนกระบวนการนี้เรียกว่า การเผยแพร่หรือการกระจายทาง วฒั นธรรม(Cultural Diffusion) หลังการปฏิวัติอุตสาหกรรมในยุโรป ทำให้ชนชาตเิ หล่าน้นั แขง่ ขันกันแสวงหาอาณานิคมในทวปี เอเชยี ด้วยแล้ว สังคมไทยก็ตกเป็นเป้าหมายของกลุ่มชาวยุโรป โดยเฉพาะอังกฤษ ฝรั่งเศส และอิทธิพลของ วัฒนธรรม ตะวนั ตกกย็ ังคงตอ่ เนื่องมาจนถึงปจั จุบนั ดว้ ยสาเหตุต่อไปน้ี 1. ความเจรญิ ทางด้านการคมนาคมขนสง่ ทำให้การเดินทางสะดวก การเผยแพรว่ ัฒนธรรมจะเรว็ ขน้ึ 2. อิทธิพลจากสื่อมวลชนต่าง ๆ เชน่ ภาพยนตร์ โทรทศั น์ หนงั สอื และส่งิ ตพี มิ พ์อื่น ๆ 3. การเผยแพรว่ ฒั นธรรมโดยตรง คือ ประเทศต่าง ๆ สง่ คนเข่้ามาเผยแพร่ หรอื จากการออกไปศึกษา เล่าเรยี น เมือ่ กลบั มาแล้วก็นำวัฒนธรรมน้ันมาเผยแพร่ อทิ ธพิ ลของวฒั นธรรมตา่ งชาตใิ นสังคม แยกเป็นด้านตา่ ง ๆ น้ี 1. ทางการศกึ ษา วัฒนธรรมขอมอินเดยี เข้ามามีอทิ ธพิ ลในสมยั สโุ ขทยั และกรุงศรีอยุธยา - ภาษาตะวันตก เร่ิมเขา้ สมัยรชั กาลที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อร้อยเอกเจมส์ โลว์ ชาวอังกฤษ คิดตัวพมิ พภ์ าษาไทยได้สำเรจ็ - รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีการปฎิรูปการศึกษาและสังคม มีการต้ัง กระทรวงธรรมการ เรมิ่ มกี ารจัดการศึกษาแบบตะวนั ตกตงั้ แตน่ น้ั มา - ปัจจุบันระบบการศึกษาของไทยยึดหลักแนวทางจากประเทศสหรัฐอเมริกา ทั้งด้านปรัชญา การศกึ ษา เนื้อหา และกระบวนการเรียนการสอน ส่วนวทิ ยาการสมยั ใหม่ ในวงการศึกษาของไทยรับมาจาก ตะวนั ตกเป็นส่วนใหญ่ 2. ทางการเมอื ง - สมยั สโุ ขทัยการปกครองเป็นแบบพ่อปกครองลกู - สมัยกรุงศรีอยุธยา รับอิทธิพลจากขอมและอินเดีย เป็นแบบลัทธิเทวราช กษัตริย์ เป็นสมมติเทพ (ขา้ กับเจ้า บ่าวกับนาย) - สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ในสมัยรัชกาลท่ี 5 เร่ิมมีสภาที่ปรึกษา นับเป็นก ารเร่ิมเข้าสู่ระบอบ ประชาธปิ ไตย จนกระท่ังปีพ.ศ. 2475 จึงเป็นประชาธปิ ไตยโดยแท้จรงิ ซง่ึ ไดร้ ับอิทธพิ ลจากประเทศในยโุ รป 3. ทางเศรษฐกจิ ระบบเศรษฐกิจเป็นแบบเสรนี ยิ ม หรอื ทุนนยิ ม ไดร้ บั อิทธพิ ลจากตะวนั ตกมากทส่ี ุด 4. ทางสังคมและวัฒนธรรม อิทธิพลจากต่างชาติทำให้วิถีชีวิตคนไทยเปลี่ยนแปลงไป ความ เอื้อเฟ้ือเผื่อแผ่ เห็นอกเหน็ ใจมคี วามอบอุ่นนอ้ ยลง มกี ารชิงดชี ิงเด่น ความสัมพันธ์เปล่ียนเปน็ แบบทุติย ภมู ิ

วัฒนธรรมอนิ เดยี ท่มี ีอธิพลตอ่ วฒั นธรรมไทย 1. การเมืองการปกครอง กษัตรยิ ์เป็นเทวราชตามศาสนาพราหมณ์ เกิดระบบเจ้าขนุ มลู นาย ส่วน ประมวล กฎหมายพระมนูธรรมศาสตร์ของอินเดียน้ัน เป็นที่มาของกฎหมายตราสามดวงในประเทศไทยและกฎ มณเฑยี รบาล 2. ศาสนา ศาสนาพราหมณ์และพระพุทธศาสนาทำให้เกิดประเพณีต่าง ๆ มากมาย เช่น พระราชพิธี จรดพระนงั คัลแรกนาขวญั โกนจุก หลักทศพธิ ราชธรรม 3. ภาษาและวรรณกรรม รับภาษาบาลีและสันสกฤต เพื่อให้เกดิ ความเจริญงอกงามทางภาษา แตไ่ ม่ได้ ใช้พูด ไม่มีอิทธิพลเหมือนภาษาตะวันตก วรรณกรรมคือมหากาพย์รามายณะ มหาภารตยุทธ และ พระไตรปฎิ ก 4. ศิลปกรรม ส่วนใหญ่เกี่ยวกับศาสนา ได้แก่ การสร้างสถูป เจดีย์ วิหาร พระพุทธรูป จิตรกรรมฝา ผนงั ท่าร่ายรำต่าง ๆ วฒั นธรรมจนี ที่มีอธพิ ลต่อวฒั นธรรมไทย จีนเขา้ มาสมัยกรงุ สุโขทัยและกรุงศรีอยุธยาโดยเข้ามาค้าขาย ในสมัยกรงุ ธนบุรแี ละกรุงรตั นโกสินทร์ เข้ามาทำมาหากิน ทำให้เกิดการผสมผสานวัฒนธรรมไทยกับจีน จนกลายเป็นวัฒนธรรมไทย อิทธิพล วัฒนธรรมจีนต่อวัฒนธรรมไทยได้แก่ 1. ความเช่ือทางศาสนา เป็นการผสมผสาน การบูชาบรรพบุรษุ การนับถอื เจ้า ส่วนการไหว้พระจันทร์ เทศกาลกนิ เจ ชาวไทยเชือ้ สายจีนรุ่นใหมย่ อมรับวัฒนธรรมเดมิ ของจนี นอ้ ยลงทกุ ที 2. ดา้ นศิลปกรรม เครอ่ื งชามสงั คโลกเขา้ มาในสมยั สุโขทัย 3. ด้านวรรณกรรม การแปลวรรณกรรมจีนเป็นภาษาไทย เริ่มขึ้นในสมัยรัชกาลที่1 แห่งกรุง รัตนโกสนิ ทร์ ได้แก่ สามก๊กอำนวยการแปลโดย เจา้ พระยาคลงั (หน) กลายเปน็ เพชรน้ำงามแห่งวรรณคดีไทย 4. วัฒนธรรมอน่ื ๆ มอี าหารจีน และ \"ขนมจนั อับ\" ที่กลายเป็นขนมท่ีมีบทบาทในวฒั นธรรมไทย ใชใ้ น พิธี ก๋วยเตีย๋ วก็กลายมาเป็นอาหารหลักของไทย นอกจากนยี้ งั มีขา้ วตม้ กุย๊ ผัดซอี วิ๊ และซาลาเปา เป็นต้น วฒั นธรรมชาตินยิ มตะวันตกท่ีมีอทิ ธพิ ลต่อวฒั นธรรมไทย โปรตเุ กส เป็นชาติตะวันตกชาติแรกท่ีเข้ามาในสมัยสมเดจ็ พระรามาธิบดีที่ 2 นำวฒั นธรรมการทำปืน ไฟ การสร้างป้อมต่อต้านปืนไฟ ยุทธวิธีทางการทหาร การทำข้ีผ้ึงรักษาแผล การทำขนมฝอยทอง ขนมฝร่ัง เป็นทหารอาสาสมัยพระชยั ราชาธริ าช รบกบั พม่า 120 คน ฮอลันดาเข้ามาสมัยในสมัยพระนเรศรวรมหาราช อาคารท่ีฮอลันดาสร้าง ไทยเรียกว่า \"ตกึ วิลันดา\" นำ อาวุธปนื มาขาย รวมทัง้ เคร่ืองแก้ว กล้องยาสบู เคร่ืองเพชรเคร่อื งพลอย ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชก็ ทรงพอพระทัยแว่นตา และกลอ้ งสอ่ งทางไกลจากฮอลนั ดา องั กฤษ เข้ามาในราชสำนักสมัยพระเอกาทศรถ มงุ่ ทางด้านการคา้ แต่สู้ฮอลันดาไม่ได้ เช่น ยอรช์ ไวท์ มีตำ่ แหนง่ เปน็ ออกหลวงวิชิตสาคร ส่วน แซมมวล ไวท์ ได้เป็นนายท่าเมืองมะริด ฝร่ังเศส เข้ามาสมัยพระนารายณ์มหาราช เพ่ือเผยแผ่ศาสนาคริสต์ คณะบาทหลวงได้นำความรู้ด้าน การแพทย์ การศึกษา การทหาร ดาราศาสตร์ การวางท่อประปา การสร้างหอดูดาวท่ีลพบุรีและอ่ืน ๆ อีก หลายแหง่ ในสมัยอยุธยาตอนปลายความสัมพันธ์กับชาติตะวันตกลดลงและหยุดชะงักไปในสมัยพระบาทสมเด็จ พระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั ทรงปรบั ปรุงประเทศตามแบบตะวันตกโดยมีการเปิดสัมพนั ธท์ างการทูต เพราะตะ

หนักถึงภยันตรายท่ีหลีกเล่ียงไม่ได้ เปน็ การป้องกันการแทรกแซงภายใน วัฒนธรรมตะวันตกจึงเร่ิมผสมผสาน จนเป็นที่ยอมรบั และเข้ามามบี ทบาทในดา้ นตา่ ง ๆ ดงั น้ี 1. การเมอื งการปกครอง รับเอาประเพณี ค่านยิ ม วฒั นธรรม เขา้ มาในประเทศ เพราะมพี ระบรมวงศานุ วงศ์ไปเรียนต่างประเทศ มกี ารปฎริ ปู การปกครองแบบชาติตะวันตก ตั้งกระทรวง 12 กระทรวง 2. เศรษฐกิจ ยกเลิกระบบไพร่ เลิกทาส ใช้เงินตราเป็นตัวกลางในการซื้อขาย ต้ังธนาคารแห่งแรก คือ บุคคลัภย์ (Book Club) ตอ่ มาคือธนาคารไทยพาณชิ ย์ 3. ด้านสังคม เลกิ ระบบหมอบคลานมาเป็นแสดงความเคารพให้น่ังเก้าอ้ีแทน เปลี่ยนแปลงการแต่งกาย จัดการศึกษาเปน็ ระบบโรงเรียน ตอ่ มาในสมยั รชั กาลที่ 6 ไดอ้ อกพระราชบญั ญัตปิ ระถมศึกษา พ.ศ. 2464 การศึกษาขยายถึงระดับมหาวิทยาลัย มีพระราชบัญญัตินามสกุล และคำนำหน้าชื่อ นาย นาง นางสาว เดก็ หญิง เด็กชาย สรุปได้ว่า คนไทยมีวัฒนธรรมท่ีเป็นของตนเองมาต้ังแต่สุโขทัย ซ่ึงแสดงออกถึงความเป็นชาติท่ีมี ความรกั ความสามัคคีและสงบสุข อย่างไรก็ตาม วัฒนธรรมไทยก็เหมือนวัฒนธรรมของชนชาติอ่ืนท่ีเป็น วัฒนธรรมแบบผสมผสาน คอื 1. มีวัฒนธรรมดงั เดมิ เป็นของตนเอง 2. รับเอาวัฒนธรรมอืน่ จากภายนอกทีไ่ ดต้ ดิ ตอ่ สัมพันธ์กัน มาผสมผสานใหเ้ กดิ ประโยชนต์ ่อสว่ นรวม

สปั ดาหท์ ี่ 13 (ชั่วโมงที่ ๑) ใบงานวิชา สงั คมศกึ ษา 3 ส23101 (ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3) ชือ่ หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 6 เร่ือง วฒั นธรรมไทยและวฒั นธรรมสากล ชื่อ.................................นามสกุล.........................เลขที่.............. ............................................................................................................................................. คำช้ีแจง ให้นักเรยี นสรปุ บทเรยี นในรปู แบบแผนผงั ความคดิ พร้อมตอบคำถามในประเด็นที่ครูกำหนดให้ 2. นกั เรียนคดิ ว่า อิทธิพลทางวัฒนธรรมสากล สง่ ผลต่อการดำเนนิ ชีวิตของคนในสงั คมไทย หรอื ไมอ่ ยา่ งไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

สปั ดาหท์ ่ี 13 (ชั่วโมงที่ ๒) ใบงานวชิ า สังคมศกึ ษา 3 ส23101 (ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3) ชือ่ หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 6 เรื่อง วัฒนธรรมไทยและวฒั นธรรมสากล ………………………………………………………………………………. เรอ่ื ง วธิ กี ารเลอื กรบั วฒั นธรรมสากล การเลอื กรับวฒั นธรรมสากล 1) เลือกรบั วัฒนธรรมสากลทจี่ ำเป็นต่อการดำเนนิ ชวี ติ ประจำวัน วัฒนธรรมสากล เช่น ภาษาอังกฤษ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนระบบระเบียบการค้าขายระหว่างประเทศ มคี วามสำคัญในการติดต่อสัมพนั ธ์ระหว่างคน ไทยและคนต่างชาติอย่างมาก จึงจำเป็นตอ้ งศกึ ษาหาความรใู้ หถ้ อ่ งแท้ เลือกรบั เฉพาะวฒั นธรรมท่ีดี เหมาะกับ สงั คมไทยเพ่อื เปน็ ประโยชนต์ อ่ การดำเนนิ ชวี ติ ขอแงคนไทยในยคุ ปัจจุบัน 2) พจิ ารณาถึงข้อดีและข้อเสยี ควบคู่กันไป เน่ืองจากส่ิงประดิษฐ์และนวัตกรรมจากวัฒนธรรมภายนอกมีท้ังข้อดีและข้อเสีย หรือกล่าวอี นยั หนงึ่ คือ ก่อให้เกิดคุณอนันต์และโทษมหันต์ ซง่ึ ถ้าหากเราศกึ ษาให้ดีใช้ให้เป็นประโยชนก์ ็จะก่อให้เกิดความ สะดวกสบาย ช่วยแกไ้ ขปัญหาได้ทันท่วงที และตอบสนองความต้องการในด้านตา่ งๆ ได้ดงั ใจ แต่ผลเสยี กม็ ีอยู่ มาก เช่น ทำให้มนุษย์เกิดความฟุ้งเฟ้อ ให้ความสำคัญทางด้านวัตถุมากกว่าจิตใจ เกิดการแก่งแย่งแข่งขันกัน อีกทั้งส่งผลเสียต่อสภาพแวดล้อม เนื่องจากต้องใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมากและมีการปล่อยของเสีย ออกมาเป็นจำนวนมาก 3) มีการรว่ มมอื คน้ คว้า เผยแพร่ รวมถงึ การประยุกต์ใช้ภูมปิ ญั ญาไทย โดยสืบค้นจากคำบอกกล่าวของผู้เฒ่า ผู้อวุโส และผู้รู้ จากนิยาย นิทานชาวบ้าน คัมภีย์ทาง ศาสนา วรรณคดีประเภทต่างๆ คำคม สุภาษิต คำพังเพย รวมถึงการสังเกตและเปรียบเทียบการดำเนินชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในสังคม และความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม โดยได้จัดระบบความรู้ เพ่ือสร้างเป็น องค์ความรู้ขึ้น พร้อมทัง้ เผยแพรใ่ หท้ ุกภาคส่วนไดต้ ระหนกั ถึงความสำคญั ของภูมิปญั ญาไทย 4) มีการพัฒนาและผสมผสานวฒั นธรรมไทยใหเ้ หมาะสมกับสมยั ปัจจบุ นั เราจะเห็นได้ว่า ภูมิปัญญาไทยหลายเร่ืองได้กลายเป็นภูมิปัญญาสากล เช่น อาหารไทยได้รับ ความนิยมท่ัวโลก มกี ารผสมผสานภูมปิ ัญญาไทยกับภูมปิ ัญญาตะวันตก โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ดา้ นสถาปัตยกรรม เช่น โบสถ์วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม พระท่ีนั่งจักรีมหาปราสาทในพระบรมมหาราชวัง พระที่น่ังอนันต สมาคม และสถาปัตยกรรมแบบชิโน-โปรตกุ ีส ในจังหวดั ภเู ก็ต เปน็ ต้น การผสมผสานอยา่ งลงตัวของภมู ิปัญญา ไทยกบั ภูมปิ ัญญาตะวันตก ไดก้ ลายเปน็ มรดกสำคญั ของวฒั นธรรมร่วมสมยั ของไทย

สปั ดาห์ที่ 13 (ชั่วโมงท่ี ๒) ใบงานวิชา สงั คมศกึ ษา 3 ส23101 (ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3) ชอ่ื หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 6 เรือ่ ง วัฒนธรรมไทยและวฒั นธรรมสากล ………………………………………………………………………………. คำชี้แจง ให้นักเรียนวิเคราะห์สาเหตุของการเลือกรับเอาวัฒนธรรมสากลมาใช้ พร้อมท้ังบอก ประโยชนแ์ ละโทษของการรับวัฒนธรรมสากลมาใช้ 1. นกั เรยี นคดิ ว่าคนในสังคมไทยมีสาเหตุอะไรในการเลือกรบั เอาวัฒนธรรมสากลเขา้ มาปรับใช้ในวิถี การดำเนนิ ชีวิตในปัจจบุ ัน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. ใหน้ กั เรียนยกตวั อย่างประโยชน์ และโทษของการรับวฒั นธรรมสากลมาใชม้ าอย่างละ 10 ตวั อย่าง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

สปั ดาห์ที่ 14 (ช่ัวโมงที่ ๑) ใบความรู้วชิ า สงั คมศึกษา 3 ส23101 (ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3) ชื่อหนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 7 สงั คมดมี ีสุข ……………………………………………………………… เรื่อง ลักษณะของสังคมไทยและคา่ นยิ ม จากสภาพแวดล้อมท่ีหลากหลาย ที่ราบลุ่ม ท่ีราบสูง ภูเขา และชายทะเล ท าให้เกิดความแตกต่าง ทางวัฒนธรรมของแตล่ ะทอ้ งถนิ่ ของไทย จำแนกได้ดงั นี้ 1. เป็นสังคมทม่ี ีพระมหากษตั ริย์เป็นประมุข เป็นศูนย์รวมจติ ใจของชนทั้งชาติชาวไทยทุกหมู่เหล่าให้ ความเคารพนับถือ ท าหน้าท่ีปกครองประเทศ ดูแลพสกนิกรชาวไทยให้รอดพ้นจากอันตรายต่างๆ มาต้ังแต่ อดีตจนถงึ ปจั จบุ ัน 2. เป็นสังคมท่ียึดถือพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาหลักของชาติไทย ได้ก าหนดค่านิยม ความเช่ือ แนวความคิด และบรรทัดฐานทางสังคมของชาติไทยมาตั้งแต่สมัยโบราณ ตั้งแต่สมัยของอาณาจักรสุโขทัยมา จนถงึ ปัจจบุ ัน 3. เป็นสังคมท่ยี ึดอาชีพเกษตรกร ไทยเป็นประเทศเกษตรกรทม่ี คี วามอุดมสมบรู ณ์ ประชาชนมคี วาม ผกู พนั อาชีพเกษตรมาต้ังแต่โบราณ จึงเกิดประเพณีและวัฒนธรรมขน้ึ สว่ นใหญม่ าจากเกษตรกรและการมีชวี ติ อยู่ในชนบท 4. เป็นสังคมท่ีมีวิธีการด าเนินชีวิตและบุคลิกภาพที่เป็นเอกลักษณ์ คือ คนไทยจะมีบุคลิกอ่อนน้อม ถ่อมตน ให้ความเคารพผู้ใหญ่ เป็นคนเอ้ือเฟ้ือเผื่อแฟ่ เมตตากรุณา และผูกพันกับครอบครัวนิยมความ สนุกสนาน ยดึ ถือระบบเครอื ญาติ 5. เป็นสงั คมท่ียึดในการกุศล นิยมท าบุญในวนั สำคัญในเทศกาลต่าง ๆ มีตลอดท้ังปซี ่ึงเกี่ยวขอ้ งกับ พระมหากษตั ริย์ นกั ขตั กฤษ์ เพ่ือเป็นสิริมงคลแก่ตนเองและครอบครัว ยึดถอื พิธกี รรมตามความเชื่อต่าง ๆ อย่างเคร่งครดั 6. เปน็ สังคมท่ีมกี ารแบ่งชนชัน้ มาตง้ั แต่สมยั โบราณ โดยการใชศ้ ักดนิ าเป็นเคร่ืองมอื ในสมัยอยุธยา มี การยึดถืออ านาจยศถาบรรดาศักด์ิ เป็นสำคัญ ต่อมามีการยกเลิก สังคมไทยจึงหันไปยึดการมีจำนวนทรัพย์ เป็นเกณฑใ์ นการแบ่งชนชั้น โดยผู้มีทรัพย์มากเป็นชนชัน้ สูงและผมู้ ีทรัพย์นอ้ ยเป็นคนช้ันตำ่ เป็นต้น 7. เป็นสังคมชนบท เพราะประชาชนส่วนใหญ่ของไทยอาศัยอยู่ในชนบทท่ีมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกัน ยึดมั่นในขนบธรรมเนียมแบบดั้งเดิม มีฐานะยากจนให้ความสำคัญในตัวบุคคลมากกว่าหลักการ เป็นสังคมที่ อนุรกั ษน์ ิยม ประชาชนมคี วามสามารถในการปรบั ตวั ช้า 8. เป็นสงั คมท่ีรักความเป็นอิสระ ซึ่งเป็นนิสัยของคนไทยที่รกั ความเป็นอิสรเสรีไม่ชอบการถูกบังคับ รักความสงบซงึ่ เปน็ อิทธพิ ลท่รี บั มาจากหลักค าสอนของพระพุทธศาสนา 9. เป็นสังคมที่ยอมรับเอาวัฒนธรรมของต่างชาติมาปฏิบัติได้ง่าย เพราะเป็นสังคมที่มีความ ประนีประนอมสงู เป็นสงั คมทเ่ี ปิดกว้างพรอ้ มทจี่ ะรับเอาวฒั นธรรมของตา่ งชาตมิ าประยุกตใ์ ช้ใน ชีวิตประจ าวนั ตลอดเวลา

สัปดาหท์ ่ี 14 (ช่ัวโมงท่ี ๑) ใบงานวิชา สงั คมศกึ ษา 3 ส23101 (ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 3) ชอื่ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 7 สังคมดีมสี ุข ช่ือ................................นามสกลุ ..................................เลขท.ี่ ......... ……………………………………………………………… คำชี้แจง ให้นักเรียนยกตัวอย่างความแตกต่างระหว่างสังคมชนบทกับสังคมเมือง จำนวน 10 ข้อ พร้อมท้ัง บอก ขอ้ ดี ข้อเสียของสงั คมชนบทและสงั คมเมือง 1.ให้นักเรยี นยกตัวอย่างความแตกต่างระหวา่ งสังคมชนบทกับสังคมเมือง จำนวน 10 ขอ้ ลงใสใ่ นตาราง สังคมชนบท สงั คมเมือง 1 11 2 12 3 13 4 14 5 15 6 16 7 17 8 18 9 19 10 20 2. ใหน้ กั เรยี นบอกขอ้ ดี ข้อเสยี ของสังคมชนบทและสงั คมเมอื ง 2.1 สังคมชนบท ข้อดี ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 2.2 สงั คมชนบท ข้อเสยี ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 2.3 สงั คมเมอื ง ขอ้ ดี ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 2.4 สังคมเมอื ง ข้อเสยี ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................

สัปดาห์ท่ี 14 (ชัว่ โมงท่ี ๒) ใบความรวู้ ิชา สงั คมศึกษา 3 ส23101 (ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3) ชือ่ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 7 สงั คมดีมีสขุ ............................................................................................................................................................ เร่ือง ปจั จยั ท่ีกอ่ ใหเ้ กดิ ความขัดแย้ง สาเหตุของปัญหาสามารถแบง่ ยอ่ ยๆได้ดังน้ี 1. ความไม่ลงตวั กันทางความเห็นทางการเมือง ต้ังแต่ในอดีตแล้วที่คนสยาม, คนไทย หรือ จะเรียกด้วยศัพท์อะไรก็ตามมีการสร้างระบอบการปกครองจากชุมชนเล็กๆสู่อาณาจักรขนาดใหญ่ เมื่อใดก็ตามท่ีมีความเห็นไม่ลงตัวกัน สมาชิกในสังคมก็จะเกิดการแบ่งฝักแบ่งฝ่าย มีการแสดงความ คิดเห็นของตนให้ผู้อ่ืนได้รับรู้ ผู้ที่มีความคิดเห็นเช่นเดียวกันก็จะถูกมองว่าเป็นฝ่ายเดียวกัน ผู้ที่มี ความเห็นต่างออกไปก็จะถกู มองว่าเป็นศตั รู มกี ารต่อส้เู พือ่ แยง่ ชงิ อำนาจ เปน็ วัฏจกั รอย่างนเ้ี รื่อยไป 2. การไม่ยอมรับในความเปน็ ของฝ่ายอื่น เม่ือบุคคลหรือกลุม่ บุคคลกา้ วข้ึนมามอี ำนาจสูงสุด ในการปกครอง ตนเองก็ยอ่ มต้องการท่จี ะมีสิทธ์ิเด็ดขาดในสังคม จึงมิได้รับฟังความคิดเห็นที่แต่งต่าง ออกไป ด้วยเห็นว่าเป็นผู้ทีค่ ิดตอ่ ต้าน แต่เม่ือขาดการรับฟงั ก็ทำให้เกิดความหลงระเริงในอำนาจ การ ฉอ้ ราษฎร์บังหลวง และส่งิ เป็นผลเสียต่อสงั คมอกี มากมาย 3. การไม่ยอมรับในอำนาจท่ีอีกฝ่ายได้รับ กล่าวคือ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงอำนาจไม่ว่าจะ สมัยใดก็ตาม ฝ่ายอำนาจเก่ามักจะไม่ยอมรับในอำนาจของอีกฝ่ายเพราะทำให้ตนสูญเสียอำนาจ เกิด การต่อต้านเพ่อื เรยี กร้อง, ร้องขอ อำนาจ ทำให้อำนาจกลายเป็นเคร่ืองมอื ในการต่อรองทางการเมือง อีกอย่างหนงึ่ ไปโดยปริยาย มีการตั้งกลุ่มเพื่อดำเนินการตอ่ ต้าน ทัง้ ที่เปดิ เผลและเป็นกลุม่ ลบั ใช้ท้ังวธิ ี สะอาดและสกปรก 4. ผลประโยชน์ ดังท่ีกล่าวไว้ขา้ งต้นว่า อำนาจกลายเป็นเครอื่ งมอื ต่อรองทางการเมือง เพราะ อำนาจน้ันสามารถก่อให้เกดผลประโยชนไ์ ด้ แต่เมื่อผลประโยชน์ที่ได้ถูกจัดแบ่งไม่เท่ากัน ก็ก่อให้เกิด เป็นความขัดแย้งขึ้นมาได้อีกเช่นกัน เช่น การขัดแย่งผลประโยชน์ตำแหน่งทางการเมือง, การขัดแย้ง ผลประโยชน์ทางการค้า และการทำทุกวิถีทางเพ่ือให้ตนยังคงไว้ซึ้งอำนาจและผลประโยชน์ ซึ่ง ก่อให้เกิดผลสำคัญในระบอบการเมืองไทย คือ ในระยะเวลา 78 ปีของระบบรัฐสภา ประเทศไทยมี นายกรัฐมนตรี 27คน มีคณะรัฐมนตรี 59 ชุด มีรฐั ธรรมนูญ 18 ฉบับ มีกบฏ 11 คร้ัง มีการปฏิวัติ รฐั ประหาร 12 ครัง้

สปั ดาหท์ ี่ 14 (ช่ัวโมงที่ ๒) ใบงานวชิ า สังคมศึกษา 3 ส23101 (ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3) ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สงั คมดมี สี ุข ช่อื .................................นามสกลุ .......................เลขท่.ี ............... ........................................................................................................................... คำชีแ้ จง ให้นักเรียนตอบคำถามให้สมบูรณ์ 1. จงยกตัวอย่างเหตกุ ำรณค์ วามขัดแย้งในสังคมไทย ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ 2. จงวเิ คราะหส์ าเหตุของเหตุการณ์ความขัดแยง้ ใน มา 3 ข้อ ................................................................................................... ............................................................. ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ 3. จงวิเคราะหผ์ ลกระทบที่เกิดจำกเหตุกำรณ์ความขดั แย้งดังกลำ่ ว ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ 4. จงเสนอแนวทำงการแก้ปัญหาใน มา 5 ข้อ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................

สปั ดาห์ที่ 15 (ชัว่ โมงที่ 1) ใบความรวู้ ิชา สังคมศึกษา 3 ส23101 (ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3) ช่อื หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 7 สงั คมดีมีสขุ ……………………………………………………………………………… เรื่อง ปัญหาของสังคมไทย 1. ปัญหาความยากจน มสี าเหตุเกดิ จาก 1. การเพ่ิมขน้ึ ของจำนวนประชากร 2. การขาดการศกึ ษา ทำให้มรี ายได้ตำ่ 3. ประชากรสว่ นใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม 4. ลกั ษณะอาชีพมรี ายไดไ้ ม่แน่นอนสม่ำเสมอ เช่นกรรมกร รับจ้าง 5. มีบุตรมากเกินไป รายได้ไม่พอกับรายจ่าย 6. มลี ักษณะนิสัยเฉ่อื ยชาและเกียจคร้าน ไม่ชอบทำงาน แนวทางการแก้ไขปญั หา 1. พฒั นาเศรษฐกจิ เช่น กระจายรายได้ การสร้างงานในชนบท ขยายการคมนาคมขนสง่ เปน็ ต้น 2. พัฒนาสังคม เชน่ ขยายการศึกษาเพ่ิมมากขน้ึ บริการฝึกอาชพี ใหก้ บั ประชาชน 3. พัฒนาคณุ ภาพของประชากร 2. ปญั หาอาชญากรรม มสี าเหตเุ กิดจาก 1. การขาดความอบอนุ่ ทางจิตใจ 2. การเปลย่ี นแปลงทางสงั คมมากขึ้น 3. สิง่ แวดล้อมทางเศรษฐกจิ และสงั คม 4. มคี ่านยิ มในทางที่ผิด แนวทางการแกไ้ ขปัญหา 1. รัฐและหนว่ ยงานรับผิดชอบควรชว่ ยกนั แก้ไขปัญหา 2. ปลกู ฝงั และพัฒนาจิตใจของสมาชิกในสังคมให้มีคณุ ธรรม 3. อบรมสั่งสอนและใหค้ วามรกั ความอบอุ่น และรวมถงึ ให้ความรว่ มมอื กับหน่วยงานและเจา้ หนา้ ที่ 3. ปัญหายาเสพตดิ มสี าเหตุเกดิ จาก 1. ถกู ชกั ชวนให้ทดลอง 2. ประกอบอาชพี บางอยา่ งทต่ี ้องการเพม่ิ งานมากขึ้น 3. ความอยากร้แู ละอยากทดลอง 4. สภาวะแวดลอ้ มไมด่ ี แนวทางการแก้ไขปัญหา 1. ใหค้ วามรูเ้ ร่อื งโทษของยาเสพตดิ 2. ป้องกันและปราบปรามผู้ซอ้ื และผขู้ ายอยา่ งเด็ดขาด 3. การร่วมมอื สอดส่องดูแลความประพฤตขิ องเด็กอย่างใกลช้ ิด 4. จัดใหม้ ีการบำบัดและรกั ษาผตู้ ิดยาเสพตดิ 4. ปญั หาส่งิ แวดลอ้ ม เช่น อากาศเป็นพิษ นำ้ เนา่ เสยี เสียงเปน็ พษิ ขยะมูลฝอย เปน็ ตน้ มสี าเหตุเกิดจาก 1. การเพ่ิมขนึ้ ของจำนวนประชากรอย่างรวดเร็ว 2. เกดิ จากความก้าวหนา้ ทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 3. การขยายตวั ทางด้านอุตสาหกรรม 4. ขาดความรบั ผดิ ชอบ และระเบยี บวินัยของสมาชิกในสงั คม แนวทางการแกไ้ ขปญั หา 1. ใหก้ ารศกึ ษาและคำแนะนำต่าง ๆ แก่สมาชิกในสังคม 2. วางนโยบายการปอ้ งกันการทำลายสิ่งแวดลอ้ ม 3. ลงโทษผู้ฝ่าฝนื และกระทำผิดอย่างจรงิ จงั

สัปดาหท์ ่ี 15 (ชวั่ โมงท่ี 1) ใบงานวิชา สงั คมศึกษา 3 ส23101 (ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3) ชือ่ หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 7 สังคมดีมีสขุ ช่อื ................................นามสกุล...............................เลขท่ี.............. ……………………………………………………………………………… คำชแ้ี จง ใหน้ ักเรยี นอธบิ ายลกั ษณะของปัญหาสงั คมท่ีเกดิ ขน้ึ ในปัจจบุ นั พรอ้ มทง้ั บอกแนวทางการแก้ไข 1. ปัญหาสังคม เรอ่ื ง............................................................................................................................... ลกั ษณะของปญั หาท่ีเกดิ ขน้ึ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... แนวทางการแก้ไขปัญหาดงั กลา่ ว ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... 2. ปญั หาสังคม เร่ือง............................................................................................................................... ลกั ษณะของปัญหาที่เกิดขน้ึ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... แนวทางการแกไ้ ขปัญหาดังกลา่ ว ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... 3. ปญั หาสงั คม เรือ่ ง............................................................................................................................... ลกั ษณะของปญั หาท่เี กิดข้นึ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... แนวทางการแก้ไขปญั หาดังกล่าว ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... 4. ปญั หาสังคม เรอื่ ง............................................................................................................................... ลักษณะของปญั หาทเ่ี กิดขน้ึ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... แนวทางการแกไ้ ขปญั หาดงั กล่าว ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ...................................

สปั ดาหท์ ี่ 15 (ชั่วโมงท่ี 2) ใบความรวู้ ิชา สังคมศกึ ษา 3 ส23101 (ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3) ชอื่ หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 8 การเมืองการปกครอง ………………………………………………………………………. เร่อื ง รูปแบบการปกครองในยคุ ปัจจุบัน รูปแบบการเมืองการปกครองในโลกปัจจุบัน มีลักษณะการปกครองแบ่งคร่าวๆ ได้เป็น 2 แบบ คือ ระบอบประชาธปิ ไตย ซง่ึ แบง่ ย่อยออกได้อีกเปน็ 2 ประเภทคือ แบบมพี ระมหากษัตรยิ ์เป็นประมุข และแบบมี ประธานาธิบดีเป็นประมุข ส่วนระบอบการเมืองการปกครองอีกประเภทหน่ึงก็คือ ระบอบเผด็จการ ซ่ึง แบง่ ยอ่ ยอีกได้เปน็ 3 ประเภทคอื เผด็จการทหาร เผด็จการฟาสซิสต์ และเผดจ็ การคอมมิวนสิ ต์ ระบอบประชาธปิ ไตย สามารถแบ่งตามลักษณะของผูน้ ำประเทศหรือประมขุ ได้ 2 ลกั ษณะ แบบมีพระมหากษัตรยิ ์เป็นประมขุ พระมหากษตั รยิ จ์ ะทรงใช้อำนาจอธิปไตย ซงึ่ เป็นของปวงชน แยกผ่านเป็น 3 ทางคือ ทรงใชอ้ ำนาจ นติ ิบญั ญัติโดยผา่ นทางรฐั สภา ใช้อำนาจบรหิ ารโดยผา่ นทางคณะรัฐมนตรี และใช้อำนาจตุลาการโดยผ่านทาง ศาล ส่วนองคพ์ ระมหากษัตรยิ ์จะทรงเป็นกลางในทางการเมอื ง ประเทศท่ีใช้การปกครองในรปู แบบนเ้ี ช่น ประเทศไทย และอังกฤษ เป็นตน้ แบบมีประธานาธบิ ดเี ปน็ ประมขุ ผดู้ ำรงตำแหน่งประธานาธบิ ดีจะมาจากการเลอื กตั้งของประชาชน บางประเทศน้ัน ประธานาธิบดจี ะ ทำหน้าที่เป็นประมุขของรัฐเพียงหน้าที่เดียว เช่น สิงคโปร์ อินเดีย แต่ในบางประเทศ ประธานาธิบดีจะทำ หนา้ ทเ่ี ป็นประมขุ ของฝา่ ยบรหิ ารด้วย เชน่ สหรฐั อเมริกา อินโดนเี ซยี ฯลฯ การปกครองในระบอบประชาธิปไตยกล่าวโดยสรุปก็คือ การปกครองที่อำนาจในการปกครอง ภายในประเทศเปน็ ของประชาชนทุกคน ใช้หลักสิทธแิ ละเสรภี าพ กล่าวคือ ประชาชนทุกคนมีสทิ ธเิ สรภี าพอัน พึงมีตามกฎหมาย ใช้หลักความเสมอภาค กล่าวคือ ประชาชนทุกคนมีความเท่าเทียมกัน ใช้หลักนิติธรรม กล่าวคือ การใช้กฎหมายที่เป็นธรรม ในการรักษาความสงบเรยี บรอ้ ยในประเทศ และใชห้ ลักเสียงข้างมากโดย คำนงึ ถงึ เสยี งสว่ นน้อยด้วย ระบอบเผด็จการ เปน็ หลักการปกครองทเ่ี นน้ ความสำคญั ท่รี ัฐและผู้นำ กล่าวคอื ประชาชนไมม่ สี ทิ ธิ และเสรีภาพมากนกั ต้องทำตามคำสั่งของรฐั อยา่ งเข้มงวด ประเทศจะมีผู้นำเพยี งคนเดียว หรืออาจมคี ณะของ ผนู้ ำร่วมด้วย หรอื มีพรรคการเมืองเดียวซงึ่ มอี ำนาจสูงสุด สามารถใช้อำนาจน้ันไดอ้ ย่างเตม็ ที่ โดยไม่จำเปน็ ตอ้ ง ใสใ่ จเสียงของคนสว่ นใหญใ่ นประเทศ ระบอบเผด็จการทหารเป็นระบอบเผด็จการท่ีคณะผ้นู ำฝา่ ยทหารเปน็ ผูใ้ ช้อำนาจเผดจ็ การ ในการ ปกครองโดยตรงหรอื โดยอ้อม และมักจะใชก้ ฎอัยการศกึ หรอื รฐั ธรรมนญู ทคี่ ณะของตนสรา้ งขนึ้ เปน็ เครอ่ื งมือ ในการปกครอง ระบอบเผด็จการฟาสซิสต์ เป็นระบอบเผด็จการทีผ่ ้นู ำไดร้ ับการสนบั สนนุ จากกลมุ่ นกั ธุรกจิ และ กองทัพ ให้ใชอ้ ำนาจเผด็จการปกครองประเทศ ผู้นำในระบอบการปกครองเผดจ็ การฟาสซิสต์ มักจะมีลัทธิ การเมอื งท่เี รยี กกันวา่ ลัทธฟิ าสซสิ ต์ เป็นลัทธิช้ีนำในการปกครอง และมุง่ ทจี่ ะใชอ้ ำนาจเผด็จการปกครอง ประเทศเปน็ การถาวร

สัปดาห์ท่ี 15 (ชัว่ โมงท่ี 2) ใบงานวชิ า สังคมศึกษา 3 ส23101 (ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3) ช่อื หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 8 การเมืองการปกครอง ………………………………………………………………………. คำชี้แจง ใหน้ กั เรยี น วิเคราะหแ์ ละตอบคำถามใหถ้ ูกตอ้ ง 1. ระบอบประชาธิปไตยในความหมายของนักเรยี นหมายความว่าอย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. ระบอบเผดจ็ การในความหมายของนกั เรยี นหมายความวา่ อย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3. หลกั การของระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยมีก่ขี อ้ อะไรบ้าง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 4. หลักการของระบอบการปกครองแบบเผด็จการมีก่ขี ้อ อะไรบา้ ง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 5. นักเรียนคดิ ว่าระบอบประชาธปิ ไตยมคี วามสำคัญอย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................



สปั ดาห์ท่ี 16 (ช่ัวโมงที่ 1) ใบความรวู้ ชิ า สงั คมศึกษา 3 ส23101 (ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 3) ชอ่ื หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 8 การเมอื งการปกครอง …………………………………………………………………….. เรอื่ ง การปกครองระบอบประชาธิปไตย ประชาธิปไตย คือ ระบอบการปกครองท่ีอำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชน ประชาชนมีสิทธิเสรีภาพ โดยอาศัยหลกั การของการแบง่ แยกอำนาจ และหลักการทวี่ ่าด้วยความถูกตอ้ งแห่งกฎหมาย ผปู้ กครองประเทศ ท่ีมาจากการเลอื กตัง้ ของประชาชน เปน็ เพยี งตัวแทนที่ไดร้ ับมอบอำนาจใหใ้ ชอ้ ำนาจอธิปไตยแทนประชาชนซึ่ง ระบอบการปกครองตนเองของประชาชน โดยผ่านการเลือกสมาชิกผู้แทนราษฎรไปบริหารและดูแลเร่ือง กฎหมาย เพ่ือผลประโยชน์ของประชาชนส่วนใหญ่และโดยการตรวจสอบควบคุมดูแลของประชาชนโดยตรง หรือการมีส่วนร่วมอย่างแข็งขัน เช่น การยื่นเสนอหรือแก้ไขกฎหมาย การย่ืนถอดถอนนักการเมืองท่ี ประพฤติมิชอบ การแสดงความคิดในการทำประชาพิจารณ์ การออกเสียงในการทำประชามติระบอบน้ีมี ลักษณะเด่นอยู่ที่การแข่งขันอย่างเสรีระหว่างกลุ่มหรือพรรคการเมืองต่างๆ เพียงเพื่อให้ได้รับความไว้วางใจ จากประชาชนสว่ นมากใน หลกั การของระบอบประชาธิปไตย 1. อำนาจอธิปไตย หรืออำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศ หรือบางทีก็เรียกกันว่า อำนาจของรัฐ (state power) เป็นอำนาจที่มาจากปวงชน และผู้ที่จะได้อำนาจปกครองจะต้องได้รับความยินยอมจาก ประชาชนสว่ นใหญใ่ นประเทศ 2. ประชาชนมีสิทธิท่ีจะมอบอำนาจปกครองให้แก่ประชาชนด้วยกันเอง โดยการออกเสียงเลือกต้ัง ตวั แทนเพื่อไปใชส้ ิทธิใช้เสยี งแทนตน เช่น การเลือก สส. หรอื สว. โดยมีการกำหนดวันเลือกตง้ั และมีวาระการ ดำรงตำแหน่ง เช่น ทกุ 4 ปี หรือ 6 ปเี ปน็ ต้น 3. รัฐบาลจะต้องเคารพสิทธิและเสรภี าพข้ันพ้ืนฐานของประชาชน อาทิ สิทธิในทรัพย์สนิ สิทธิในชวี ิต เสรีภาพในการพูด การเขยี น การแสดงความคดิ เห็น การชมุ นมุ โดยรฐั บาลจะต้องไมล่ ะเมิดสทิ ธิเลา่ น้ี เว้นแต่เพื่อรักษาความม่ันคงของชาติ หรือเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อย หรือเพ่ือรักษาศีลธรรมอันดีงามของ ประชาชน 4. ประชาชนทุกคนมสี ทิ ธิเสมอกนั ในการทจ่ี ะได้รับบริการทุกชนิดทร่ี ัฐจดั ให้แกป่ ระชาชน เชน่ สิทธิใน การ ได้รับการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน 12 ปีโดยไมเ่ สยี คา่ ใช้จา่ ย 5. รัฐบาลถือกฎหมายและความเป็นธรรมเปน็ บรรทัดฐานในการปกครอง และในการแก้ปัญหาความ ขัดแยง้ ต่าง ๆ ระหว่างกล่มุ ชน รวมท้ังจะต้องไมอ่ อกกฎหมายทีม่ ีผลเปน็ การลงโทษบุคคลยอ้ นหลัง ระบอบประชาธิปไตยแบง่ ออกเป็น 2 แบบ คือ แบบทมี่ ีพระมหากษตั รยิ ์เป็นประมุข และแบบที่มี ประธานาธิบดเี ป็นประมขุ 1. แบบแรกมีพระมหากษัตริยเ์ ป็นประมขุ ไดแ้ ก่ อังกฤษ เนเธอแลนด์ เบลเยี่ยม เดนมาร์ก นอรเ์ วย์ สวเี ดน ญ่ีปุ่น มาเลเซยี และไทย 2. แบบทสี่ องมปี ระธานาธบิ ดีเปน็ ประมุข ไดแ้ ก่ ฝรง่ั เศส อนิ เดีย สหรัฐอเมริกา เป็นต้น

ขอ้ ดีและข้อเสียของ ระบอบประชาธิปไตย 1. ข้อดีของระบอบประชาธปิ ไตย ท่ีควรกลา่ วถงึ มดี ังน้ี 1.1 เปิดโอกาสใหป้ ระชาชน ส่วนข้างมากดำเนนิ การปกครองประเทศ โดยประชาชนส่วนข้างนอ้ ย มีสิทธิที่จะดำรงอยู่และทำการคัดค้านการปกครองของฝ่ายข้างมากได้ ข้อดีข้อนี้มีส่วนทำให้เกิดผลดีต่อ ประเทศชาติโดยส่วนรวม เน่ืองจากการตัดสินใจทำส่ิงต่าง ๆ ด้วยฝ่ายเสียงข้างมากน้ันย่อมจะมีความถูกต้อง มากและผิดพลาดน้อย ขณะเดียวกันฝ่ายเสียงข้างน้อยจะคอยเป็นกระจกเงา และท้วงติดผลเสียท่ีจะต้อง ป้องกนั มิใหเ้ กดิ ขน้ึ ตลอดเวลา 1.2 เปิดโอกาสให้ประชาชนทุกคนใชส้ ิทธิเสรีภาพได้อย่างเสมอหนา้ กัน ตัวอย่างเช่น ไม่ว่าจะเป็น คนมงั่ มีหรอื ยากจน มีสิทธทิ ่ีจะรวมตัวกันเป็นพรรคการเมอื งและสมัครรบั เลอื กตง้ั เปน็ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และประธานาธบิ ดี ซึ่งทำใหป้ ระชาชนมโี อกาสเลอื กคนดีและมคี วามสามารถเข้าดำรงตำแหนง่ ดังกล่าว 1.3 ถอื กฎหมายเป็นมาตรฐานในการดำเนินการปกครอง โดยใช้กฎหมายบังคับแก่ทุกคน ไม่ว่าจะ เปน็ คนมั่งมีหรือยากจน ไม่ว่าจะเป็นข้าราชการหรือประชาชน ยงั ผลใหท้ ุกคนเสมอกันโดยกฎหมาย 1.4 ช่วยระงับความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลกับประชาชน และระหว่างประชาชนด้วยกันเองโดย สันตวิ ิธี โดยมีศาลเป็นผูพ้ ิจารณาพิพากษาคดีต่าง ๆ ให้เป็นไปตามกฎหมาย ซ่ึงชว่ ยทำให้ประชาชนอย่รู ่วมกัน ได้อย่างสันติ โดยมีกฎหมายเปน็ กรอบของความประพฤติของทุกคน 2. ข้อเสยี ของระบอบประชาธิปไตย ทีค่ วรกล่าวถงึ มดี ังน้ี 2.1 มีความล่าช้าในการตัดสินใจทำการต่าง ๆ เน่ืองจากต้องมีการปรึกษาหารือและผ่านข้ันตอน มาก เช่นการตรา กฎหมายแต่ละฉบับต้องใช้เวลาบางคร้ังหลายวัน หลายสัปดาห์ หรือหลายเดือน เนื่องจาก ต้องมกี ารอภิปรายกันในสภา และแก้ไขปรับปรงุ กันมากกว่าจะประกาศใช้บังคับเป็นกฎหมาย ด้วยเหตุน้ีผู้นำ ของประเทศท่กี ำลังพฒั นาซึ่งมีปัญหาท่ีจะตอ้ งแก้ไขโดยรีบด่วน จงึ มักจะคิดว่าระบอบประชาธิปไตยไมเ่ หมาะ กับประเทศของตน 2.2 ต้องเสียค่าใช้จ่ายใน การดำเนิน การปกครองมาก ตัวอย่างเช่น ใน การเลือกต้ัง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรท่วั ประเทศ หรือเลอื กตั้งประธานาธิบดีแตล่ ะคร้ัง ต้องใช้เงินทองเปน็ จำนวนมาก ซ่ึง ผู้นำประเทศทก่ี ำลังพฒั นามกั คดิ ว่าประเทศของตนยากจนเกินไปที่จะใชร้ ะบอบประชาธปิ ไตยได้ 2.3 อาจนำไปสู่ความสับสนวุ่นวายได้ ถา้ ประชาชนส่วนมากในประเทศที่ใช้ระบอบประชาธปิ ไตย ไม่ร้จู ักใชส้ ิทธเิ สรีภาพให้อยู่ภายในกรอบของกฎหมาย ซึ่งอาจทำให้ประเทศชาติเจริญช้าลงอีก ด้วยเหตุนี้ผู้นำ ของประเทศที่กำลังพัฒนาบางประเทศ จึงคิดว่าระบอบประชาธิปไตยไม่เหมาะสมกับประเทศของตน เน่ืองจากประชาชนสว่ นใหญย่ ังไมพ่ รอ้ มทีจ่ ะปกครองในระบอบประชาธิปไตย รากฐานสำคัญของประชาธิปไตย อธิบายในเชงิ วิชาการ (เชิงมีเหตุผลยืนยันสอดคล้องน่าเชื่อถือ หรือพสิ ูจนไ์ ด้)ไดว้ า่ ระบอบประชาธิปไตยทแี่ ท้จรงิ นัน้ ตอ้ งอย่บู นรากฐานหลกั การทีส่ ำคญั 5 ประการ คอื 1. หลักการอำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชน ประชาชนแสดงออกซึ่งการเป็นเจ้าของโดยใช้ อำนาจ ท่ีมีตามกระบวนการเลือกต้ังอย่างอิสระและท่ัวถึงในการให้ได้มาซึ่งตัวผู้ปกครองและผู้แทนของตน รวมทั้ง ประชาชนมีอำนาจในการคัดค้านและถอดถอนผู้ปกครองและผู้แทนท่ีประชาชนเห็นว่า ไม่ได้บริหารประเทศ ในทางทเี่ ปน็ ประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวม เช่น มีพฤติกรรมฉ้อโกง หาผลประโยชนท์ บั ซ้อนจนรำ่ รวยผิดปกติ 2. หลักเสรีภาพ ประชาชนทุกคนมีความสามารถในการกระทำหรืองดเว้นการกระทำอย่างใด อย่างหนึ่งตามที่บุคคลต้องการ ตราบเท่าที่การกระทำของเขาน้ัน ไม่ไปละเมิดลิดรอนสิทธิเสรีภาพของบุคคล อน่ื หรือละเมดิ ต่อความสงบเรียบร้อยของสงั คมและความม่ันคงของประเทศชาติ

3. หลักความเสมอภาค การเปิดโอกาสให้ประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึงทรัพยากรและคุณค่า ต่างๆของสังคมที่มอี ยู่จำกัดอยา่ งเทา่ เทียมกัน โดยไม่ถูกกีดกันด้วยสาเหตุแหง่ ความแตกต่างทางชน้ั วรรณะทาง สงั คม ชาติพนั ธ์ุ วัฒนธรรมความเป็นอยู่ ฐานะทางเศรษฐกจิ หรอื ดว้ ยสาเหตอุ ่นื 4. หลักการปกครองโดยกฎหมายหรือหลักนิติธรรม การให้ความคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐานของ ประชาชนท้ังในเรื่องสิทธิเสรีภาพในทรัพย์สิน การแสดงออก การดำรงชีพ ฯลฯ อย่างเสมอหน้ากัน โดย ผู้ปกครองไมส่ ามารถใชอ้ ำนาจใดๆลิดรอนเพกิ ถอนสทิ ธิเสรีภาพของประชาชนได้ และผูป้ กครองไมส่ ามารถใช้ อภิสิทธิอยเู่ หนอื กฎหมาย หรือเหนือกว่าประชาชนคนอื่นๆได้ 5. หลักการเสียงข้างมาก (Majority rule)ควบคู่ไปกับการเคารพในสิทธิของเสียงข้างน้อย (Minority Rights) การตัดสินใจใดๆท่ีส่งผลกระทบต่อประชาชนหมู่มาก ไม่ว่าจะเป็นการเลือกต้ังผู้แทนของ ประชาชนเข้าสู่ระบบการเมอื ง การตดั สินใจของฝ่ายนิตบิ ัญญัติ ฝ่ายบริหาร หรอื ฝา่ ยตลุ าการ ย่อมต้องถือเอา เสียงข้างมากท่ีมีต่อเร่ืองน้ันๆ เป็นเกณฑ์ในการตัดสินทางเลือก โดยถือว่าเสียงข้างมากเป็นตัวแทนท่ีสะท้อน ความต้องการ/ขอ้ เรียกร้องของประชาชนหมู่มาก หลักการเสียงข้างมากน้ี ต้องใช้ควบคู่ไปกับการ เคารพและคุ้มครองสิทธิเสียงข้างน้อยด้วย ทงั้ นี้ก็เพื่อเป็นหลักประกนั ว่า ฝ่ายเสียงข้างมากจะไม่ใช้วิธีการพวกมากลากไปเพ่ือผลประโยชน์ของพวก ตนอย่างสุดโต่ง แต่ต้องดำเนินการเพ่ือประโยชน์ของประชาชนทั้งหมด เพื่อสร้างสังคม ท่ีประชาชนเสียง ขา้ งน้อย รวมท้ังชนกลุ่มน้อย ผู้ด้อยโอกาสต่างๆ สามารถอยูร่ ่วมกับประชาชนกลุ่มอ่ืนๆ ได้อย่างสันติสุข โดยไมม่ ีการเอาเปรียบกัน และไม่มกี ารสรา้ งความขัดแย้งในสังคมมากเกินไป

สัปดาห์ท่ี 16 (ชั่วโมงท่ี 1) ใบงานวชิ า สงั คมศกึ ษา 3 ส23101 (ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3) ชื่อหนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 8 การเมอื งการปกครอง ชอ่ื ..............................................นามสกุล.....................................เลขที่.................. …………………………………………………………………….. คำช้แี จง ใหน้ ักเรียนสรุปประเดน็ เร่อื งการปกครองแบบประชาธปิ ไตยในรปู แบบแผนผงั ความคดิ การปกครองแบบประชาธปิ ไตย

สัปดาหท์ ่ี 16 (ช่ัวโมงที่ ๒) ใบความรวู้ ชิ า สงั คมศึกษา 3 ส23101 (ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3) ชอ่ื หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 8 การเมืองการปกครอง ……………………………………………………………………….. เร่ือง การปกครองระบอบเผดจ็ การ ? การปกครองแบบเผด็จการ หมายถึง การปกครองที่ให้ความสำคัญแก่อำนาจรฐั และผู้ปกครอง อำนาจ รฐั จะอยเู่ หนือเสรีภาพของบคุ คล ผู้ปกครองอาจเปน็ คนเดียว คณะบุคคลเดยี ว หรอื พรรคการเมืองเดียว ซึ่งจะ ถืออประโยชนข์ องรฐั มากกวา่ ของประชาชน ลักษณะการปกครองแบบเผดจ็ การ 1.ไม่สนบั สนนุ ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครองของประเทศ 2.จำกัดสิทธเิ สรภี าพของประชาชนทงั้ ดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม และการเมอื ง 3.ยึดหลักความมั่นคง ปลอดภัยของรัฐเป็นสำคัญ ยกย่องอำนาจและความสำคัญขอรัฐเหนือเสรีภาพของ ประชาชน 4.ยึดหลักรวมอำนาจการปกครองไวท้ สี่ ว่ นกลางของประเทศ ให้อำนาจอยใู นมือผ้นู ำเตม็ ท่ี 5.ยึดหลักการใช้กำลัง การบังคับ และความรุนแรง เพ่ือควบคุมประชาชนให้ปฏิบัติตามความต้องการของ ผนู้ ำ 6.ประชาชนต้องเช่อื ฟงั และปฏิบัติตามผนู้ ำอยา่ งเคร่งครัด ไม่มสี ิทธิโตแ้ ยง้ ในนโยบายหรอื หลกั การของรัฐได้ 7.สร้างความรู้สึกไม่มั่นคงในชีวิตให้แก่ประชาชน จนประชาชนเกิดความหวั่นวิตกเกรงกลัวอันทำให้อำนาจ รัฐเข้มแข็ง รปู แบบระบบการปกครองแบบเผดจ็ การ แบ่งเปน็ 2 รูปแบบ คอื 1.เผด็จการอำนาจนิยม มลี กั ษณะ ดงั นี้ - อำนาจทางการเมืองเปน็ ของผปู้ กครอง ประชาชนไม่มสี ทิ ธิ - ควบคมุ สทิ ธิเสรีภาพของประชาชนอนั เกีย่ วกบั อำนาจอธปิ ไตย - ยอมให้ประชาชนมสี ิทธิเสรีภาพในครอบครัว การนบั ถือศาสนา การดำเนนิ ชวี ิต การประกอบอาชีพ โดยท่รี ัฐมสี ิทธิแทรกแซง 2.เผด็จการแบบเบ็ดเสรจ็ มลี กั ษณะ ดังน้ี - ควบคมุ อำนาจประชาชนท้ังทางการเมือง สังคม และเศรษฐกิจ - ไม่เปิดโอกาสใหป้ ระชาชนร่วมในการปกครองใด ๆ ทงั้ สิ้น - รับเขา้ ดำเนินงานทางดา้ นเศรษฐกิจทั้งหมด โดยประชาชนเป็นเพยี งผูใ้ ห้แรงงาน - มกี ารลงโทษอยา่ งรุนแรงหากประชาชนฝา่ ฝนื หรือต่อตา้ น ประชาชนตอ้ งเชือ่ ฟงั รัฐบาลผนู้ ำ ผู้ปกครองอย่างเคร่งครัด - การปกครองแบบนี้ ได้แก่ การปกครองของรัฐคอมมวิ นสิ ต์ในปัจจบุ นั

สปั ดาห์ท่ี 16 (ช่วั โมงที่ ๒) ใบงานวชิ า สังคมศกึ ษา 3 ส23101 (ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3) ชอื่ หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 8 การเมอื งการปกครอง ชอ่ื .....................................นามสกุล...................เลขที.่ ......... ……………………………………………………………………….. คำช้ีแจง ให้นักเรยี นสรปุ ประเด็นเร่ืองการปกครองแบบเผด็จการในรูปแบบแผนผังความคิด การปกครองแบบเผด็จการ

สัปดาห์ที่ 17 (ชัว่ โมงที่ 1) ใบความรวู้ ชิ า สังคมศกึ ษา 3 ส23101 (ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3) ชือ่ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 8 การเมอื งการปกครอง ……………………………………………………………………….. เรอ่ื งประชาธิปไตยระบบประธานาธบิ ดี (Presidential System) รูปแบบรัฐบาลระบบประธานาธิบดีเกิดขึ้นที่ประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นแห่งแรก โดย ผู้นำ ของ สหรัฐอเมริกาในขณะน้ัน ได้พัฒนาระบบการปกครองแบบประธานาธิบดีนี้ขึ้น ทั้งนี้เพ่ือป้องกันไม่ให้ใครมี โอกาสได้ใช้อำ นาจมากเกนิ ไป ระบบประธานาธบิ ดีมรี ายละเอยี ดดังนี้ 1. มีการแบ่งแยกอำนาจ (Separation of Powers) ได้แก่การแยกอำ นาจหน้าท่ีฝ่าย บริหารกับนิติ บัญญัติ หลักการท่ีสำคัญของการแบ่งแยกอำ นาจได้แก่ ประธานาธิบดที ่ีได้รับเลือกมาจากประชาชนจะเป็นผู้ สรรหาและแต่งต้งั คณะรัฐ มนตรี โดยผา่ นความเห็นชอบจากรฐั สภา รัฐมนตรจี ะไม่สามารถเป็นสมาชิกรฐั สภา ได้ ตรงน้ีจะเหน็ ไดว้ ่าตรงข้ามกับระบบรฐั สภาท่สี มาชิกรัฐสภาเปน็ กลุ่มเดียว กับรฐั บาล 2. ประมุขของรัฐและประมุขของฝ่ายบริหารเป็นคน ๆ เดียวกัน ระบบนี้กำ หนดให้ หัวหน้าฝ่าย บริหาร ได้แก่ประธานาธบิ ดีเพียงคนเดียวเท่าน้ัน เพราะหากรัฐบาลมีความแตกแยกกัน จะเกิดผลเสียอย่างไร ต่อระบบรฐั สภาในระบบประธานาธิบดีอำนาจนติ ิบัญญัติ บริหาร และตุลาการแยกออกจากกันอย่างเด็ดขาด เพื่อตรวจสอบถ่วงดุลซ่ึงกันและกัน ประธานาธิบดีเป็นบุคคลที่ได้รับเลือกตั้งมาจากประชาชนทั้งประเทศ ทำ ให้ ประธานาธิบดีมีอำ นาจในการบรหิ ารประเทศอย่างมากมาย และได้รบั ความ เคารพจากประชาชนในฐานะ ประมขุ ของประเทศอีกดว้ ย 3. ฝา่ ยบริหารเป็นอิสระต่อการควบคุมต่อรัฐสภา เน่อื งจากรูปแบบการปกครองนี้มี ลกั ษณะของการ แยกอำ นาจระหว่างฝ่ายบริหารกับฝ่ายนิติบัญญัติ ดังน้ัน ประธานาธิบดีจึงเป็นอิสระจากการควบคุมของ รัฐสภา รฐั สภาไมม่ ีอำ นาจลงมติ ไมไ่ ว้วางใจรัฐบาล 4. รัฐมนตรีต้องรับผิดชอบโดยตรงต่อประธานาธิบดี เนื่องจากประธานาธิบดีเป็น ประมุขของฝ่าย บริหารแตเ่ พียงผู้เดยี ว จงึ หมายความวา่ ประธานาธบิ ดมี ีอำ นาจ ในการแต่งตั้งถอดถอนรัฐมนตรีได้ รฐั มนตรีใน ระบบประธานาธิบดีไม่ต้องรับผิด ชอบต่อรัฐสภา ดังนั้นพวกเขาจึงไม่จำ เป็นต้องไปร่วมประชุมรัฐสภา เพ่ือ ตอบ กระท้ถู ามจากรัฐสภาแตป่ ระการใด 5. ใช้หลักการคานอำ นาจ (Balance of Power) เนื่องจากท้ังประธานาธิบดีและรัฐ สภาต่างได้รับ เลือกตง้ั มาจากประชาชน ดังน้ันจงึ มกี ารแบ่งแยกอำ นาจกันอย่าง เด็ดขาดทั้งฝ่ายนิติบัญญัติ บรหิ ารและตุลา การ โดยใช้วธิ ีการตรวจสอบอำ นาจซึ่ง กันและกัน (Check and Balances) ทั้งนี้เพื่อไม่ให้ฝ่ายใดฝ่ายหน่ึงใน อำ นาจมาก เกนิ ไปกว่าที่กำ หนดไวใ้ นรัฐธรรมนญู หลกั การคานอำ นาจก็คือ ประธานาธบิ ดีมี อำ นาจในการ ใช้สิทธิยับย้ัง (Veto) ตามรัฐธรรมนูญ โดยการไม่ลงนามใน กฎหมายท่ีเสนอโดยฝ่ายนิติบัญญัติ ในขณะท่ี รัฐสภามีอำ นาจลบล้างสิทธิยับยั้ง ดังกล่าวของประธานาธิบดีได้ด้วย ท้ังนโ้ี ดยการลงคะแนนรอบสอง ซึ่งหาก คะแนนเสียงของสมาชิกสภาท้ังสองเห็นด้วยคะแนน 2 ใน 3 ก็จะถือว่ากฎหมาย น้ันมีผลบังคับใช้ได้ นอกจากนี้รัฐสภามีอำ นาจอยา่ งหนง่ึ ทจ่ี ะกล่าวโทษ ประธานาธิบดีได้ อำ นาจท่จี ะกลา่ วโทษนนั้ เรยี กว่าอิมพีช เม้นต์ (Impeachment) โดยการอิมพีชเม้นท์น้ันต้องมีคะแนนสองในสามของรัฐสภา และขั้นตอนสุดท้าย วุฒสิ ภาจะเป็นผู้ปลด (Removal) ตำ แหน่งประธานาธิบดี ซึง่ ใชค้ ะแนนสองใน สามของจำ นวนวุฒสิ มาชกิ

6. บทบาทของวฒุ ิสภา (Senate) มอี ำ นาจในการใหค้ วามเหน็ ชอบการแต่งตั้งเจ้า หน้าท่ีฝ่ายบรหิ าร เช่น รัฐมนตรี หรือเอกอัครราชทูตตามท่ีประธานาธิบดีเสนอมา หากวุฒิสภาไม่ให้ความเห็นชอบก็จะดำรงตำ แหน่งใด ๆ ไม่ได้ 7. อำ นาจตลุ าการ สำ หรับตำแหนง่ ผพู้ พิ ากษาน้ัน อำ นาจในการแต่งตั้งเปน็ ของ ประธานาธิบดี โดย ต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาก่อน ตุลาการโดยเฉพาะ ประธานาธิบดีมีอำ นาจในการถ่วงดุลรัฐสภาโดย ใช้สิทธิยับยั้ง (Veto) ในขณะ ท่ีรัฐสภาใช้วิธีการกล่าวโทษ (Impeachment) เพื่อให้วุฒิสภาเป็นผู้ปลด (Removal) ประธานาธิบดีในสหรัฐอเมริกาหน่วยงานใดที่มีหน้าท่ีตัดสินว่า กฎหมายใดขัดหรือแย้งกับ รฐั ธรรมนูญหรือไม่ ? ศาลสูง (Supreme Court) มีอำ นาจช้ีขาดว่ากฎหมายฉบับใดท่ีฝ่ายนิติบัญญัติ ออกมา น้ันขัดต่อกฎหมายรัฐธรรมนูญหรือไม่ ทั้งนี้เพื่อตรวจสอบการใช้อำ นาจ ของฝ่ายนิติบัญญัติไปด้วยในตัว ซ่ึง หากกฎหมายท่ีออกโดยฝ่ายนิติบัญญัติน้ัน ขัดกับหลักรัฐธรรมนูญ กฎหมายฉบับน้ันก็เป็นอันตกไป สำ หรับ การปกครองระบบประธานาธิบดีน้ี มีขอ้ ดีและขอ้ เสยี ดังน้ี ข้อดขี องระบบประธานาธบิ ดี 1. ประธานาธิบดีมสี ทิ ธิเด็ดขาดในการเลือกคณะรัฐมนตรีของตัวเอง ดังนน้ั ประธานาธิบดีจึงสามารถ เลือกผู้ที่มีความชำ นาญเฉพาะด้าน เพ่ือดำ รงตำ แหน่งสำ คัญ ๆเช่นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลัง เปน็ ต้น 2. รัฐมนตรีมีเวลาเต็มท่ีในการปฏิบัติภาระกิจ เพราะไม่ต้องรับผิดชอบต่อรัฐสภา ไม่จำ เป็นต้อง ประชุมสภา หรือเสียเวลาในการตอบกระทู้ถามของรัฐสภา ซึ่งทำ ให้คณะรัฐมนตรีมีอสิ ระเต็มที่ในการบริหาร กระทรวงตามท่ไี ด้รับมอบหมายจากประธานาธิบดี โดยไม่ต้องหาเสียงจากสมาชกิ รฐั สภา 3. หากเกิดวิกฤติการณ์ฉุกเฉนิ ประธานาธิบดีมอี ำ นาจอย่างเต็มท่ีในการปฏิบัติ หน้าท่ีอย่างเด็ดขาด เพราะเปน็ อสิ ระปราศจากการควบคุมของรัฐสภา รูปของรัฐบาลแบบก่ึงรัฐสภาและกึ่งประธานาธิบดี (Semi – Parliamentary and Semi – Presidential Government) รัฐบาลแบบก่งึ รฐั สภาและกึ่งประธานาธิบดีนี้เป็นรัฐบาลลกั ษณะผสมผสานระหวา่ งรัฐบาลแบบรัฐสภา ท่ีสภามีอำนาจสูงสุดในการบริหารโดยฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติจะมาจากการเลือกตั้งของป ระชาชน โดยตรง และรฐั บาลแบบประธานาธิบดีที่ถือวา่ หนว่ ยอำนาจทงั้ สามสว่ น คอื นิติบญั ญัติ บริหารและตลุ าการ มี ท่ีมาและแยกอำนาจกันโดยเด็ดขาดท้ังสามฝ่ายมกี ารปฏิบัติงานอย่างอิสระ สำหรับรัฐบาลแบบกึ่งรัฐสภาและ กงึ่ ประธานาธิบดีน้ี มีการจัดการปกครองในประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศแรก ซง่ึ การปกครองในรูปของรัฐบาล นี้ ประธานาธิบดีซึ่งมาจากเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน ผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง ส่วนคณะรัฐมนตรีจะมา จากการแต่งตั้งของประธานาธิบดี นอกเหนือจากสมาชกิ รัฐสภา ทัง้ ฝา่ ยนิติบัญญัตแิ ละประธานาธิบดีมอี ำนาจ ควบคุมคณะรัฐมนตรีท่ีจะไม่ให้ประพฤตใิ นทางเส่อื มเสยี หรือเปน็ อันตรายตอ่ ประเทศชาตแิ ละประธานาธบิ ดใี น รูปแบบนีไ้ มอ่ ยใู่ นฐานะเป็นหัวหนา้ ฝ่ายบรหิ ารเหมอื นกบั ระบบรฐั บาลแบบประธานาธบิ ดี ลักษณะทีส่ ำคัญของรปู ของรัฐบาลแบบน้ี คือ 1. ประมุขของรัฐ เป็นประธานาธิบดีซึ่งได้รับการเลือกตั้งจากประชาชนโดยตรงเป็นประมุขท่ีมี บทบาททางการเมือง คือมีอำนาจแต่งตงั้ คณะรัฐมนตรี และมีอำนาจยุบสภาผู้แทนได้ทุกกรณปี ระธานาธิบดจี ึง อยู่ในฐานะเป็นดุลถ่วงอำนาจของรัฐสภามิให้ใช้อำนาจขม่ ขู่ฝ่ายบรหิ ารจนทำให้ขาดเสถียรภาพในการบริหาร ประเทศได้

2. รัฐสภา รัฐบาลแบบนี้อาจจะมีสภาเดียวหรือสองสภาก็ได้ สมาชิกรัฐสภาในระบบนี้จะมีอำนาจ มากกว่าสมาชิกรัฐสภาในระบบประธานาธิบดี แต่มีอำนาจน้อยกว่าสมาชิกรัฐสภาในระบบรัฐสภากล่าวคือ อำนาจฝา่ ยนิติบัญญัติมีอำนาจการควบคุมการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ของฝ่ายบริหาร โดยวิธตี ้ังกระทู้ถามและ เปดิ อภิปรายได้ (ระบบประธานาธบิ ดี ฝา่ ยนติ ิบัญญัติไมม่ ีอำนาจต้ังกระทู้ถามและเปดิ อภิปรายฝ่ายบริหาร) แต่ สมาชิกรฐั สภาไม่สามารถดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีในขณะเดียวกันได้ ถ้าอยากเป็นรฐั มนตรีตอ้ งลาออกจาก สมาชกิ รฐั สภา 3. คณะรัฐมนตรี คือ คณะบุคคลที่ทำหน้าที่บริหารประเทศ ซ่ึงได้รับการแต่งต้ังจากประธานาธิบดี จากบุคคลที่มิใช่สมาชิกรัฐสภา คณะรัฐมนตรีซ่ึงมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้า จะต้องรับผิดชอบต่อ ประธานาธิบดแี ละต่อรฐั สภาด้วย ทงั้ ประธานาธบิ ดีและรฐั สภามีอำนาจทำใหน้ ายกรฐั มนตรพี ้นจากตำแหนง่ ได้ 4. ศาล เป็นสถาบันอิสระ มีบทบาทในทางศาลโดยการพิจารณาอรรถคดีทั้งคดีแพ่งและคดีอาญาไป ตามกฎหมาย แต่ไม่มีอำนาจจะพิจารณาว่ากฎหมายของฝ่ายนิติบัญญัติหรือคำส่ังของฝ่ายบริหารได้ขัดต่อ รฐั ธรรมนูญหรอื ไม่ เช่นเดียวกับศาลในระบบรัฐสภา 5. ในทางปฏิบัติ แม้รัฐบาลในระบบนี้จะดำเนินไปอย่างราบร่ืนในประเทศที่มีพรรคการเมืองน้อย พรรคและเป็นพรรคการเมืองที่มีระเบียบวินัยก็ตาม แต่ประเทศที่ไม่มีพรรคการเมืองในลักษณะดังกล่าวก็ อาจจะดำเนินการตามระบบนี้ได้อย่างราบร่ืนพอสมควร เพราะวา่ ประธานาธิบดีมีอำนาจที่จะประนีประนอม หรือไกล่เกลี่ยมิให้รัฐสภาและคณะรัฐมนตรีปะทะกันอย่างรุนแรงได้ คือถ้าประธานาธิบดีเห็นว่า ฝ่ายใดฝ่าย หนึ่งขาดความรับผิดชอบประธานาธิบดีก็สามารถใช้อำนาจในฐานะประมุขลงโทษได้ อาจจะเป็นการปลด คณะรฐั มนตรหี รือยบุ สภาเสยี กไ็ ด้ 6. กล่าวโดยท่ัวไปแล้ว รัฐบาลแบบนี้มีลักษณะเป็นแบบผสม โดยนำหลักการท่ีดีของระบบรัฐสภา และระบบประธานาธิบดีมาผสมผสานกันปฏิบัติ และแต่ละประเทศอาจจะผสมต่างกันไปไม่จำเป็นจะต้อง เหมือนของฝรั่งเศสเสมอไป เช่น ประเทศอินเดียใช้ระบบรัฐสภาเป็นหลัก แต่นำเอาวิธีการบางอยา่ งของระบบ ประธานาธิบดีมาใช้ คือกำหนดให้ศาลสูงสดุ มีอำนาจชี้ขาดวา่ กฎหมายของรฐั สภาหรอื คำส่ังของคณะรฐั มนตรี ขัดกับรัฐธรรมนูญหรือไม่ แต่โดยที่มาชองฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหารและประธานาธิบดีแล้วอินเดียต่างจาก ฝรั่งเศส คือ ฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหารมาจากการเลือกตั้งของประชาชนผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกต้ังท่ัว ประเทศ สว่ นประธานาธิบดีนั้นไดม้ าจากการแต่งต้งั และไมม่ อี ำนาจทางการเมืองด้วยเป็นเพยี งเจ้าพธิ ีเท่าน้ัน การแบง่ รปู รัฐบาลเป็นสามรปู แบบนี้ เป็นการแบ่งรูปของรฐั บาลในระบอบการปกครองในระบอบประชาธิปไตย เท่านั้น กล่าวคือ รูปของรัฐบาลท่ีใช้อำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศแทนประชาชน แต่รัฐบาลยังต้องใช้ อำนาจอย่ใู นกรอบความรับผดิ ชอบและอย่ภู ายใต้ความควบคุมของประชาชนอยู่เสมอนั้นหมายความว่า รัฐบาล จะไมใ่ ช้อำนาจอธปิ ไตยท่ไี ด้รบั จากประชาชนนน้ั อยา่ งฟุ่มเฟือย จะใชไ้ ปตามเจตนารมณข์ องประชาชนส่วนใหญ่ ของประเทศ เมื่อรัฐบาลไม่สามารถทำตามเจตนารมณ์ของคนส่วนใหญ่ได้แล้ว ป ระชาชนมีสิทธิท่ีจะ เปลี่ยนแปลงให้รัฐบาลชุดใหม่เข้ามาทำหน้าที่แทนรัฐบาลชุดเดิมได้ แต่อย่างไรก็ตามประเทศท่ีปกครองด้วย ระบบเผด็จการบางประเทศหรือหลายประเทศ ซ่ึงอ้างว่าคนปกครองในระบอบประชาธิปไตยก็อาจจะนำเอา รูปแบบของรัฐบาลในระบอบประชาธิปไตยรปู ใดรูปหนึ่งไปใช้ แต่ในทางปฏิบตั ทิ ่ีแท้จรงิ หาได้นำไปใช้ไม่ ดังน้ัน แมจ้ ะมีช่ือแต่หลักของการปฏิบตั ไิ มน่ ำเอา ไปใช้จงึ ไม่น่าจดั เขา้ อยู่ในข่ายของรฐั บาลทั้งสามรูปแบบตามทก่ี ลา่ ว มาแลว้ นไี้ ด้

สปั ดาหท์ ี่ 17 (ชว่ั โมงที่ 1) ใบงานวิชา สงั คมศึกษา 3 ส23101 (ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3) ชือ่ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 8 การเมืองการปกครอง ……………………………………………………………………….. ใบงานเรือ่ ง เปรยี บเทยี บการปกครองของไทยกับประเทศทป่ี กครองแบบประชาธปิ ไตย คำชแี้ จง ใหน้ ักเรียนตอบประเดน็ ที่อยูใ่ นตารางให้ครบถ้วนสมบูรณ รปู แบบประชาธิปไตย รูปแบบประชาธิปไตยของประเทศอ่ืน ๆ ประเดน็ เปรียบเทียบ ท่คี ลา้ ยคลึงกับประเทศไทย ทแ่ี ตกต่างจากไทย ประชาธิปไตยระบบรัฐสภา ประชาธิปไตยระบบ ประชาธปิ ไตยระบบก่ึง ประธานาธบิ ดี รัฐสภาก่งึ ประธานาธิบดี 1.ต้นแบบทร่ี ับมาใช 2.ประมุขฝา่ ย บรหิ าร 3. ท่ีมาของประมุข ฝา่ ยบรหิ าร 4. ประมขุ ของ ประเทศ 5. ตำแหนง่ นายกรัฐมนตรี 6.ป ร ะ มุ ข ฝ่ า ย บรหิ ารกบั รฐั สภา

สปั ดาหท์ ่ี 17 (ช่วั โมงท่ี 2) ใบความรวู้ ชิ า สังคมศึกษา 3 ส23101 (ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3) ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ 9. หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 กฎหมายนา่ รู้ (Rerun) ……………………………………………………………………….. เรอื่ ง กฎหมายแพง่ คำว่าแพ่ง ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ.2525 ได้ให้ความหมายไว้วา่ เกี่ยวกับ เอกชน กฎหมายแพ่งจึงเป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับเอกชน หรือคนแต่ละคน ท้ังเมื่ออยู่ตามล าพังและเมื่อติดต่อกับผู้อื่น เป็นกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สิน นิติกรรม สัญญาต่าง ๆ เป็นเร่ืองที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของ ประชาชนทกุ คน จ าเป็นต้องมีความรทู้ ถี่ ูกตอ้ งเพอ่ื ให้สามารถปฏบิ ัติได้ครบถ้วน กฎหมายแพ่งท่ใี ชใ้ นชวี ิตประจำวัน กฎหมายแพ่ง คือ ระเบียบ กฎเกณฑก์ ับส่วนเอกชนและความสมั พันธ์ระหวา่ งบุคคล ดา้ นสถานภาพ สิทธิและหน้าท่ี เชน่ เรอื่ งราวเก่ยี วกับทรัพย์สนิ ครอบครวั มรดก นิติกรรม เปน็ ต้น ประเภทของทรัพย์สิน ทรัพย์สินท่ีสำคัญมี 2 ประเภท คือ สังหาริมทรัพย์ และอสังหาริมทรัพย์ สังหาริมทรัพย์ คือ ทรัพย์เคล่ือนที่ได้และอสังหาริมทรพั ย์ ได้แก่ ทรพั ย์ที่เคล่ือนท่ีไม่ได้ เช่น ท่ีดิน ทรัพย์ท่ีติด อยู่กบั ดิน เชน่ สง่ิ ปลกู สร้าง เปน็ ต้น สทิ ธใิ นทรัพยส์ ิน สทิ ธิในทรพั ย์สนิ คอื ประโยชน์ท่ีบุคคลจะพงึ มิพึงได้ในทรัพย์สินนนั้ แม้จะไมม่ ีรูปรา่ ง แต่กอ็ าจมีราคา และยึดถือเอาได้ สทิ ธใิ นทรัพย์สินท่ีสำคัญที่สุด ได้แก่ กรรมสิทธิ์ในการเป็นเจา้ ของผู้ใดมีกรรมสิทธิ์ในทรพั ย์สิน ใด ผู้น้ันย่อมมีสิทธิครอบครอง จำหน่าย จ่ายแจก หรือได้ดอกผลจากทรัพย์สินนั้นหรือแม้กระทั่งการทำลาย ทรัพย์สินน้ันตามเง่ือนไขท่ีกฎหมายก าหนดไว้ การได้มาซ่ึงสิทธิในทรัพย์สินมี 2 ประการ คือ ได้มาโดย กฎหมายและได้มาโดยนติ กิ รรมและสญั ญา 1. การได้สทิ ธโิ ดยกฎหมาย คอื การไดม้ าตามบทบัญญตั ขิ องกฎหมาย เชน่ การโอนกรรมสิทธิ์ ทรพั ย์สินของกระทรวง ทบวง กรม ตา่ ง ๆ ที่กฎหมายปรับปรงุ 2. การได้สทิ ธมิ าโดยนิตกิ รรมและสญั ญาเปน็ การไดส้ ทิ ธิตามข้อตกลง หรอื การทำสญั ญา เช่นสทิ ธิ ในการรับทรพั ยส์ ินเปน็ มรดกตกทอดตามพินัยกรรม สิทธิ ในทรัพยส์ ินตามสัญญาซ้อื ขาย สทิ ธใิ นผลประโยชน์ จากทรพั ย์สินที่เชา่ ตามที่ก าหนดไว้ในสญั ญาเชา่ ทรัพย์ เป็นต้น 3. การใช้สิทธิในทางแพ่ง การถือสิทธิในทางแพ่งต่างกับการใช้สิทธิในทางแพ่ง กล่าวคือ บุคคล ธรรมดาทุกคนตัง้ แต่เกดิ มามชี ีวติ รอดยู่ มสี ภาพเป็นบุคคลตามกฎหมาย ก็ย่อมมีความสามารถที่จะถือสิทธิเช่น การมสี ทิ ธเิ ป็นเจา้ ของทรพั ย์สนิ หรอื การมีสทิ ธใิ นรา่ งกายในชวี ิตของเรา โดยไม่ถกู จ ากัดเรอื่ งอายุ เพศ ศาสนา การศกึ ษา สตปิ ญั ญา สง่ิ เหล่าน้ีไม่มผี ลกระทบกระเทือนในการถอื สทิ ธแิ ตอ่ ยา่ งใด เม่อื ถอื สิทธิแลว้ จะใชส้ ทิ ธนิ น้ั ไดเ้ พยี งใดย่อมตอ้ งเป็นไปตามกฎหมาย 4. นติ ิกรรม หมายถึง การใด ๆ อันทำลงไปโดยชอบด้วยกฎหมายและด้วยใจสมัครมงุ่ โดยตรง ต่อการ ผูกสัมพันธร์ ะหว่างบุคคล เพ่ือจะกอ่ การเปลยี่ นแปลง โอน สงวน หรอื ระงบั ซ่งึ สทิ ธิองคป์ ระกอบนิติกรรม นิติ กรรมจะต้องเกิดจากการกระทำของบคุ คลและประกอบดว้ ยหลักเกณฑด์ งั ตอ่ ไปน้ี 1.ต้องมีการแสดงเจตนาของบคุ คล 2. จะต้องเปน็ การกระทำด้วยความสมคั รใจ 3. ต้องเปน็ การกระทำทช่ี อบด้วยกฎหมาย

สัปดาห์ที่ 17 (ช่วั โมงที่ 2) ใบงานวชิ า สังคมศกึ ษา 3 ส23101 (ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3) ชือ่ หนว่ ยการเรียนรู้ 9 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 4 กฎหมายน่ารู้ (Rerun) ……………………………………………………………………….. คำช้แี จง ให้นกั เรยี นตอบคำถามต่อไปน้ี 1.“นายดนิ ขับรถเฉีย่ วรถจักรยานยนต์ของนางน้ำทำให้รถจักรยานยนตข์ องนางน้ำได้รับความเสียหาย” 1.1 กรณดี งั กล่าวเปน็ การกระทำความผิดทางแพง่ หรอื ไม่ ................................................................ 1.2 กรณดี งั กลา่ วสอดคล้องกับความรบั ผิดทางแพง่ ลักษณะใด ........................................................ 2. “นายเกา้ ท าสัญญากู้เงนิ จากนางแหวน แตไ่ มช่ าระหนค้ี นื เมื่อครบกำหนดตามสญั ญา” 2.1 กรณดี ังกล่าวเปน็ การกระท าความผิดทางแพ่งหรอื ไม่ ................................................................ 2.2 กรณีดังกลา่ วสอดคล้องกับความรบั ผดิ ทางแพง่ ลักษณะใด ........................................................ 3.“นายหมูปิดบ้านไว้แล้วเดนิ ทางไปต่างประเทศ วันหนึง่ มพี ายุพัดหลงั คาบา้ นของนายหมปู ลิวไป นายไก่เพ่อื น บ้านเห็นว่าหากปล่อยไว้ทรัพย์สินในบ้านของนายหมูจะได้รับความเสียหาย นายไก่จึงว่าจ้างช่างมาซ่อมแซม หลังคาบา้ นใหน้ ายหมู เมอื่ นายหมูกลับมาจะต้องชดใช้เงินทน่ี ายไกจ่ า่ ยไปในการซ่อมแซมหลังคาบา้ น” 3.1 กรณีดังกลา่ วเปน็ การกระท าความผดิ ทางแพ่งหรือไม่ .............................................................. 3.2 กรณีดงั กล่าวสอดคลอ้ งกับความรบั ผิดทางแพง่ ลกั ษณะใด ...................................................... 4. “นายเสือโอนเงินผ่านบัญชีเงินฝากธนาคารไปให้นางนก เพราะเข้าใจผิดคิดว่านางนกเป็นนายเต่าซึ่งเป็น เจ้าหน้ี แต่นางนกไมย่ อมโอนเงนิ คืนให”้ 4.1 กรณดี ังกลา่ วเปน็ การกระท าความผดิ ทางแพ่งหรอื ไม่ .............................................................. 4.2 กรณีดงั กล่าวสอดคล้องกับความรับผิดทางแพ่งลักษณะใด ...................................................... 5. “นายแดงปลูกบ้านโดยสรา้ งหลงั คาล้ าไปในที่ดนิ ของนางขาวซึ่งเปน็ เพ่ือนบ้าน” 5.1 กรณดี ังกล่าวเปน็ การกระท าความผดิ ทางแพ่งหรอื ไม่ .............................................................. 5.2 กรณีดงั กล่าวสอดคล้องกับความรับผดิ ทางแพ่งลกั ษณะใด .....................................................

สัปดาห์ท่ี 18 (ช่ัวโมงที่ 1) ใบความรวู้ ชิ า สงั คมศึกษา 3 ส23101 (ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3) หน่วยการเรยี นรู้ 9 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 4 กฎหมายน่ารู้ (Rerun) …………………………………………………………………………………………………………………… เรอื่ ง กฎหมายอาญา 1. กฎหมายอาญาเป็นกฎหมายท่มี วี ตั ถุประสงคใ์ นการป้องกันสงั คมให้เกดิ ความสงบเรียบรอ้ ย โดย กำหนดว่าการกระทำใดเป็นความผดิ อาญาและกำหนดโทษของผู้ฝา่ ฝืน 2. ลักษณะทส่ี ำคัญของกฎหมายอาญา คอื เป็นกฎหมายทีก่ ำหนดเปน็ ความผดิ ชัดแจ้งและไม่มผี ล บังคบั ย้อนหลังทเี่ ปน็ โทษแก่ผู้กระทำความผิด 3. โทษทางอาญามี 5 ชนดิ คือ ประหารชีวิต จำคุก กกั ขงั ปรับและริบทรพั ย์สิน 4. การกระทำความผิดทางอาญามีบางกรณีทีก่ ฎหมายยกเวน้ โทษและยกเวน้ ความผดิ 5. เด็กและเยาวชนกระทำความผิดอาจไดร้ ับโทษต่างกับการกระทำความผิดของผูใ้ หญ่ เนอ่ื งจากเด็ก และเยาวชนเป็นผู้อ่อนเยาว์ ปราศจากความรู้สึกรับผิดชอบ การลงโทษต้องคำนึงถึงอายุของเด็กกระทำ ความผิด กฎหมายอาญา คือ กฎหมายที่ว่าด้วยความผิดและโทษท่ีกำหนดไว้สำหรับความผิด ตัวบทที่สำคัญๆ ของกฎหมายอาญาก็คือ ประมวลกฎหมายอาญา นอกจากประมวลกฎหมายอาญาแล้ว ยังมีพระราชบัญญัติ อื่นๆที่กำหนดโทษทางอาญาสำหรับการฝ่าฝืนพระราชบัญญัตินั้น เช่น พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พระราชบญั ญัติการพนัน เป็นต้น ทุกสังคมย่อมมีกฎเกณฑ์ ขอ้ บังคับความประพฤติของสมาชิกในสงั คมน้ันๆ บุคคลใดมีการกระทำที่มี ผลกระทบกระเทอื นต่อสังคมหรือคนส่วนใหญ่ จัดเปน็ การกระทำความผดิ ทางอาญา ดังนั้นกฎหมายอาญาจึง เป็นกฎหมายซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการป้องกันสังคม เพื่อให้เกิดความสงบเรียบร้อยโดยการกำหนดว่า การ กระทำใดเป็นความผดิ อาญาและไดก้ ำหนดโทษของผ้ฝู า่ ฝืน กระทำความผิดน้นั ๆ 1. ความผิดทางอาญา ความผิดทางอาญา คือ การกระทำท่ีมีผลกระทบกระเทือนต่อสังคมหรือคนส่วนใหญ่ของประเทศ เม่ือบุคคลใดกระทำความผิดทางอาญา จะต้องได้รับโทษตามกฎหมายมากน้อยเพียงใดน้ันข้ึนอยู่กับความ ร้ายแรงของการกระทำความผิด กฎหมายมิได้ถือว่าการกระทำความผิดทุกอย่างร้ายแรงเท่าเทียมกัน การ ลงโทษผกู้ ระทำความผดิ จึงข้นึ อยู่กับการกระทำ และสังคมมีความรสู้ ึกต่อการกระทำนั้นๆ ว่า อะไรเป็นปญั หา สำคญั มากน้อยเพียงใด ซึง่ อาจจะแบ่งการกระทำความผดิ อาญาออกเปน็ 2 ลักษณะ คอื 1.1 ความผิดตอ่ แผน่ ดิน หมายถงึ ความผดิ ในทางอาญา ซึ่งนอกจากเร่ืองน้ันจะมีผลต่อตัวผรู้ บั ผลรา้ ย แล้ว ยงั มีผลกระทบที่เสียหายต่อสังคมอีกด้วย และรัฐจำเป็นต้องป้องกันสังคมเอาไวด้ ้วยการยื่นมอื เข้ามาเป็น ผู้เสียหายเอง ดังนั้นแม้ผู้รับผลร้ายจากการกระทำโดยตรงจะไม่ติดใจเอาความ แต่ก็ยังต้องเข้าไปดำเนินคดี ฟอ้ งร้องเอาตัวผู้กระทำผิดมาลงโทษให้ได้ 1.2 ความผิดอันยอมความกันได้ หมายถึง ความผิดในทางอาญาซึ่งไม่ได้มีผลร้ายกระทบต่อสังคม โดยตรง หากตัวผู้รับผลร้ายไม่ติดใจเอาความแล้ว รัฐก็ไม่อาจยื่นมือเข้าไปดำเนินคดีกับผู้กระทำความผิดได้ และถึงแม้จะดำเนินคดีไปแล้ว เมื่อตัวผู้เสียหายพอใจยุติคดีเพียงใดก็ย่อมทำได้ด้วยการถอนคำร้องทุกข์ ถอน ฟ้อง หรือยอมความ เชน่ ความผิดฐานหมิน่ ประมาท ความผดิ เกี่ยวกับเสรภี าพ เป็นต้น

2. ลกั ษณะสำคัญของกฎหมายอาญา 2.1 เป็นกฎหมายท่ีกำหนดเป็นความผิดชัดแจ้ง ในขณะกระทำความผิดต้องมีกฎหมายบัญญัติไว้ แล้วอย่างชัดแจ้งว่าการกระทำนั้นเป็นความผิด เจ้าหน้าที่ผ้ใู ช้กฎหมายจะสร้างกฎหมายใหม่ข้นึ มาใช้บังคับแก่ ประชาชนคนใดคนหนึ่งโดยเฉพาะไม่ได้ เช่น กฎหมายบัญญัติว่า “การลักทรพั ย์เป็นความผิด” ดังนั้น ผู้ใดลัก ทรพั ยก์ ็ยอ่ มมีความผิดเชน่ เดียวกนั 2.2 เปน็ กฎหมายทไี่ ม่มีผลย้อนหลัง เป็นโทษไม่ไดแ้ ตเ่ ป็นคณุ ได้ ถ้าหากในขณะทม่ี ีการกระทำส่งิ ใด ยงั ไมม่ ีกฎหมายบัญญัตวิ า่ เป็นความผดิ แม้ต่อมาภายหลังจะมีกฎหมายบญั ญตั วิ า่ การกระทำอย่างเดียวกนั นนั้ เปน็ ความผดิ ก็จะนำกฎหมายใหม่ใชก้ บั ผู้กระทำผิดคนแรกไมไ่ ด้ 3. โทษทางอาญา 1) ประหารชีวติ คือ นำตัวไปยงิ ด้วยปนื ใหต้ าย 2) จำคกุ คือ นำตวั ไปขังไวท้ ีเ่ รือนจำ 3) กกั ขงั คือนำตัวไปขังไว้ ณ ที่อน่ื ท่ีไม่ใชเ่ รอื นจำ เช่น นำไปขงั ไว้ทีส่ ถานตี ำรวจ 4) ปรบั คือ นำคา่ ปรับซึ่งเปน็ เงินไปชำระให้แก่เจ้าพนักงาน 5) ริบทรัพย์สิน คือ รบิ เอาทรพั ยส์ นิ นนั้ เปน็ ของหลวง เช่น ปืนเถอื่ น ให้ริบ ฯลฯ 4. บุคคลจะต้องรับผิดในทางอาญาและได้รับโทษทางอาญาเมื่อใดบุคคลจะต้องรับผิดในทางอาญา ต่อเม่อื 4.1 กระทำโดยเจตนา คือ การกระทำโดยรู้สำนึกในการที่กระทำและในขณะเดียวกัน ผกู้ ระทำประสงค์ตอ่ ผลหรอื ย่อมเล็งเหน็ ผลของการกระทำนนั้ 4.2 กระทำโดยไม่เจตนา แต่ต้องเป็นกรณีที่กฎหมายบัญญัติไว้ โดยแจ้งชัดให้รับผิดแม้ กระทำโดยไม่เจตนากระทำโดยไม่เจตนา คือ ผู้กระทำไม่ได้ประสงค์ต่อผล หรือไม่อาจเล็งเห็นผลของการ กระทำนั้นได้ เช่น เราผลักเพื่อนเพียงจะหยอกล้อเท่านั้น แต่บังเอิญเพื่อนล้มลงไป ศีรษะฟาดขอบถนนถึงแก่ ความตาย เปน็ ตน้ 4.3 กระทำโดยประมาท แตต่ ้องเป็นกรณีท่ีกฎหมายบัญญัติให้ต้องรับผิดเม่ือได้กระทำโดย ประมาทการกระทำโดยประมาท คือ การกระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความ ระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเชน่ น้ันจะต้องมตี ามวสิ ัยและพฤตกิ ารณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่น วา่ นีไ้ ด้ แต่หาได้ใช้ให้เพยี งพอไม่ อนึ่ง “การกระทำ” ไม่ได้หมายความเฉพาะถึงการลงมือกระทำสิ่งใดส่ิงหน่ึงเท่าน้ัน แต่ หมายความรวมถึงการงดเวน้ การกระทำโดยประสงคใ์ ห้เกดิ ผลและเลง็ เหน็ ผลท่ีจะเกิดเช่น แม่จงใจทิ้งลกู ไม่ให้ กินข้าว จนทำให้ลูกตาย ตามกฎหมายแม่มีหน้าท่ีจะต้องเล้ียงดูลูก เมื่อแม่ละเลยไม่ทำหน้าที่ดังกล่าวจึงเป็น เหตุให้ลูกตาย ย่อมเป็นการกระทำความผิดโดยงดเว้น ถ้าการงดเว้นน้ันมีเจตนางดเว้นก็ต้องรับผิดในฐานะ กระทำโดยเจตนา ถือว่าเป็นความผดิ ฐานฆา่ คนตายโดยเจตนา เหตยุ กเว้นโทษทางอาญา การกระทำความผิดอาญาที่ผู้กระทำไม่ต้องรับโทษถา้ มเี หตอุ ันจะอ้างได้ตามกฎหมาย เชน่ 1. การกระทำความผิดด้วยความจำเปน็ 2. การกระทำความผดิ เพราะความบกพรอ่ งทางจติ 3. การกระทำความผดิ เพราะความมนึ เมา 4. การกระทำตามคำส่ังของเจา้ พนักงาน 5. สามภี รยิ ากระทำความผิดตอ่ กันในความผดิ เก่ียวกบั ทรพั ย์บางฐาน 6. เดก็ อายไุ มเ่ กิน 14 ปีกระทำความผดิ 7. เด็กและเยาวชนกระทำความผดิ

เด็กอาจกระทำความผิดได้เช่นเดียวผู้ใหญ่ แต่การกระทำความผิดของเด็กอาจได้รับโทษต่างจากการ กระทำของผู้ใหญ่ ทั้งนี้เน่ืองจากเด็กเป็นผู้อ่อนเยาว์ ปราศจากความรู้สึกรับผิดชอบหรือขาดความรู้สึกสำนึก เท่าผู้ใหญ่ การลงโทษเด็กจำต้องคำนึงถึงอายุของเด็ก ผู้กระทำความผิดด้วย กฎหมายได้แบ่งการกระทำ ความผดิ ของเด็กและเยาวชนออกเปน็ 4 ชว่ งอายุ คอื 1) เดก็ อายุไมเ่ กนิ 7 ปี 2) เดก็ อายุกว่า 7 ปี แตย่ ังไม่เกนิ 14 ปี 3) เยาวชนอายุเกินกวา่ 14 ปีแต่ไมเ่ กนิ 17 ปี 4) เยาวชนอายุกว่า 17 ปี แตไ่ มเ่ กิน 20 ปี สำหรับเด็กในช่วงอายุไม่เกนิ 7 ปี และเดก็ อายุกว่า 7 ปแี ตไ่ ม่เกนิ 14 ปีเท่านนั้ ท่กี ฎหมายยกเวน้ โทษให้ สว่ นผทู้ ี่อายุเกนิ กว่า 14 ปีแต่ไมเ่ กนิ 17 ปี และผู้ทมี่ ีอายุกว่า 17 ปี แต่ไม่เกนิ 20 ปี หากกระทำ ความผิดกฎหมายกจ็ ะไม่ยกเว้นโทษให้ เพยี งแต่ให้รบั ลดหย่อนโทษให้ 6.1 เด็กอายุไม่เกิน 7 ปีการกระทำความผิด เด็กไม่ต้องรับโทษเลย ทั้งนเ้ี พราะกฎหมายถือว่าเด็กใน วัยนยี้ ังไม่สามารถรผู้ ดิ ชอบได้ ฉะน้ันจะมกี ารจบั กุมฟอ้ งร้อยเกในทางอาญามิได้ 6.2 เดก็ อายกุ วา่ 7 ปี แต่ไมเ่ กนิ 14 ปกี ระทำความผิด เดก็ น้นั กไ็ ม่ต้องรบั โทษเช่นกนั แตก่ ฎหมายให้ อำนาจศาลทจี่ ะใชว้ ิธกี ารสำหรับเดก็ เชน่ 1) ว่ากลา่ วตกั เตอื นเดก็ นน้ั แลว้ ปลอ่ ยตวั ไป 2) เรยี กบดิ ามารดา ผู้ปกครองหรือบุคคลทีเ่ ดก็ นั้นอาศัยอยมู่ าตักเตอื นดว้ ยกไ็ ด้ 3) มอบตัวเดก็ ให้แก่บิดามารดาหรอื ผปู้ กครองไป โดยวางขอ้ กำหนดให้บดิ ามารดาหรือผู้ปกครองระวัง เด็กน้ันไม่ใหก้ อ่ เหตุร้าย 4) มอบเด็กให้แก่บคุ คลทเี่ ด็กอาศัยอยู่ เมอ่ื เขายอมรบั ขอ้ กำหนดทจี่ ะระวงั เดก็ นนั้ ไมใ่ ห้ก่อเหตรุ า้ ย 5) กำหนดเงื่อนไขเพ่อื คมุ ความประพฤติ 6) มอบตัวเด็กให้กับบุคคลหรือองค์การท่ีศาลเห็นสมควร เพ่ือดูและอบรมและสั่งสอนเด็กในเม่ือ บคุ คลหรอื องคก์ ารนนั้ ยนิ ยอม 7) ส่งตัวเดก็ นน้ั ไปยังโรงเรียนหรือสถานฝกึ อบรม หรอื สถานทซ่ี งึ่ จัดตงั้ ขึ้นเพอื่ ฝกึ และอบรม 6.3 เยาวชนอายุเกิน 14 ปี แต่ไม่เกิน 17 ปีกระทำความผิด ผู้ที่อายุกว่า 14 ปีแต่ไม่เกิน 17 ปี กระทำการอนั กฎหมายบญั ญัติเป็นความผิด ให้ศาลพิจารณาถงึ ความรผู้ ิดชอบและส่ิงอน่ื ทั้งปวงเก่ยี วกบั ผ้นู ้นั ใน อันควรวินิจฉัยว่าสมควรพิพากษาลงโทษผู้น้ันหรือไม่ศาลอาจใช้วิธีการตามข้อ 6.2 หรือลงโทษเช่นเดียวกับ ผ้ใู หญ่ โดยลดมาตราสว่ นโทษทจี่ ะใชก้ บั เยาวชนนัน้ ลงกึง่ หน่งึ ก่อนท่จี ะมกี ารลงโทษเยาวชนผ้กู ระทำความผิด 6.4 เยาวชนอายุกว่า 17 ปี แต่ไม่เกิน 20 ปีกระทำความผิด ผู้ท่ีอายุกว่า 17 ปี แต่ไม่เกิน 20 ปี กระทำอันกฎหมายบัญญัติเป็นความผิด ถ้าศาลเห็นสมควรจะลดมาตราส่วนโทษท่ีกำหนดไว้สำหรับความผิด นั้นลง 1 ใน 3 หรือกึ่งหนึ่งก็ได้จะเห็นได้ว่า ผู้ท่ีอายุกว่า 17 ปี แต่ไม่เกิน 20 ปี กฎหมายไม่ถือว่าเป็นเด็ก แต่กฎหมายก็ยอมรับว่า บุคคลในวัยน้ียังมีความคิดอ่านไม่เท่าผู้ใหญ่จริง จึงไม่ควรลงโทษเท่าผู้ใหญ่กระทำ ความผิด โดยให้ดุลพินิจแก่ศาลท่ีจะพิจารณาว่า สมควรจะลดหย่อนผ่อนโทษให้หรือไม่ ถ้าศาลพิจารณาสิ่ง ต่างๆที่เกี่ยวกับผู้กระทำความผิด เช่น ความคิดอ่าน การศึกษาอบรม ตลอดจนพฤติการณ์ในการกระทำ ความผดิ เช่น กระทำความผิดเพราะถูกผูใ้ หญ่เกล้ียกล่อม หากศาลเห็นสมควรลดหย่อนผอ่ นโทษให้ก็มีอำนาจ ลดมาตราสว่ นโทษได้ 1 ใน 3 หรอื ก่ึงหน่ึงการลดมาตราสว่ นโทษ คือ การลดอัตราโทษขัน้ สงู และโทษข้ันต่ำลง 1 ใน 3 หรือกึ่งหน่ึงแล้ว จึงลงโทษระหวา่ งนน้ั แต่ถ้ามีอัตราโทษขั้นสูงอย่างเดียวก็ลดเฉพาะอัตราโทษขั้นสูง นั้น แล้วจึงลงโทษจากอัตราท่ีลดแล้วน้ัน

กรณีตัวอยา่ ง คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 536/2516 จำเลยอายุ 19 ปี ยอมมีความรู้สกึ ผิดชอบ น้อย ได้กระทำความผดิ โดยเขา้ ใจวา่ ผู้ตายข่มเหงน้ำใจตน ศาลเหน็ สมควรลดมาตราสว่ นโทษลง 1 ใน 3 สรุปสาระสำคญั 1. กฎหมายอาญา คือ กฎหมายทว่ี า่ ดว้ ยความผิดและโทษที่กำหนดไว้สำหรับความผดิ 2. ความผิดทางอาญา คอื การกระทำท่มี ีผลกระทบกระเทือนตอ่ สังคมหรือคนสว่ นใหญข่ องประเทศ 3. การกระทำความผดิ อาญาออกเปน็ 2 ลักษณะ คือ ความผิดตอ่ แผน่ ดิน และความผิดอันยอมความกัน ได้ 4. ลักษณะสำคญั ของกฎหมายอาญาเปน็ กฎหมายทก่ี ำหนดเป็นความผิดชดั แจ้ง หรอื เปน็ กฎหมายทีไ่ ม่มี ผลยอ้ นหลงั 5. โทษทางอาญา มี 5 ชนดิ 1. ประหารชีวติ 2. จำคุก 3. กกั ขัง 4. ปรับ 5. ริบทรัพยส์ ิน 6. กระทำโดยเจตนา คือ การกระทำโดยร้สู ำนกึ ในการท่ีกระทำและในขณะเดยี วกนั ผูก้ ระทำประสงค์ ตอ่ ผลหรือยอ่ มเลง็ เหน็ ผลของการกระทำน้ัน 7. กระทำโดยไมเ่ จตนา คอื ผกู้ ระทำไม่ได้ประสงคต์ อ่ ผล หรือไม่อาจเล็งเห็นผลของการกระทำน้นั ได้ 8. การกระทำโดยประมาท คือ การกระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความ ระมดั ระวัง ซ่ึงบุคคลในภาวะเช่นน้นั จะตอ้ งมตี ามวสิ ัยและพฤตกิ ารณ์และผู้กระทำอาจใชค้ วามระมัดระวังเช่น วา่ นไี้ ด้ แตห่ าไดใ้ ช้ให้เพียงพอไม่ 9. กฎหมายไดแ้ บ่งการกระทำความผิดของเด็กและเยาวชนออกเปน็ 4 ช่วงอายุ คอื 1) เดก็ อายุไม่เกนิ 7 ปี 2) เดก็ อายกุ ว่า 7 ปี แตย่ ังไม่เกิน 14 ปี 3) เยาวชนอายเุ กนิ กวา่ 14 ปแี ต่ไมเ่ กิน 17 ปี 4) เยาวชนอายุกวา่ 17 ปี แต่ไม่เกิน 20 ปี

สปั ดาห์ท่ี 18 (ชวั่ โมงท่ี 1) ใบงานวิชา สังคมศึกษา 3 ส23101 (ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3) หนว่ ยการเรียนรู้ 9 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 กฎหมายนา่ รู้ (Rerun) …………………………………………………………………………………………………………………… เรื่อง รเู้ ขา้ ใจเบอื้ งตน้ เก่ียวกบั กฎหมายอาญา ตอนท่ี 1 ใหเ้ ขียนเตมิ คำหรอื ขอ้ ความส้ันๆ 1.กฎหมายอาญาคอื กฎหมายท่ีบัญญตั ิถึงความสัมพันธร์ ะหวา่ งใคร? อยา่ งไร ? ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.กฎหมายอาญามีสาระบญั ญตั เิ รอ่ื งใด? …………………………………………………………………………………………… 3.พระราชบญั ญัตยิ าเสพตดิ เปน็ กฎหมายอาญาที่อยใู่ นรปู ประมวลกฎหมาย หรือ ฉบับกฎหมาย? ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4.การลงโทษทางอาญาโดย ปรับหรอื ริบทรัพย์ มิใช่ความมงุ่ หวงั ของกฎหมายอาญาในเรอ่ื งใด? ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5.บคุ คลจะต้องรบั โทษทางอาญาเมอ่ื ไร ? ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 6.กฎหมายอาญาใชบ้ ังคบั ย้อนหลังได้หรือไม่ ? อยา่ งไร ? ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 7.ลักษณะความผิดอาญาทยี่ อมความกนั ไม่ได้ คอื ความผดิ ใด ? …………………………………………………………….. 8.ความผดิ อาญาท่จี ดั เป็นความผิดลหุโทษ มีหลกั เกณฑ์อย่างไร ? ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 9.ลักษณะความผิดกฎหมายอาญาตามประมวลกฎหมายอาญามีก่ีลกั ษณะ ? การหมนิ่ ประมาทผู้อื่นเป็น ความผดิ ลกั ษณะใด ? ……………………………………………………………………………………………………………………….. 10.การกอ่ การร้ายใน 3 จงั หวัดภาคใต้ เปน็ ความผิดลกั ษณะใดตามประมวลกฎหมายอาญา ? ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 11.นอนละเมอลุกขน้ึ ทำรา้ ยผ้อู ่นื เป็นลักษณะการกระทำความผิดอาญาหรอื ไม่ ? ถา้ เป็นจัดเปน็ ลักษณะการ กระทำความผิด ลกั ษณะใด ? …………………………………………………………………………………………………………… 12.“โกรธเจา้ ของโรงงาน วางเพลงิ เผาโรงงานประสงคใ์ ห้เสียหาย เกิดมีคนงานถกู ไฟไหม้ตาย” กรณนี เ้ี ป็น ลักษณะการกระทำความผิด ลักษณะใด ? …………………………………………………………………………………………… 13.“ เลน่ หยอกล้อกนั บนท่ีสงู ผลักโดยเพือ่ นเล่นตกลงมาได้รบั บาดเจบ็ สาหัส “ เปน็ ลกั ษณะการกระทำ ความผดิ อาญาหรือไม่ ? ถา้ เปน็ จัดเป็นลักษณะการกระทำความผดิ ลักษณะใด ? ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 14.“เอาไม้ขว้างนก ไมก้ ระเด็นไปโดยผุ้อนื่ บาดเจ็บ” เป็นลักษณะการกระทำความผิดอาญาหรอื ไม่ ? ถ้าเป็น จัดเปน็ ลักษณะการกระทำความผิด ลักษณะใด ? ………………………………………………………………………………… 15.“ นาย ก. คิดและตกลงใจจะทำร้าย นาย ข. ทง้ั ยงั ได้เตรยี มอาวุธไว้แลว้ นาย ข. รู้เสียก่อนจึงไปแจง้ ความ ต่อเจา้ หนา้ ท่ี” ถือว่านาย ก. กระทำความผดิ อาญาแลว้ หรือยงั ? เพราะเหตุใด ? ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

สัปดาหท์ ่ี 18 (ช่วั โมงท่ี 2) ใบความรวู้ ชิ า สงั คมศกึ ษา 3 ส23101 (ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3) หน่วยการเรยี นรู้ 9 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 กฎหมายน่ารู้ (Rerun) …………………………………………………………………………………………………………………… เรอ่ื ง ความผิดท่สี ำคัญตามประมวลกฎหมายอาญา กฎหมายได้แบ่งความผิดในทางอาญาไว้ 12 ลักษณะ และความผิดลหุโทษ แต่ความผดิ ท่สี ำคัญและ เกยี่ วขอ้ งกับประชาชนโดยท่ัวไปมี 2 ลกั ษณะ คือ การกระทำความผดิ เกี่ยวกับทรพั ย์สนิ ของผูอ้ ่ืนและการ กระทำความผดิ เกยี่ วกบั ชีวิตและรา่ งกายของผ้อู ่นื เช่น ความผดิ เก่ยี วกบั ทรพั ย์สนิ ของผ้อู ่นื ความผดิ เก่ียวกับชีวติ และร่างกายของผ้อู นื่ 1. ลักทรพั ย์ คอื การเอาของๆ ผ้อู น่ื ไป โดยเจา้ ของ 1. ความผดิ เกย่ี วกับชวี ติ ได้แก่ มิไดย้ นิ ยอมหรอื รู้เห็น 1.1 ฆ่าผู้อื่น เช่น ความผิดฐานฆ่าคนตาย การฆ่าคน โดยมีองคป์ ระกอบของการกระทำความผดิ ดงั นี้ ตายไม่ว่าจะด้วยวิธีการใด เจตนาหรือไม่ก็ตาม แม้แต่การ 1.1 เปน็ การเอาทรพั ยข์ องผ้อู ื่นหรอื ทรพั ยท์ ผ่ี ู้อนื่ เป็น กระทำโดยประมาท ยอ่ มเปน็ ความผดิ ทั้งสิน้ รวมทงั้ เปน็ การ เจา้ ของรว่ มอย่ดู ว้ ย กระทำเพื่อป้องกันตวั ซ่งึ จะต้องสืบพยานในช้ันศาล การฆ่า 1.2 ตอ้ งมีเจตนาทุจริต คอื เขา้ ไปโดยท่ีเจา้ ของไม่ คนบางประเภทจะได้รับโทษหนักข้ึน เช่น ฆ่าพ่อ แม่ ปู่ ย่า ทราบหรอื ไมย่ ินยอม ตา ยาย เจ้าพนักงานหรือผู้ชว่ ยพนักงานตามกฎหมาย การ 2. ชงิ ทรพั ย์ คอื การลกั ทรพั ยโ์ ดยใชก้ ำลงั ประทษุ ร้าย ฆ่าผู้อนื่ โดยไตร่ตรองไว้กอ่ น หรอื ฆ่าเพ่ือการกระทำผดิ อย่าง หรอื โดยการข่มขู่ อ่ืน เช่น ฆ่าเพ่ือชิงทรัพย์ ฆ่าเพ่ือข่มขืน ฆ่าเพื่อปกปิด เพ่อื วตั ถปุ ระสงค์อยา่ งใดอย่างหนึง่ ใน 5 อย่าง คือ ความลับ เป็นตน้ 2.1 ช่วยให้เกิดความสะดวกในการพาทรัพย์ไป 1.2 การช่วยยุยงให้ผู้อ่ืนหรือเด็กฆ่าตนเอง ถ้ามีการ 2.2 ใหเ้ จา้ ทรัพยย์ ่ืนทรัพยใ์ ห้ กระทำเกดิ ขน้ึ กม็ คี วามผิดเกย่ี วกับชีวติ เชน่ เดยี วกัน 2.3 ยดึ ถือทรพั ยน์ ั้นเอาไว้ 2. ความผดิ เกี่ยวกบั รา่ งกาย คอื ทำร้ายผ้อู น่ื อันเป็นเหตุให้ 2.4 ปกปดิ การกระทำ เกิดอนั ตรายแก่กายและจิตใจ มี 4 ลักษณะ คอื 2.5 ช่วยให้พ้นจากการจบั กมุ 2.1 ทำรา้ ยร่างกายโดยไม่มอี นั ตราย เช่น ผลกั ล้มเป็น 3. ปลน้ ทรพั ย์ คอื การชงิ ทรัพยท์ ร่ี ว่ มกนั กระทำความผิด ความผดิ อาจเปรยี บเทยี บเป็นค่าปรบั ได้ (ลหโุ ทษ) เป็นตน้ ดว้ ยกันตัง้ แต่ 3 คนข้ึนไป ถือวา่ เป็นการปล้นทรพั ย์ มีโทษ 2.2 ทำร้ายร่างกายโดยมีอันตราย เช่น ใช้ไม้ตีศีรษะ จำคกุ และปรบั รา้ ยแรงกว่าลักทรัพยและชงิ ทรพั ย์ ความผดิ ลกั ทรัพย์ ชงิ ทรัพย์ และปล้นทรัพย์ ยอมความกนั แตก เปน็ ตน้ ไมไ่ ด้ 2.3 ทำร้ายร่างกายโดยได้รับอันตรายสาหัส เช่น 4. ฉอ้ โกง คอื การใชก้ ลอุบายเอาทรพั ยส์ นิ ผูอ้ ืน่ โดยการ เจตนาผลักของผู้อน่ื ล้มจนเป็นอมั พาต เป็นความผิดอาญา แผ่นดนิ ยอม หลอกลวงและปกปดิ ขอ้ เท็จจรงิ ความไมไ่ ด้ เป็นต้น ซงึ่ การหลอกลวงและปกปิดขอ้ เท็จจรงิ นีท้ ำใหไ้ ดไ้ ปซ่งึ ทรัพย์สนิ จากผถู้ กู หลอกลวง กระทำผิดฉอ้ โกงสามารถยอม 2.4 ทำร้ายร่างกายจนถึงแก่ชีวิต เช่น ใช้ปืนยิงผู้อื่น เสยี ชวี ิตมีความผดิ ฐานฆ่าคนตาย เปน็ ตน้ ความกนั ได้ แต่ถา้ เป็นการฉอ้ โกง 3. ความผิดฐานทอดทิง้ เดก็ คนปว่ ยและคนชรา คือ การ ประชาชนโดยทั่วไป ทอดท้ิง คนท่ีไมสามารถชว่ ยเหลอื ตนเองได้ เชน่ คนแก่ จะมีโทษสงู ขึ้นและยอมความกันไมไ่ ด้ เด็ก เปน็ ต้น

สปั ดาหท์ ี่ 18 (ชว่ั โมงท่ี 2) ใบงานวิชา สงั คมศกึ ษา 3 ส23101 (ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 3) หน่วยการเรยี นรู้ 9 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 4 กฎหมายน่ารู้ (Rerun) …………………………………………………………………………………………………………………… เร่ือง ความผดิ ท่ีสำคัญตามประมวลกฎหมายอาญา คำช้แี จง ใหน้ กั เรียนยกตัวอย่างสมมตเิ หตกุ ารณก์ ารกระทำความผดิ ทางอาญามา 1 ตวั อยา่ ง พรอ้ มท้ัง วาดภาพประกอบหรือนำรูปภาพมาติดก็ได้ เหตกุ ารณ์การกระทำความผดิ ทางอาญา เรอื่ ง................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. .................................................

สปั ดาหท์ ี่ 19 (ชว่ั โมงที่ 1) ใบความรวู้ ิชา สังคมศกึ ษา 3 ส23101 (ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3) หน่วยการเรียนรู้ 10. หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 7 สงั คมดมี สี ุข (Rerun) ………………………………………………………………………………………………………………….. เรอ่ื ง ความขดั แย้ง ความขัดแย้ง หมายถึง ปฏิสัมพันธ์ที่มีลักษณะของความไม่เป็นมิตรหรือตรงกันข้ามหรือไม่ลงรอยกัน หรือความไมส่ อดคล้องกัน ลักษณะของความไม่ลงรอยกันหรือไม่สอดคล้องกันน้จี ะเกีย่ วข้องกับประเดน็ ต่างๆ หลายประเดน็ เชน่ เปา้ หมาย ความคดิ ทศั นคติ ความรู้สกึ คา่ นิยม ความสนใจ ความสัมพันธ์ เป็นต้น ลกั ษณะของความขัดแยง้ ลักษณะของความขัดแยง้ อาจจะแสดงออกมาหรือมีลกั ษณะ ดงั ต่อไปน้ี จะมีบุคคลหรือฝ่ายอย่างน้อยที่สุด 2 ฝ่าย หรือบุคคล 2 บุคคลที่เข้ามาเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันและมี ปฏสิ มั พันธบ์ างอยา่ งต่อกนั แต่ละบุคคลหรือแต่ละฝ่าย จะมีความเชื่อและค่านิยมเฉพาะ ซึ่งแต่ละ บคุ คลหรือสมาชกิ ในแต่ละฝ่ายตระหนักและมองเหน็ ในความเชื่อและค่านยิ มนั้นปฏิสัมพันธ์ระหว่างแต่ละฝ่าย ซง่ึ จะแสดงออกมาเปน็ พฤติกรรมทีแ่ สดงถึงการขม่ ขู่ การลดพลัง การกดดันฝ่ายตรงข้าม เพือ่ ใหไ้ ด้มาซง่ึ ชัยชนะ แต่ละบุคคลหรือแต่ละฝ่าย เผชญิ หน้ากันหรือแสดงปฏกิ ิริยาในลักษณะตรงขา้ มกันหรือเปน็ ปฏิปกั ษ์ต่อกัน แต่ ละบุคคลหรือแต่ละฝา่ ยจะแสดงปฏิกริ ิยาท่กี ่อใหเ้ กิดความเหนอื กวา่ ทางดา้ นอำนาจต่ออีกฝ่ายหนง่ึ จากลกั ษณะของความขดั แย้งดังกล่าวข้างต้น จะเรียกว่าเป็นความขัดแย้งระหว่างบุคคล ซ่ึงนอกจาก จะเกิดระหว่างบุคคลหรือกลุ่มหรือฝ่ายแล้ว ยังเกิดข้ึนในตัวบุคคลด้วย ตัวอย่างเช่น บุคคลคนหนึ่งอาจจะมี ความคิดท่ีขัดแย้ง เช่น นักเรียนอาจจะชอบเพ่ือนในห้องช่ือเอ แต่เออาจจะรักใคร่ชอบพอสนิทสนมกับบี ซ่ึง นกั เรียนไมช่ อบบี ความรสู้ กึ ขดั แย้งอาจจะเกิดขึ้นกบั นักเรียน ความยุ่งยากในการตดั สนิ ใจกจ็ ะเกดิ ขนึ้ ว่าควรจะ เลิกคบกับเอหรอื ไม่ เปน็ ตน้ สาเหตุหรอื ท่ีมาของความขัดแย้ง ความขัดแย้งระหว่างบคุ คลหรือระหว่างกลุ่มเกิดข้ึนไดจ้ ากสาเหตหุ รือแหล่งต่างๆ ดงั นี้ มนษุ ยส์ ัมพันธ์ ระหว่างบุคคลหรอื กลุม่ บุคคล ซึง่ มีลกั ษณะ ดงั นี้ 1.ความไมเ่ ขา้ ใจกัน 2.ความสัมพนั ธท์ ี่เพิกเฉยและไมเ่ กื้อกลู กนั 3.ความลม้ เหลวของการสอ่ื ความหมายอยา่ งเปิดเผยและซอื่ ตรง แนวทางในการแก้ปญั หาหรอื ลดความขดั แยง้ การแก้ปญั หาความขัดแยง้ หมายถงึ การลดหรือขจัดความขดั แย้ง เพื่อทำให้พฤติกรรมของการขดั แย้ง หายไปหรือสิ้นสุดลง ซ่ึงปญั หาดา้ นความขดั แยง้ ของวยั รุน่ มแี นวทางแกป้ ญั หา ดังนี้ 1.ให้คำแนะนำแก่วัยรุ่นท่ีมีปัญหา โดยหาบุคลากรท่ีมีประสบการณ์ เข้าใจความรู้สึกและความ ตอ้ งการของวัยรุ่นมาชว่ ยแก้ปัญหา 2.ครู อาจารย์ และผู้ปกครองตอ้ งเข้าใจปัญหาความขัดแยง้ และหาแนวทางแก้ไข เช่น การแก้ปัญหา โดยการใช้แนวคิดเชิงบวก การให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา ตลอดจนการแก้ปัญหาโดยไม่ใช้ความ รนุ แรง

สปั ดาห์ท่ี 19 (ชัว่ โมงที่ 1) ใบงานวชิ า สงั คมศึกษา 3 ส23101 (ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3) หนว่ ยการเรียนรู้ 10. หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 7 สงั คมดมี สี ุข (Rerun) ชือ่ .................................นามสกลุ ....................................เลขท.่ี ................ ............................................................................................................................. .................. คำช้ีแจง ให้นกั เรยี นเตมิ คำหรือข้อความให้สมบูรณ์ 1. จงยกตวั อยำ่ งเหตกุ ำรณ์ความขัดแยง้ ในสังคมไทย ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ 2. จงวิเคราะหส์ ำเหตขุ องเหตุกำรณ์ความขดั แย้งใน ขอ้ 1 ................................................................................................... ............................................................. ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ 3. จงวิเคราะหผ์ ลกระทบที่เกิดจำกเหตกุ ารณ์ความขดั แยง้ ดงั กล่าว ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ 4. จงเสนอแนวทางการแก้ปญั หำใน ข้อ 1 ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................

สัปดาห์ที่ 19 (ชัว่ โมงท่ี 2) ใบความรวู้ ิชา สงั คมศึกษา 3 ส23101 (ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 3) หนว่ ยการเรียนรู้ 10. หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 7 สงั คมดีมีสุข (Rerun) ………………………………………………………………………………………………………………….. บทความปรองดองสมานฉนั ทเ์ พอ่ื การปฏริ ูปฯ เร่ือง “อยากใหพ้ นี่ ้องคนไทยปรองดองรักกันเหมือนเดิม” เรยี บเรยี งโดย ชลธิศสา องอาจ ตงั้ แต่ยคุ สมยั ประวตั ิศาสตรช์ าติไทย ไดม้ ีการจดจารกึ ถึงความรกั ชาติของคนไทยมีปรากฎให้เห็นอยา่ ง ต่อเนือ่ งมาโดยตลอด คนไทยรักกนั และร่วมกอบกู้ประเทศไทยให้พ้นภัยจากอริราชศตั รูทั้งภายในและภายนอก ประเทศ จนสามารถคงความเป็นเอกราชประเทศเดียวท่ีอยู่ท่ามกลางประเทศเพื่อนบ้านท่ตี ้องเสียดินแดนหรือ เป็นเมืองข้ึนของต่างชาติ สาเหตุที่ประเทศไทยคงความเป็นไทได้ปัจจัยท่ีสำคัญอยู่ท่ีคนไทยรักและสามัคคีกัน กาลเวลาผ่านไปส่ิงท่ีมีอิทธิพลต่อความรักกันของคนไทยและท าให้เกิดความขัดแย้งจนเกิดความแตกสามัคคี ของคนไทยดว้ ยกนั กค็ ือความเห็นท่แี ตกตา่ งและยังไมต่ กผลกึ ทางความคดิ จากรายงานการวิจัยการสร้างความปรองดองแห่งชาติของสถาบันพระปกเกลา้ กล่าวถึงรากเหง้าของ ปญั หาความขัดแย้งของคนไทยมิใช่เพียงเร่อื งผลประโยชน์ แต่เป็นเรื่องของการให้คุณค่าและความเชอื่ ต่อการ ปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยการต่อส้เู พ่ือใหค้ นไทยมีอิสระ เสรภี าพตามระบอบประชาธปิ ไตยอยา่ งแท้จริง ดำเนนิ การมาหลายสมัย แต่กย็ ังไม่ถึงฝงั่ นับวนั ความขัดแยง้ ยิ่งมีความรุนแรงมากขึน้ จนลา่ สดุ เมอ่ื กลางปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ท่ีผ่านมาคณะรักษาความสงบแห่งชาติได้ร่วมกับทุกภาคส่วนสร้างความปรองดองสมานฉันท์ให้เกิด ขนึ้ กบั คนไทยทั่วทกุ ภูมิภาคโดยหวังให้คนไทยสามารถอยู่รว่ มกันไดท้ า่ มกลางความแตกตา่ งหลากหลาย เคารพ ในคณุ คา่ ของกันและกันภายในสังคมท่ีมคี วามเป็นประชาธปิ ไตย จากการสำรวจความคดิ เห็นของประชาชนท่ัวประเทศของ “สวนดสุ ิตโพล” มหาวทิ ยาลัยราชภัฎสวน ดุสิตพบว่าสิ่งที่คนไทยต้องการหลังจากท่ีเกิดความขัดแย้งกัน อันดับ ๑ การให้อภัย ลดทิฐิหยุดทะเลาะเบาะ แว้งกนั เห็นแก่ชาติบา้ นเมอื งเป็นสำคัญ อันดบั ๒ ต้องปลูกฝังสร้างจิตส านึกให้คนไทยมคี วามรกั ความสามัคคี นอ้ มนำพระราชดำรัสในหลวงมาใช้ในการด าเนินชวี ิต อันดับ ๓ หยุดการกระทำท่ีสร้างความเดือดร้อนให้กับ บ้านเมือง ยุติการเคลอ่ื นไหว ไม่ใช้ความรุนแรง อันดับ ๔ ให้จัดกิจกรรมสรา้ งความสมั พนั ธ์ สร้างความสามัคคี อันดับ ๕ ต้องบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด ลงโทษผู้กระทำผิดอย่างจริงจัง ให้ความเป็นธรรมกับทุกฝ่าย อนั ดับ ๖ ควรจัดให้มีการเลือกต้ังอย่างถูกต้อง โปร่งใส เป็นไปตามระบอบประชาธปิ ไตย โดยความคดิ เหน็ ของ ประชาชนได้สอดคลอ้ งกับกรองของแผนการด าเนนิ งานและการปฏบิ ัตขิ องคณะรักษาความสงบแห่งชาติหาก เมื่อใดคนไทยเข้าใจกัน เลิกวิวาท ลดมานะทิฏฐิหันหน้าเขา้ หากัน ปรึกษาหารือกัน ด้วยความประนีประนอม ยอมความกัน ความสามัคคี ปรองดอง สมานฉันท์ ย่อมเกิดและเจริญขึ้นได้ ด้วยคุณธรรมของ ผู้นำและ ประชาชนทกุ หมเู่ หลา่ สง่ิ สำคัญทเี่ ปน็ ยอดปรารถนาของทกุ คนนั้น คือ “อยากใหพ้ นี่ ้องคนไทย ปรองดองรักกนั เหมอื นเดิม”

สัปดาห์ท่ี 19 (ชว่ั โมงท่ี 2) ใบงานวชิ า สังคมศึกษา 3 ส23101 (ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3) หน่วยการเรยี นรู้ 10. หน่วยการเรยี นรู้ที่ 7 สงั คมดีมสี ุข (Rerun) ………………………………………………………………………………………………………………….. คำชี้แจง หลังจากท่ีนักเรียนได้ศึกษาใบความรู้สัปดาห์ที่ 19 (ช่ัวโมงท่ี 2) จงสรุปตามเข้าใจมาอย่าง น้อยจำนวน ๕ ขอ้ ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................... ......................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................... .......................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... .... ...................................................................................................................................................................


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook