Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการสอนประวัติศาสตร์-ม.2-1-65

โครงการสอนประวัติศาสตร์-ม.2-1-65

Published by วชิรวิชญ์ กวดนอก, 2022-07-19 13:48:04

Description: โครงการสอนประวัติศาสตร์-ม.2-1-65

Search

Read the Text Version

โครงการสอนและกำหนดการสอน รายวิชา ประวตั ิศาสตรส์ มยั กรงุ ศรีอยุธยา (ส22103) ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 ของ พระครปู รีชาปรยิ ัตยาทร,ดร. ตำแหนง่ ครพู ิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นร้สู ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรียนวัดพระแกว้ ดอนเตา้ สขุ าดาราม สำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาเขต 1 ลำปาง

คำอธิบายรายวชิ าพื้นฐาน รหสั วิชา ส22103 รายวิชา ประวตั ิศาสตร์สมยั กรุงศรีอยุธยา กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ฯ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 20 ชัว่ โมง จำนวน 0.5 หน่วยกติ ................................................................................................................................................................... ศึกษา วิเคราะห์ ประเมินความน่าเช่ือถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ และความสำคัญของการ ตีความหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่น่าเช่ือถือ ความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ ทางประวตั ศิ าสตร์ ศึกษาพัฒนาการของอาณ าจักรอยุธยาในด้านการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม ศิลปวัฒนธรรม และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ การเมือง ปัจจัยท่ีส่งผลต่อความม่ันคงและความ เจริญรุ่งเรืองของอาณาจักรสมัยอยธุ ยา อิทธิพลของภูมิปญั ญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอาณาจักรอยุธยาทีมีต่อ การพัฒนาชาติไทยในยุคตอ่ มา โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเผชญิ สถานการณ์ และกระบวนการแก้ปัญหา เพือ่ ให้เกดิ ความรูค้ วามเข้าใจเกย่ี วกับพัฒนาการของมนุษยชาตใิ นภมู ภิ าคต่าง ๆในทวีปเอเชยี จากอดีต จนถึงปัจจุบัน ให้ตระหนักถึงความสำคัญและผลกระทบท่ีเกิดข้ึน มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน มีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต มีความรัก ความภูมิใจและธำรงความเป็น ไทย มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชี้วดั ส4.1 ม.2/1 ส4.1 ม.2/2 ส4.1 ม.2/3 ส4.3 ม.2/1 ส4.1 ม.2/2 ส4.1 ม.2/3 รวม 2 มาตรฐาน 6 ตัวชว้ี ัด

ช่อื รายวิชา ส 22103 ประวตั ิศาสตร์สมยั กรงุ ศรีอยุธยา ภาคเรยี นท่ี 1 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 เวลา 20 ชว่ั โมง 0.5 หน่วยกติ หนว่ ยที่ ช่อื หน่วย มาตรฐาน/ ตัวช้ีวัด สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด เวลา น้ำหนัก คะแนน ช่ัวโมง 15 1 หลกั ฐานทาง ส 4.1 ม. 2/1 การศกึ ษารฐั โบราณในดินแดนไทยโดยใช้วิธีการ 4 ส 4.1 ม. 2/2 ทางประวัตศิ าสตร์ทำใหเ้ กดิ ความเข้าใจเรอ่ื งราว ประวัติศาสตร์ ทาง ประวตั ิศาสตรส์ มยั ก่อนอยุธยา ส 4.1 ม. 2/3 2 การสถาปนา ส 4.1 ม. 3/1 อยธุ ยาเป็นอาณาจกั รท่มี พี ฒั นาการ ในดา้ น 4 15 ต่างๆ ทม่ี อี ิทธิพลตอ่ วฒั นธรรมและภมู ปิ ัญญา 4 อาณาจกั รอยุธยา ส 4.3 ม. 1/2 15 ไทย มีอายุ ๔๑๒ ปี 3 สงั คมและ ส 4.3 ม. 2/1 25 สงั คมและเศรษฐกจิ ท่มี ีผลตอ่ วฒั นธรรมและ เศรษฐกิจสมัย ภมู ิปัญญาของอาณาจกั รอยธุ ยาเป็นความ 10 ภาคภมู ใิ จของประเทศไทยจนถงึ ปัจจบุ นั 20 อยธุ ยา 100 4 ความสมั พันธ์ ส 4.3 ม. 2/1 อยุธยามคี วามสมั พนั ธ์ระหว่างตา่ งประเทศทง้ั 6 ในดา้ นการเมือง การค้า และการทตู ระหว่างประเทศใน สมัยอยธุ ยา สอบกลางภาค/คะแนนระหวา่ งภาค 1 สอบปลายภาค/คะแนนปลายภาค 1 20 รวมตลอดภาคเรยี น

กำหนดการเรยี นรูร้ ายชวั่ โมง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม รายวิชา ประวตั ศิ าสตร์สมยั กรุงศรีอยธุ ยา รหสั วิชา ส22103 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 หนว่ ยการเรยี นรู้ ช่ัวโมง ว/ด/ป แหลง่ อ้างอิง มาตรฐาน สาระสำคัญ ส่ือการเรยี นรู้ท่ี 17 พ.ค.65 /ตัวชว้ี ดั สำคญั หน่วยการ 4 24 พ.ค.65 -แผนการเรยี นรู้ที่1 ส 4.1 การกำหนดเวลา ยุค เรยี นรูท้ ี่ 1 ปฐมนิเทศและข้อตกลงใน ม. 4-6/1 สมยั การนบั และ 1)หนังสอื เรียน 31 พ.ค.65 การเรยี น เทียบศกั ราชใน ประวัติศาสตร์ม.4 หลักฐานทาง ประวตั ิศาสตรไ์ ทย 2)ตวั อย่าง ประวัตศิ าสตร์ -แผนการเรยี นรทู้ ี่ 2 ทำใหส้ ามารถศึกษา หลักฐานทาง ประเภทของหลกั ฐานและ และเรียงลำดับ ประวตั ิศาสตร์ หลักฐานทาง เหตุการณต์ า่ งๆ ใน 3)อินเตอร์เนต ประวัติศาสตร์ ประวตั ิศาสตรไ์ ด้ 1. ประเภทของหลักฐาน รวมทงั้ มี 2. หลกั ฐานทาง ความสมั พันธ์ ประวตั ิศาสตร์สมัยอยุธยา เชื่อมโยงจากอดตี สู่ ปัจจบุ นั และ -แผนการเรียนร้ทู ี่ 3 คาดการณ์ในอนาคต การตรวจสอบและ เขา้ ด้วยกันได้ ประเมินหลักฐาน 7 ม.ิ ย.65 -แผนการเรียนรทู้ ี่ 4 การตคี วามหลักฐาน หน่วยการเรียนรู้ 4 14 ม.ิ ย.65 -แผนการเรียนรู้ที่1 ส 4.1 การสร้างองค์ 1)หนงั สอื เรยี น ที่ 2 21 ม.ิ ย.65 การสถาปนาอาณาจกั ร ม. 4-6/2 ความรใู้ หม่ทาง ประวัตศิ าสตรม์ .4 อยุธยา ประวตั ิศาสตร์ 2)หนงั สอื คน้ คว้า การสถาปนา ไทย โดยใชว้ ธิ ีการ เพ่ิมเติม อาณาจกั รอยธุ ยา -แผนการเรียนรทู้ ี่ 2 ทาง 3)อินเตอรเ์ นต การเมอื งการปกครองสมยั ประวตั ิศาสตร์ 4)ผังมโนทัศน์ อยธุ ยา อย่างเปน็ ระบบ

2. การเมืองการปกครอง ยอ่ มทำให้ผล สมัยอยุธยาตอนตน้ การศึกษานน้ั มี คุณค่าและเปน็ ท่ี 28 ม.ิ ย.65 -แผนการเรียนรทู้ ี่ 3 ยอมรบั ในวง 3. การเมอื งการปกครอง วชิ าการ สมัยอยธุ ยาตอนกลาง 5 ก.ค.65 -แผนการเรยี นรูท้ ี่ 4 4. การเมืองการปกครอง สมัยอยุธยาตอนปลาย หน่วยการเรยี นรู้ 4 12 ก.ค.65 -แผนการเรียนร้ทู ี่ 1- ส 4.3 การศึกษา 1)หนงั สือเรยี น ที่ 3 19 ก.ค.65 ความเสอ่ื มของอาณาจักร ม. 4-6/1 ประเด็นทาง ประวัติศาสตร์ม.4 27 ก.ค.65 อยธุ ยา ม. 4-6/2 ประวตั ิศาสตร์ 2)หนังสือคน้ คว้า สังคมและเศรษฐกิจ ไทย เพิ่มเติม สมยั อยธุ ยา แผนการเรยี นรทู้ ี่ 2 ความสำคญั ของ 3)อนิ เตอรเ์ นต สภาพสงั คมและการเล่อื น สถาบนั 4)ผงั มโนทศั น์ ฐานะทางสังคม พระมหากษัตริย์ -แผนการเรยี นรูท้ ่ี 3 สงั คมและเศรษฐกจิ พระพุทธศาสนาและ สมัยอยุธยาสมยั การศกึ ษาในสงั คมอยธุ ยา อยธุ ยา 2 ส.ค.65 -แผนการเรียนรู้ที่ 4 13 รายได้และรายจา่ ยของ อาณาจักรอยุธยา 19 ก.ค.65 สอบกลางภาคเรียน 1/2565

หนว่ ยการเรยี นรู้ ช่วั โมง ว/ด/ป แหล่งอ้างอิง มาตรฐาน สาระสำคัญ สือ่ การเรยี นรทู้ ่ี /ตวั ช้ีวดั สำคญั หนว่ ยการเรยี นรู้ 6 9 ส.ค.65 -แผนการเรียนรู้ท่ี 1 การศึกษา ที่ 4 นโยบายตา่ งประเทศและ ส 4.3 ประเดน็ ทาง 1)หนงั สือเรียน 16 ส.ค.65 รัฐท่มี ีความสัมพนั ธก์ บั ม. 4-6/1 ประวัติศาสตร์ ประวัตศิ าสตร์ม.4 ความสัมพนั ธ์ 23 ส.ค.65 อยธุ ยา ม. 4-6/2 ไทยนอกจากฝึก 2)หนงั สอื คน้ ควา้ ระหว่างประเทศใน กระบวนการ เพม่ิ เติม สมยั อยธุ ยา -แผนการเรียนรู้ท่ี 2 วเิ คราะห์แลว้ ยงั 3)อนิ เตอร์เนต ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง ทำใหเ้ กดิ องค์ 4)ผงั มโนทศั น์ อยธุ ยากับรฐั เพ่ือนบา้ น ความรู้ใหมท่ าง 30 ส.ค.65 ประวตั ิศาสตร์ -แผนการเรยี นรทู้ ี่ 3 และตระหนักถึง ความสัมพนั ธร์ ะหว่าง ความสำคัญของ อยธุ ยากบั รฐั ในเอเชยี ตะวันออก ความสมั พนั ธ์ ระหว่างประเทศใน -แผนการเรียนรู้ท่ี 4 สมยั อยุธยา ความสัมพันธ์ระหวา่ ง 6 ก.ย.65 อยุธยากบั รัฐในเอเชยี ตะวันตก 13 ก.ย.65 -แผนการเรยี นร้ทู ี่ 5 การเสยี กรงุ ศรอยุธยา ครั้งที่ 1 20 ก.ย.65 -แผนการเรียนรทู้ ี่ 6 การเสยี กรุงศรอยุธยา คร้ังที่ 2 27 ก.ย.65 สอบปลายภาคเรยี น 1/2565

การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ โดยการประเมินสภาพจริง พจิ ารณาจากพัฒนาการของผเู้ รียน ความประพฤติ การสงั เกตพฤติกรรมการเรียน การรว่ มกจิ กรรม และการทดสอบ 1. ก่อนสอบกลางภาค 30 คะแนน ผลการเรยี นรทู้ ี่คาดหวัง - งานที่มอบหมาย 20 คะแนน - ทดสอบระหวา่ งเรยี น 10 คะแนน 2. สอบกลางภาค 10 คะแนน ผลการเรียนรทู้ คี่ าดหวัง - ปรนยั 5 คะแนน - อัตนัย 5 คะแนน 3. หลังกลางภาค 40 คะแนน ผลการเรยี นรทู้ ีค่ าดหวงั - งานท่มี อบหมาย 20 คะแนน - ทดสอบระหว่างเรียน 20 คะแนน 4. สอบปลายภาค 20 คะแนน ผลการเรยี นร้ทู คี่ าดหวงั - ปรนัย 1๐ คะแนน - อัตนยั ๑๐ คะแนน *นักเรียนต้องทำตามเง่อื นไขทค่ี รูกำหนดใหม้ ิฉะน้ันจะใหผ้ ลการเรียน เปน็ ร กำหนดการวัดผล ภาคเรยี นที่ ๑ ตน้ เดอื นกรกฏาคม 256๕ 1. ทดสอบกอ่ นสอบกลางภาค ปลายเดือนกรกฏาคม 256๕ 2. ทดสอบกลางภาค ตน้ เดือนกันยายน 256๕ 3. ทดสอบหลังกลางภาค ปลายเดอื นกนั ยายน 256๕ 4. ทดสอบปลายภาค ขอ้ กำหนดอนื่ ๆ 1. นักเรียนต้องปฏิบัติตามงานท่ีได้รับมอบหมายจากครูผู้สอนท้ังในรูปแบบของการทำใบงาน แบบทดสอบ ชิน้ งานเด่ียว และการทำชน้ิ งานกลุม่ 2. นกั เรียนต้องมีความรบั ผดิ ชอบตอ่ ตนเองและชว่ ยเหลอื งานเพ่ือนในกลุม่ อยู่เสมอ 3. ในการตอบคำถามผ่านแบบทดสอบ หรือการทำแบบฝึกหัดทุกรูปแบบ นักเรียนจะต้องทำด้วย ตนเอง หา้ มลอกงานมาส่งอย่างเดด็ ขาดมฉิ ะน้ันนักเรียนจะไม่ได้คะแนนเดด็ ขาด 4. นกั เรยี นต้องเก็บใบงานทุกช้ินทท่ี ำเพ่ือรวบรวมเขา้ เล่มสง่ ในท้ายเทอม คุณ ลักษ ณ ะอันพึ งป ระสงค์ของผู้เรียน ๘ ข้อ ตามห ลักสูตรแกน กลางการศึกษ าขั้น พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ทีน่ กั เรียนควรทราบ ควรระลกึ และต้องหมน่ั ปฏิบัติอยเู่ สมอมีดงั น้ี

๑. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ตวั ช้วี ดั ๑.๑ เปน็ ผลเมืองทด่ี ีของชาติ ๑.๒ ธำรงไว้ซ่งึ ความเปน็ ไทย ๑.๓ ศรัทธา ยดึ มั่น และปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ศาสนา ๑.๔ เคารพเทิดทนู สถาบันพระมหากษตั รยิ ์ ๒. ซื่อสัตยส์ ุจริต ตวั ชว้ี ดั ๒.๑ ประพฤติตรงตามความเปน็ จรงิ ตอ่ คนเองท้งั กาย และวาจา ใจ ๒.๒ ประพฤตติ รงตามเปน็ จริงต่อผอู้ ่ืนทั้ง กาย วาจา ใจ ๓. มีวนิ ยั ตัวชี้วดั ๓.๑ ประพฤติตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบขอ้ บงั คบั ของครอบครวั โรงเรียน และสงั คม ๔. ใฝเ่ รียนรู้ ตวั ชีว้ ดั ๔.๑ ต้ังใจเพยี รพยายามในการเรียน และเข้าร่วมกิจกรรมการเรยี นรู้ ๔.๒ แสวงหาความรรู้ จู้ ากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ท้งั ภายในและภายนอกโรงเรยี นดว้ ยการ เลอื กใชส้ ่ืออย่างเหมาะสม สรุปเปน็ องค์ความรู้ และสามารถนำไปใชใ้ นชีวิตประจำวันได้ ๕. อยู่อยา่ งพอเพยี ง ตวั ช้ีวดั ๕.๑ ดำเนินชวี ิตอยา่ งพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม ๕.๒ มภี ูมิคุ้มกันในตวั ที่ดี ปรับตัวเพอื่ อยู่ในสังคมได้อยา่ งมีความสุข ๖. มงุ่ ม่นั ในการทำงาน ตัวชว้ี ัด ๖.๑ ตง้ั ใจและรับผิดชอบในหนา้ ท่ีการงาน ๖.๒ ทำงานด้วยเพียรพยายามและอดทนเพื่อใหส้ ำเร็จตามเปา้ หมาย ๗. รักความเป็นไทย ตวั ชี้วดั ๗.๑ ภาคภมู ิใจในขนบธรรมเนยี มประเพณี ศลิ ปะ วฒั นธรรมไทยและมีความกตัญญกู ตเวที ๗.๒ เหน็ คณุ คา่ และใช้ภาษาไทยในการส่ือสารได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม ๗.๓ อนุรักษ์และสบื ทอดภมู ิปญั ญาไทย ๘. มจี ติ สาธารณะ ตวั ชีว้ ัด ๘.๑ ชว่ ยเหลอื ผู้อ่ืนด้วยด้วยความเตม็ ใจโดยไมห่ วังผลตอบแทน ๘.๒ เข้าร่วมกิจกรรมท่เี ป็นประโยชนต์ ่อโรงเรยี น ชุมชน และสังคม

แบบประเมินการนำเสนอ ลำดั รายการประเมนิ คุณภาพการปฏบิ ตั ิ บท่ี 4321 1 นำเสนอเน้อื หาในผลงานได้ถูกต้อง 2 การนำเสนอมีความนา่ สนใจ 3 ความเหมาะสมกบั เวลา 4 ความกล้าแสดงออก 5 บคุ ลิกภาพ นำ้ เสยี งเหมาะสม รวม ลงชื่อ..............................................................................ผปู้ ระเมิน ......................./.........................../........................ เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 4 คะแนน การนำเสนอผลงานสมบรู ณ์ชัดเจน ให้ 3 คะแนน การนำเสนอผลงานยงั มีข้อบกพร่องเล็กน้อย ให้ 2 คะแนน การนำเสนอผลงานยังมีขอ้ บกพร่องเปน็ สว่ นใหญ่ ให้ 1 คะแนน การนำเสนอผลงานมีขอ้ บกพรอ่ งมาก เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ระดับคุณภาพ ดีมาก ชว่ งคะแนน ดี 18-20 พอใช้ 14-17 ปรับปรุง 10-13 ต่ำกว่า 10

แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ลำดบั ชอ่ื – สกลุ ความร่วมมือ การแสดง การรบั ฟงั การตั้งใจ การร่วม รวม ท่ี ของผู้รบั 4321 ความคดิ เหน็ ความคิดเห็น ทำงาน ปรับปรุง 20 การประเมนิ ผลงานกล่มุ คะแนน 4321 4321 4321 4321 เกณฑ์การให้คะแนน = ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมนิ ดีมาก = 4 ............../.................../................ ดี = 3 พอใช้ = 2 ปรบั ปรุง 1 เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั หมายเหตุ ครอู าจใช้วิธีการมอบหมายใหห้ ัวหน้า คุณภาพ กลุม่ เป็นผปู้ ระเมนิ หรือใหต้ ัวแทนกลุ่มผลดั กัน 14-16 ดมี าก ประเมนิ หรอื ใหม้ กี ารประเมนิ โดยเพอ่ื น โดยตวั นกั เรียน 11-13 8-10 ดี เอง ตามความเหมาะสมกไ็ ด้ ตำ่ กวา่ 8 พอใช้ ปรับปรงุ

8. โครงสรา้ งเวลาเรยี น รายวิชาพนื้ ฐาน ประวตั ิศาสตร์ ม. 2 เวลาเรียน 40 ชวั่ โมง หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ช่วั โมงท่ี หมายเหตุ หน่วยท่ี 1 หลักฐานทาง แผนปฐมนเิ ทศ ชว่ั โมงท่ี 1 ปฐมนเิ ทศและข้อตกลงในการ ประวตั ิศาสตร์ เรียน (3 แผน) แผนท่ี 1 ประเภทของหลักฐาน ชว่ั โมงที่ 2 ประเภทของหลักฐานและ และหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ (1 ชวั่ โมง) 1. ประเภทของหลกั ฐาน 2. หลักฐานทางประวัตศิ าสตร์สมัยอยุธยา แผนที่ 2 การตรวจสอบและ และสมยั ธนบรุ ี ประเมนิ หลักฐาน ชว่ั โมงที่ 3 การตรวจสอบและประเมนิ (1ชั่วโมง) หลกั ฐาน แผนท่ี 3 การตคี วามหลักฐาน 3. การตรวจสอบและประเมนิ หลกั ฐาน (2 ชวั่ โมง) ชั่วโมงที่ 4–5 การตคี วามหลักฐาน 4. การตคี วามหลกั ฐาน หน่วยที่ 2 การสถาปนา แผนท่ี 4 การสถาปนาอาณาจักร ช่วั โมงที่ 6 การสถาปนาอาณาจักรอยุธยา อาณาจกั รอยุธยาและ อยุธยา 1. การสถาปนาอาณาจักรอยธุ ยา การเมือง (1 ช่ัวโมง) การปกครองสมยั อยธุ ยา แผนที่ 5 การเมืองการปกครอง ชั่วโมงท่ี 7-8 การเมืองการปกครองสมยั (3 แผน) สมัยอยุธยา อยธุ ยา (2 ชว่ั โมง) 2. การเมอื งการปกครองสมยั อยุธยาตอนตน้ หนว่ ยท่ี 3 สังคมและ 3. การเมืองการปกครองสมยั อยุธยา เศรษฐกิจสมยั อยุธยา แผนท่ี 6 ความเส่ือมของ ตอนกลาง (4 แผน) อาณาจกั รอยธุ ยา 4. การเมืองการปกครองสมยั อยธุ ยาตอน (1 ชั่วโมง) ปลาย แผนที่ 7 สภาพสงั คมและการ ชว่ั โมงที่ 9 ความเส่อื มของอาณาจักรอยุธยา เล่อื นฐานะทางสังคม (1 ช่ัวโมง) 5. ความเสอ่ื มของอาณาจักรอยธุ ยา ชั่วโมงที่ 10 สภาพสงั คมและการเลื่อนฐานะ ทางสงั คม 1. สภาพสังคมโดยทั่วไปและการจัด

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ชว่ั โมงท่ี หมายเหตุ ระเบยี บทางสงั คม แผนที่ 8 พระพุทธศาสนาและ การศึกษาในสังคมอยธุ ยา 2. องค์ประกอบของสงั คมอยธุ ยาและ (1 ชว่ั โมง) การเลือ่ นฐานะทางสังคม ชั่วโมงท่ี 11 พระพทุ ธศาสนาและการศกึ ษา ในสังคมอยุธยา 3. พระพุทธศาสนาและการศกึ ษาใน สังคมอยุธยา แผนท่ี 9 ลักษณะทว่ั ไปทาง ชัว่ โมงท่ี 12 ลกั ษณะทั่วไปทางเศรษฐกจิ และ เศรษฐกิจและระบบเงนิ ตรา ระบบเงินตรา (1 ช่ัวโมง) 4. ลกั ษณะทั่วไปทางเศรษฐกิจและ เงินตรา แผนท่ี 10 รายได้และรายจ่ายของ ช่วั โมงที่ 13 รายไดแ้ ละรายจา่ ยของ อาณาจักรอยธุ ยา อาณาจักรอยธุ ยา (1 ชั่วโมง) 5. รายได้และรายจ่ายของอาณาจกั ร อยธุ ยา หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 4 แผนที่ 11 นโยบายต่างประเทศ ชว่ั โมงท่ี 14 นโยบายตา่ งประเทศและรัฐทีม่ ี ความสัมพันธร์ ะหวา่ ง ประเทศสมัยอยธุ ยา (4 และรัฐทม่ี คี วามสัมพนั ธก์ บั อยุธยา ความสัมพันธ์กับอยุธยา แผน) (1 ชั่วโมง) 1. นโยบายตา่ งประเทศและรัฐท่ีมี ความสมั พันธก์ ับอยุธยา แผนท่ี 12 ความสัมพนั ธ์ระหว่าง ชั่วโมงท่ี 15 ความสมั พันธ์ระหวา่ งอยุธยากบั อยธุ ยากบั รัฐเพอ่ื นบ้าน รัฐเพือ่ นบ้าน (1 ช่ัวโมง) 2. ความสัมพันธร์ ะหวา่ งอยุธยากับรัฐเพอ่ื น บ้าน แผนที่ 13 ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง ชั่วโมงท่ี 16-17 ความสัมพนั ธร์ ะหว่าง อยุธยากับรฐั ในเอเชยี ตะวันออก อยธุ ยากบั รฐั ในเอเชียตะวนั ออก (2 ชว่ั โมง) 3. ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งอยุธยากบั รฐั ใน

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ชวั่ โมงท่ี หมายเหตุ เอเชียตะวันออก แผนท่ี 14 ชว่ั โมงท่ี 18-19 ความสัมพนั ธ์ระหว่าง ปรบั เปลย่ี นชว่ั โมง ความสมั พนั ธร์ ะหว่างอยธุ ยากบั อยธุ ยากบั ชาตติ ะวนั ตก ทดสอบตามความ ชาติตะวนั ตก เหมาะสม (2 ชว่ั โมง) 4. ความสัมพนั ธร์ ะหว่างอยธุ ยากับ หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 5 ชาติตะวนั ตก พฒั นาการของอาณาจักร แผนท่ี 15 การกอบกเู้ อกราชและ ธนบรุ (ี 4 แผน) การสถาปนาอาณาจักรธนบรุ ี ชั่วโมงท่ี 20 การทดสอบกลางปี (1 ชัว่ โมง) หน่วยการเรยี นรู้ที่ 6 ภูมิ ช่ัวโมงท่ี 21 การกอบกู้เอกราชและการ ปญั ญาและศลิ ปวัฒนธรรม แผนที่ 16 การเมอื งการปกครอง สถาปนาอาณาจักรธนบุรี สมยั ธนบุรี (1 ชั่วโมง) 1. การกู้เอกราชและการสถาปนา แผนที่ 17 สังคมและเศรษฐกจิ อาณาจกั รธนบุรี สมัยธนบรุ ี (1 ชั่วโมง) 2. การปราบชมุ นุมต่าง ๆ แผนท่ี 18 ความสัมพนั ธ์ระหว่าง ชว่ั โมงท่ี 22 การเมอื งการปกครองสมยั ธนบรุ ี ประเทศ สมัยธนบุรี (1 ช่ัวโมง) 3. การเมืองการปกครองสมัยธนบรุ ี แผนที่ 19 ภมู ปิ ัญญาสมยั อยธุ ยา ชั่วโมงที่ 23 สงั คมและเศรษฐกิจสมยั ธนบรุ ี และธนบุรี 4. สงั คมและเศรษฐกจิ สมยั ธนบุรี (1 ชวั่ โมง) ช่ัวโมงท่ี 24 ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเทศ สมยั ธนบรุ ี 5. ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเทศสมยั ธนบรุ ี ช่ัวโมงที่ 25 ภูมปิ ัญญาสมยั อยุธยาและธนบรุ ี 1. ภมู ปิ ัญญาสมยั อยธุ ยาและธนบุรี

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ชว่ั โมงท่ี หมายเหตุ ไทย สมัยอยุธยาและ แผนท่ี 20 ศิลปวฒั นธรรมไทย ชั่วโมงท่ี 26 ศลิ ปวัฒนธรรมไทยสมัยอยธุ ยา ธนบรุ ี สมัยอยุธยาและธนบุรี และธนบรุ ี (2 แผน) (2 ชวั่ โมง) 2. ศิลปวฒั นธรรมไทยสมัยอยธุ ยาและ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 7 แผนที่ 21 บุคคลสำคัญสมัย ธนบุรี บุคคลสำคญั สมัยอยุธยา อยธุ ยา และธนบรุ ี (2 ชว่ั โมง) 2.1 ศลิ ปกรรม (2 แผน) แผนท่ี 22 บุคคลสำคญั สมยั ชว่ั โมงท่ี 27 ศิลปวัฒนธรรมไทยสมยั อยุธยา ธนบรุ ี และธนบุรี (ต่อ) หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 8 (1 ช่ัวโมง) พฒั นาการของภูมภิ าคตา่ ง แผนท่ี 23 เอเชยี ตะวนั ออกและ 2.2 ดนตรแี ละนาฏศิลป์ ๆ ในเอเชยี เอเชยี ใต้ 2.3 วรรณกรรม (2 แผน) (1 ชัว่ โมง) 2.4 ประเพณี แผนที่ 24 เอเชียตะวนั ตกเฉยี งใต้ ชวั่ โมงที่ 28-29 บุคคลสำคัญสมยั อยุธยา หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 9 และเอเชยี กลาง บุคคลสำคัญสมัยอยธุ ยา แหล่งอารยธรรมโบราณใน (1 ชวั่ โมง) เอเชยี ชว่ั โมงที่ 30 บุคคลสำคญั สมยั ธนบรุ ี (3 แผน) แผนที่ 25 อารยธรรมจนี 2. บคุ คลสำคญั สมัยธนบรุ ี (2 ชั่วโมง) แผนที่ 26 อารยธรรมอนิ เดยี ชั่วโมงท่ี 31 เอเชยี ตะวนั ออกและเอเชียใต้ (2 ชวั่ โมง) 1. เอเชยี ตะวันออก แผนที่ 27 แหลง่ มรดกโลกใน 2. เอเชียใต้ ประเทศตา่ ง ๆ ในภูมภิ าคเอเชยี ชั่วโมงท่ี 32 เอเชียตะวนั ตกเฉยี งใตแ้ ละ เอเชยี กลาง 3. เอเชียตะวนั ตกเฉียงใต้ 4. เอเชียกลาง ชว่ั โมงท่ี 33-34 อารยธรรมจีน 1. อารยธรรมจีน ชว่ั โมงที่ 35-36 อารยธรรมอินเดยี 2. อารยธรรมอนิ เดีย ช่วั โมงท่ี 37-38 แหล่งมรดกโลกในประเทศ ต่าง ๆ ในภมู ิภาคเอเชีย

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ชั่วโมงท่ี หมายเหตุ (2 ชั่วโมง) 3. แหล่งมรดกโลกในประเทศต่าง ๆ ใน ภูมิภาคเอเชีย ช่ัวโมงที่ 39-40 การทดสอบปลายปี

สาระท่ี 4 ประวตั ิศาสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 2 ปฐมนิเทศและข้อตกลงในการเรยี น เวลา 1 ช่ัวโมง 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ส 4.1 เขา้ ใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยคุ สมยั ทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้ วธิ กี ารทางประวตั ิศาสตรม์ าวเิ คราะหเ์ หตุการณ์ต่าง ๆ อยา่ งเปน็ ระบบ มาตรฐาน ส 4.2 เขา้ ใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปจั จุบนั ในดา้ นความสมั พันธแ์ ละการ เปลยี่ นแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเน่ือง ตระหนักถึงความสำคญั และสามารถวเิ คราะห์ผลกระทบทเี่ กดิ ขึ้น มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชนชาตไิ ทย วัฒนธรรม ภมู ิปัญญาไทย มีความรกั ความภูมใิ จ และธำรงความเป็นไทย 2. ตวั ชวี้ ดั ช้นั ปี 1. ประเมนิ ความนา่ เชอ่ื ถอื ของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในลกั ษณะตา่ ง ๆ (ส 4.1 ม. 2/1) 2. วเิ คราะห์ความแตกต่างระหวา่ งความจรงิ กับขอ้ เท็จจรงิ ของเหตุการณ์ทางประวตั ิศาสตร์ (ส 4.1 ม. 2/2) 3. เหน็ ความสำคญั ของการตีความหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ทนี่ า่ เช่ือถือ (ส 4.1 ม. 2/3) 4. อธิบายพัฒนาการทางสังคม เศรษฐกจิ และการเมืองของภมู ิภาคเอเชยี (ส 4.2 ม. 2/1) 5. ระบคุ วามสำคัญของแหล่งอารยธรรมโบราณในภูมภิ าคเอเชยี (ส 4.2 ม. 2/2) 6. วเิ คราะห์พฒั นาการของอาณาจกั รอยธุ ยาและธนบุรีในดา้ นต่าง ๆ (ส 4.3 ม. 2/1) 7. วิเคราะห์ปัจจยั ทีส่ ง่ ผลต่อความมัน่ คงและความเจรญิ รงุ่ เรืองของอาณาจักรอยุธยา (ส 4.3 ม. 2/2) 8. ระบภุ ูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมยั อยธุ ยาและธนบรุ ี และอิทธิพลของภูมปิ ญั ญาดงั กล่าว ตอ่ การพฒั นาชาตไิ ทยในยุคต่อมา (ส 4.3 ม. 2/3) 3. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด การจัดการเรยี นรรู้ ายวิชาพ้นื ฐาน ประวัตศิ าสตร์ ม. 2 เป็นไปตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษา ขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 สำหรบั นักเรียนระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษา โดยไดก้ ำหนดมาตรฐานการเรียนรขู้ อง รายวชิ าพ้นื ฐาน ประวตั ิศาสตร์ ม. 2 เปน็ 3 มาตรฐาน และยังได้กำหนดตวั ชวี้ ดั ชน้ั ปที ีส่ อดคล้องกับมาตรฐาน การเรยี นรู้ เพื่อพฒั นานักเรยี นใหม้ คี ณุ ภาพตามมาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชว้ี ดั ทห่ี ลกั สตู รกำหนด 4. สาระการเรยี นรู้ 1. เทคนคิ และวธิ ีการจดั การเรียนรรู้ ายวชิ าพน้ื ฐาน ประวตั ิศาสตร์

2. แนวทางการวดั และประเมินผลการเรยี นรรู้ ายวิชาพืน้ ฐาน ประวัติศาสตร์ 3. ตารางวเิ คราะหม์ าตรฐานการเรียนรู้และตวั ชีว้ ัดชน้ั ปกี ับสาระในหนว่ ยการเรียนรู้ 4. คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน ประวัตศิ าสตร์ ม. 2 5. โครงสร้างรายวชิ าพ้นื ฐาน ประวตั ศิ าสตร์ ม. 2 6. โครงสร้างเวลาเรยี น รายวชิ าพ้นื ฐาน ประวตั ิศาสตร์ ม. 2 5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ 2. ซอื่ สตั ยส์ จุ รติ 3. มีวนิ ยั 4. ใฝเ่ รียนรู้ 5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง 6. มุ่งม่ันในการทำงาน 7. รกั ความเปน็ ไทย 8. มจี ติ สาธารณะ 7. ภาระงาน/ชน้ิ งาน ภาระงานรวบยอด – การตอบคำถามเกย่ี วกบั การจดั การเรยี นร้รู ายวชิ าพน้ื ฐาน ประวัตศิ าสตร์ – การอภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ เก่ียวกับการจดั การเรยี นรู้รายวชิ าพ้ืนฐาน ประวตั ิศาสตร์ 8. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) และค่านยิ ม (A)  ประเมินพฤติกรรมในการ 1. ซกั ถามความรู้เร่ือง  ประเมนิ พฤติกรรมในการ ทำงานเปน็ รายบุคคลหรือ ปฐมนิเทศและข้อตกลง ทำงานเป็นรายบุคคลในดา้ น

ในการเรียนรายวชิ าพน้ื ฐาน ความมวี ินัย ความใฝ่เรยี นรู้ เป็นกลุ่มในด้านการสื่อสาร การคิด การแก้ปญั หา ฯลฯ ประวตั ศิ าสตร์ ม. 2 ฯลฯ 2. ตรวจผลงาน/กจิ กรรม เปน็ รายบุคคลหรือเปน็ กล่มุ 9. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ชัว่ โมงท่ี 1 ข้ันท่ี 1 นำเขา้ สูบ่ ทเรยี น 1. ครสู ร้างบรรยากาศและสง่ิ แวดล้อมในการเรยี นรทู้ ่เี หมาะสมเพื่อกระต้นุ ให้นักเรยี นอยากเรยี นรู้ เช่น จัดน่ังเรยี นแบบรปู ตวั U น่ังเรียนเปน็ กลุม่ นำนักเรียนศกึ ษานอกห้องเรยี น เช่น หอ้ งประชมุ หอ้ งโสตทัศน ศึกษา สนามหญา้ ใต้รม่ ไม้ 2. ครแู นะนำตนเอง แล้วใหน้ กั เรยี นแนะนำตนเองตามลำดับตวั อักษร หรือตามลำดบั หมายเลข ประจำตวั หรือตามแถวทนี่ ่งั ตามความเหมาะสม 3. ครใู หค้ วามรู้ท่ัว ๆ ไปเก่ียวกับการจดั การเรยี นรู้รายวชิ าพื้นฐาน ประวตั ศิ าสตร์ พร้อมซักถาม นักเรยี นในประเดน็ ต่าง ๆ เช่น 1) ทำไมเราจึงตอ้ งเรียนวชิ าสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2) วิชาประวัติศาสตร์มีความสำคญั และจำเป็นต่อเราหรือไม่ เพราะอะไร 4. ครสู รุปความรู้แล้วเชือ่ มโยงไปสเู่ นื้อหาท่ีจะเรียน ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ 5. ครูศกึ ษาข้อมูลเร่ือง การจัดการเรยี นรรู้ ายวชิ าพน้ื ฐาน ประวัตศิ าสตร์ ม. 2 โดยใช้ข้อมลู จากหน้า สารบัญในหนงั สอื เรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ประวตั ิศาสตร์ ม. 2 ของบรษิ ัท สำนักพิมพว์ ฒั นาพานิช จำกดั จากนัน้ อธบิ ายเพือ่ ทำความเข้าใจกบั นกั เรยี นในเร่อื งต่อไปน้ี (โดยใช้ข้อมลู จากตอนที่ 1 ) 1) คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน ประวัติศาสตร์ ม. 2 2) โครงสรา้ งรายวชิ าพน้ื ฐาน ประวตั ศิ าสตร์ ม. 2 3) โครงสรา้ งเวลาเรยี น รายวชิ าพืน้ ฐาน ประวตั ศิ าสตร์ ม. 2 6. ครบู อกเทคนิคและวธิ กี ารจัดการเรยี นรรู้ ายวชิ าพนื้ ฐาน ประวัติศาสตร์ ม. 2 โดยสรุปวา่ มีเทคนคิ และวิธกี ารเรยี นรอู้ ะไรบา้ ง (โดยใช้ขอ้ มลู จากตอนท่ี 1) 7. ครูสนทนาและซกั ถามนักเรียนเพ่ือทำความเขา้ ใจถึงแนวทางการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ รายวิชาพืน้ ฐาน ประวัตศิ าสตร์ ม. 2 (โดยใช้ขอ้ มูลจากตอนท่ี 1) รวมทัง้ เกณฑต์ ดั สินผลการเรียนรู้ ในประเดน็ ต่าง ๆ เชน่ 1) รายวิชาพื้นฐาน ประวัติศาสตร์ ม. 2 มเี วลาเรยี นเท่าไร 2) รายวิชาน้ีจะสอบและเก็บคะแนนอยา่ งไร เทา่ ไร 3) รายวชิ าน้จี ะตดั สินผลการเรียนอย่างไร

8. ครแู นะนำการเรียนร้แู ละแหลง่ การเรียนรูท้ ี่จะใช้ประกอบการเรยี นรู้ รายวิชาพนื้ ฐาน ประวัติศาสตร์ ม. 2โดยใช้ข้อมลู จากหนา้ บรรณานุกรมในหนังสือเรยี น รายวิชาพน้ื ฐาน ประวัติศาสตร์ ม. 2 ของบริษัท สำนกั พมิ พ์วัฒนาพานิช จำกัด นอกจากน้ีครแู นะนำแหลง่ สบื ค้นความรูข้ ้อมลู เพ่ิมเติมเกีย่ วกับเรื่อง ต่าง ๆ ที่ไดร้ ะบุไว้ในแต่ละหน่วยการเรยี นรูใ้ นหนงั สอื เรียน รายวิชาพน้ื ฐาน ประวตั ิศาสตร์ ม. 2 ของบรษิ ทั สำนกั พมิ พ์วัฒนาพานชิ จำกัด เพ่อื ทำความเข้าใจถึงแหล่งสืบค้นความรแู้ ต่ละอย่าง 9. ครูสนทนาและซักถามนักเรยี นและร่วมกนั ทำข้อตกลงในการเรยี น รายวชิ าพน้ื ฐาน ประวัตศิ าสตร์ ม. 2 1) เวลาเรียน ต้องเข้าเรียนไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 80 ของเวลาเรยี นในรายวิชาน้ี หรือไมข่ าด เรียนเกนิ 3 ครง้ั กรณีปว่ ยต้องส่งใบลาโดยผ้ปู กครองลงช่ือรับรองการลา 2) ควรเขา้ หอ้ งเรยี นตรงเวลาและรักษามารยาทในการเรียน 3) เมื่อเรม่ิ เรียนแตล่ ะหน่วยการเรียนรู้จะมกี ารทดสอบกอ่ นเรยี น และหลงั จากเรยี นจบแต่ละ หนว่ ยการเรียนรแู้ ลว้ จะมกี ารทดสอบหลังเรียน 4) ในชวั่ โมงทม่ี กี ารฝกึ ปฏิบตั ิงาน ควรเตรียมวสั ดุ อปุ กรณ์ และเคร่ืองมือให้พร้อม โดยจัดหา ไว้ล่วงหนา้ 5) รับผิดชอบการเรียน การสร้างชิน้ งาน และการสง่ งานตามเวลาที่กำหนด 6) รกั ษาความสะอาดบริเวณทีป่ ฏบิ ัตกิ จิ กรรม วัสดุ อปุ กรณ์ และเคร่ืองมือให้พรอ้ ม โดย จัดหาไวล้ ่วงหนา้ ขน้ั ท่ี 3 ฝกึ ฝนผ้เู รียน 10. ครูให้นกั เรยี นร่วมกันอภิปรายแสดงความคดิ เห็นเกยี่ วกับแหลง่ การเรยี นรู้และแหล่งสบื คน้ ความรู้ อน่ื ๆ ทจ่ี ะนำมาใชใ้ นการจดั การเรียนรู้ รายวิชาพนื้ ฐาน ประวัตศิ าสตร์ ม. 2 จากน้ันครูและนักเรยี นร่วมกัน สรปุ และบนั ทึกผล ขนั้ ท่ี 4 นำไปใช้ 11. ครูใหน้ ักเรียนพจิ ารณาวา่ จากหวั ข้อท่ีเรียนมาและการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมมเี รื่องอะไรบ้างท่ียงั ไม่เข้าใจ หรอื มีข้อสงสัย ถ้ามีครชู ว่ ยอธบิ ายเพิ่มเติมใหน้ กั เรียนเข้าใจ 12. ครูให้นักเรยี นร่วมกนั ประเมนิ การปฏิบตั ิกิจกรรมว่ามีปัญหาหรือปอุปสรรคใด และได้แก้ไขอยา่ งไร บา้ ง 13. ครูใหน้ ักเรียนรว่ มกันแสดงความคดิ เห็นเกีย่ วกับประโยชนท์ ่ไี ด้รับจากการเรียนหัวข้อน้ีและการ ปฏิบัตกิ จิ กรรม 14. ครูให้นกั เรยี นนำประโยชน์จากการเรียนร้เู ร่ือง ปฐมนิเทศและขอ้ ตกลงในการเรียนรายวิชา พ้นื ฐาน ประวัติศาสตร์ ม. 2 ไปประพฤติปฏิบตั ิให้ถกู ตอ้ งเหมาะสมและสอดคลอ้ งกับการจัดการเรียนรู้ ข้นั ที่ 5 สรปุ

15. ครูและนักเรียนรว่ มกนั สรุปความรู้เรือ่ ง ปฐมนิเทศและข้อตกลงในการเรยี นรายวชิ าพื้นฐาน ประวัติศาสตร์ ม. 2 โดยให้นักเรียนบนั ทกึ ข้อสรุปลงในแบบบนั ทึกความรู้ หรือสรปุ เป็นแผนทีค่ วามคดิ หรือผัง มโนทัศน์ลงในสมุด พร้อมทั้งตกแต่งใหส้ วยงาม 16. ครูมอบหมายให้นักเรยี นอ่านเน้ือหาเก่ยี วกบั ประเภทของหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์และ หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรส์ มัยอยุธยาและสมยั ธนบรุ ี เป็นการบ้านเพ่ือเตรยี มจดั การเรียนรใู้ นคร้งั ต่อไป 10. สอ่ื การเรยี นร/ู้ แหล่งการเรยี นรู้ 1. หนังสอื เรยี น รายวิชาพื้นฐาน ประวตั ศิ าสตร์ ม. 2 บรษิ ทั สำนักพมิ พ์วฒั นาพานชิ จำกดั 2. คู่มือการสอน ประวัตศิ าสตร์ ม. 2 บรษิ ัท สำนักพมิ พ์วัฒนาพานชิ จำกัด 3. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน ประวัติศาสตร์ ม. 2 บริษัท สำนกั พมิ พ์วฒั นาพานชิ จำกดั 11. บันทกึ หลงั การจัดการเรียนรู้ 1. ความสำเรจ็ ในการจดั การเรียนรู้ แนวทางการพฒั นา 2. ปญั หา/อปุ สรรคในการจดั การเรียนรู้ แนวทางแกไ้ ข 3. สงิ่ ทไ่ี ม่ได้ปฏิบัตติ ามแผน เหตผุ ล 4. การปรบั ปรงุ แผนการจดั การเรยี นรู้ ลงชอ่ื ผ้สู อน / /

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 หลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ เวลา 4 ชวั่ โมง ผังมโนทัศนเ์ ป้าหมายการเรียนรแู้ ละขอบขา่ ยภาระ/ชิน้ งาน ความรู้ 1. ประเภทของหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ 2. หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์สมัยอยุธยาและสมัยธนบุรี 3. การตรวจสอบและประเมนิ หลักฐาน 4. การตีความหลักฐาน ทกั ษะ/กระบวนการ หลักฐานทาง คุณธรรม จรยิ ธรรม ประวตั ิศาสตร์ และคา่ นิยม 1. การส่ือสาร 2. การคิด 1. มวี นิ ัย 3. การแกป้ ัญหา 2. ใฝ่เรียนรู้ 4. การใช้เทคโนโลยี 3. รับผิดชอบ 5. กระบวนการกลมุ่ 4. รกั ความเป็นไทย 5. มุง่ มั่นในการทำงาน ภาระงาน/ชิน้ งาน 1. ทำแบบทดสอบ 2. การวเิ คราะห์และอภิปรายแสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกับประเภทของหลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ 3. การสืบค้นข้อมลู และอภปิ รายเก่ียวกับการตรวจสอบประเมนิ หลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ 4. การระดมสมองอภิปรายเรือ่ ง การตีความหลกั ฐาน 5. การนำเสนอผลงาน

ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 1 หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ ขน้ั ที่ 1 ผลลพั ธ์ปลายทางที่ต้องการใหเ้ กดิ ข้นึ กับนักเรยี น ตวั ชี้วดั ชัน้ ปี 1. ประเมินความนา่ เชอื่ ถือของหลกั ฐานทางประวัติศาสตรใ์ นลักษณะตา่ ง ๆ (ส 4.1 ม. 2/1) 2. วิเคราะห์ความแตกตา่ งระหว่างความจรงิ กับขอ้ เท็จจรงิ ของเหตุการณ์ทางประวตั ิศาสตร์ (ส 4.1 ม. 2/2) 3. เห็นความสำคัญของการตีความหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ (ส 4.1 ม. 2/3) ความเข้าใจท่คี งทนของนักเรียน คำถามสำคัญที่ทำใหเ้ กดิ ความเข้าใจท่ีคงทน นักเรียนจะเข้าใจวา่ ...หลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ หลกั ฐานทางประวัติศาสตรม์ ีความสำคัญ เปน็ เคร่ืองมอื ทช่ี ว่ ยในการอธิบายเหตุการณ์ใน ต่อการศึกษาประวตั ิศาสตร์อย่างไร ประวัตศิ าสตร์ ความรูข้ องนักเรยี นท่ีนำไปสูค่ วามเข้าใจที่คงทน ทกั ษะ/ความสามารถของนักเรยี นท่นี ำไปสู่ นกั เรยี นจะรูว้ ่า... ความเขา้ ใจที่คงทน นกั เรียนจะสามารถ... 1. คำสำคญั ไดแ้ ก่ จดหมายเหตุ 1. อธบิ ายประเภทของหลักฐานทาง 2. หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์แบ่งตามลกั ษณะ ประวัติศาสตร์ ของหลักฐานมี 2 ประเภท ได้แก่ หลกั ฐานทไี่ ม่ 2. อธิบายและตรวจสอบและประเมินหลักฐาน เป็นลายลกั ษณ์อกั ษรและหลักฐานท่เี ปน็ ลาย ทางประวตั ศิ าสตร์ ลักษณ์อกั ษร แบ่งตามความสำคัญมี 2 ประเภท 3. อธบิ ายและวิเคราะหก์ ารตีความหลักฐานทาง ได้แก่ หลกั ฐานชัน้ ตน้ และหลักฐานชน้ั รอง ประวัตศิ าสตร์ 3. หลักฐานทางประวตั ิศาสตร์สมยั อยธุ ยาที่ สำคัญ ได้แก่ พระราชพงศาวดาร จดหมายเหตุ โหร จดหมายเหตชุ าวต่างชาติ วรรณกรรม หลักฐานทางโบราณคดีและศิลปกรรม สว่ น หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรส์ มัยธนบรุ ที ส่ี ำคญั ได้แก่ พระราชพงศาวดาร เอกสารชาวต่างชาติ และบันทึกจากเรื่องบอกเลา่ 4. การตรวจสอบและประเมินหลักฐานแบ่งเป็น 2 ลกั ษณะ คอื การประเมนิ ภายนอกและการ ประเมนิ ภายใน การตรวจสอบและประเมนิ หลักฐานจะทำให้เกิดความน่าเชือ่ ถือและ สามารถเลือกข้อมลู ทีเ่ ชื่อถือได้ไปใชป้ ระโยชน์ ต่อไป

5. การตคี วามหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ต้องทำ ด้วยใจเป็นกลาง ไมเ่ กินหลกั ฐานทีม่ ีอยู่ และ ไมเ่ อาปจั จบุ ันไปตัดสินอนาคต ขอ้ มลู ท่ีได้จาก การตคี วามมที ้ังส่วนทเี่ ป็นความจรงิ ข้อเทจ็ จรงิ และความคดิ เหน็ ขนั้ ท่ี 2 ภาระงานและการประเมนิ ผลการเรยี นรซู้ ่ึงเปน็ หลักฐานทแี่ สดงว่านักเรยี นมผี ลการเรยี นรู้ ตามทีก่ ำหนดไว้อย่างแท้จริง 1. ภาระงานทน่ี ักเรียนต้องปฏบิ ัติ 1.1 วิเคราะหแ์ ละอภิปรายแสดงความคดิ เหน็ เกี่ยวกับประเภทของหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ 1.2 สบื คน้ ขอ้ มลู และอภิปรายเก่ยี วกบั การตรวจสอบประเมนิ หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ 1.3 ระดมสมองอภิปรายเร่ือง การตีความหลกั ฐาน 2. วิธีการและเคร่อื งมือประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 2.1 วิธีการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 2.2 เครื่องมอื ประเมนิ ผลการเรียนรู้ 1) การทดสอบ 1) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรยี น 2) การประเมินผลงาน/กิจกรรม 2) แบบประเมนิ ผลงาน/กิจกรรม เปน็ รายบุคคลหรือเป็นกลมุ่ เป็นรายบุคคลหรือเป็นกลมุ่ 3) การประเมนิ ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม 3) แบบประเมนิ ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ ม และค่านยิ ม 4) การประเมนิ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ 4) แบบประเมนิ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ 3. สิ่งที่ม่งุ ประเมิน 3.1 ความเข้าใจ 6 ดา้ น ได้แก่ การอธบิ าย ช้ีแจง การแปลความและตีความ การประยกุ ต์ ดดั แปลง และนำไปใช้ การมีมุมมองท่หี ลากหลาย การใหค้ วามสำคัญใส่ใจในความรสู้ กึ ของผูอ้ ่ืน และ การรู้จักตนเอง 3.2 ทักษะ/กระบวนการ เชน่ การสื่อสาร การใช้เทคโนโลยี การคิด การแก้ปญั หา กระบวนการ กลมุ่ 3.3 คณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยม เชน่ มวี ินัย ใฝเ่ รยี นรู้ อยูอ่ ย่างพอเพยี ง รักความเป็นไทย รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ มีจติ สาธารณะ ซ่ือสัตย์สุจริต มคี วามรับผดิ ชอบ ขั้นท่ี 3 แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1 ประเภทของหลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ เวลา 1 ชั่วโมง แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 2 การตรวจสอบและประเมินหลกั ฐาน เวลา 1ช่วั โมง แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 3 การตีความหลักฐาน เวลา 2 ชว่ั โมง

สาระที่ 4 ประวัตศิ าสตร์สมัยกรงุ ศรอี ยธุ ยา ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 2 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ เวลา 1 ช่วั โมง 1. สาระสำคญั หลักฐานทางประวัติศาสตรแ์ บ่งตามลกั ษณะของหลักฐานมี 2 ประเภท ได้แก่ หลกั ฐานท่ีไม่เป็นลาย ลกั ษณ์อกั ษรและหลักฐานที่เปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษร แบ่งตามความสำคญั มี 2 ประเภท ได้แก่ หลักฐานชน้ั ต้น และหลกั ฐานชั้นรอง หลักฐานทางประวตั ิศาสตรส์ มยั อยุธยาทสี่ ำคัญ ได้แก่ พระราชพงศาวดาร จดหมายเหตุโหร จดหมาย เหตชุ าวต่างชาติ วรรณกรรม หลักฐานทางโบราณคดีและศิลปกรรม สว่ นหลักฐานทางประวัติศาสตร์สมัยธนบรุ ี ที่สำคัญ ได้แก่ พระราชพงศาวดาร เอกสารชาวต่างชาติ และบนั ทกึ จากเร่ืองบอกเลา่ 2. ตวั ชวี้ ัดช้นั ปี 1. ประเมนิ ความนา่ เชือ่ ถือของหลกั ฐานทางประวัติศาสตรใ์ นลกั ษณะต่าง ๆ (ส 4.1 ม. 2/1) 2. เหน็ ความสำคัญของการตีความหลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ (ส 4.1 ม. 2/3) 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์และหลักฐานทางประวัติศาสตร์สมัยอยธุ ยาและ สมยั ธนบุรไี ด้ (K) 2. สนใจใฝ่รเู้ รอื่ ง ประเภทของหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรส์ มัยอยธุ ยาและ สมัยธนบรุ ี (A) 3. ใช้วิธีการทางประวตั ิศาสตร์วเิ คราะหเ์ รื่อง ประเภทของหลกั ฐานทางประวัติศาสตรห์ ลกั ฐานทาง ประวตั ศิ าสตรส์ มยั อยุธยาและสมยั ธนบุรีได้ (P) 4. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) และค่านยิ ม (A) 1. ทดสอบกอ่ นเรียน • ประเมนิ พฤติกรรมในการ • ประเมินพฤตกิ รรมในการ 2. ซักถามความรูเ้ รื่อง ประเภท ทำงานเปน็ รายบุคคลในด้าน ทำงานเป็นรายบุคคลและ ของหลกั ฐานและหลกั ฐานทาง ความมีวนิ ยั ความใฝเ่ รยี นรู้ เป็นกลุ่มในด้านการสื่อสาร ประวัติศาสตร์สมยั อยธุ ยาและ ฯลฯ การคดิ การแก้ปัญหา ฯลฯ สมัยธนบรุ ี 3. ตรวจผลงาน/กจิ กรรม เปน็ รายบคุ คลหรอื เปน็ กลุ่ม

5. สาระการเรียนรู้ 1. ประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ 2. หลักฐานทางประวัติศาสตร์สมยั อยุธยาและสมยั ธนบรุ ี 2. 1 หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์สมยั อยธุ ยา 2. 2 หลักฐานทางประวตั ศิ าสตรส์ มัยธนบรุ ี 6. แนวทางบรู ณาการ ภาษาไทย ฟัง พูด อ่าน และเขียนข้อมลู เกีย่ วกบั ประเภทของหลกั ฐานทาง ประวัตศิ าสตร์ และหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรส์ มัยอยธุ ยาและสมัยธนบุรี การงานอาชีพฯ สืบค้นข้อมูลเกยี่ วกบั ประเภทของหลกั ฐานและหลักฐานทางประวัติศาสตร์ สมยั อยธุ ยาและสมัยธนบรุ ีจากแหลง่ เรยี นรตู้ า่ ง ๆ เช่น อนิ เทอรเ์ น็ต ศลิ ปะ ทำสมดุ ภาพเกย่ี วกบั ประเภทของหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรแ์ ละหลักฐาน ทางประวตั ศิ าสตรส์ มัยอยธุ ยาและสมยั ธนบุรี 7. กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ชวั่ โมงที่ 2 ขน้ั ที่ 1 นำเขา้ สู่บทเรียน 1. ครูแจง้ ตวั ชีว้ ัดชัน้ ปีและจุดประสงคก์ ารเรยี นรใู้ ห้นกั เรียนทราบ 2. ครูใหน้ กั เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน 3. ครูใหน้ กั เรียนช่วยกันบอกหลกั ฐานทางประวัติศาสตรท์ ี่นกั เรยี นรจู้ ัก โดยครูเขียนช่ือหลกั ฐานทาง ประวัติศาสตรท์ น่ี ักเรียนบอกบนกระดานดำ 4. ครูอธิบายประเด็นการศกึ ษาเรือ่ ง ประเภทของหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ ให้นกั เรยี นฟัง แล้วใหน้ กั เรยี น ซกั ถามข้อสงสยั หรือท่ีไม่เข้าใจ จากน้ันครสู รปุ เพื่อเช่อื มโยงไปสเู่ นื้อหาทีจ่ ะเรียน ขน้ั ที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ 5. ครสู นทนากับนักเรยี นเกยี่ วกบั ประเภทของหลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ 6. ครูใหน้ กั เรียนแบง่ กลุ่ม กลุ่มละ 4–6 คน แตล่ ะกล่มุ ร่วมกันวเิ คราะหแ์ ละอภปิ รายแสดงความ คิดเหน็ ในประเดน็ ตา่ ง ๆ เกี่ยวกบั ประเภทของหลกั ฐานทางประวัติศาสตร์และหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์สมัย อยธุ ยาและสมัยธนบรุ ี 1) ประเภทของหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์มีความสำคัญต่อการศึกษาประวัตศิ าสตร์อย่างไร 2) เพราะเหตใุ ดจึงต้องแบง่ ประเภทของหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ 3) งานวจิ ัยทางประวัตศิ าสตรจ์ ดั เป็นหลกั ฐานประเภทใด เพราะเหตุใด

4) หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตรส์ มยั อยธุ ยามคี วามสำคญั อย่างไร 5) หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตรส์ มัยธนบรุ ที ส่ี ำคัญมีอะไรบา้ ง 7. ครใู หแ้ ตล่ ะกลมุ่ รว่ มกันสรุป บนั ทกึ ผล แล้วนำเสนอผลงานในรปู แบบตา่ ง ๆ ที่น่าสนใจ เช่น บรรยาย จดั ป้ายนเิ ทศ จากน้ันครแู ละนักเรียนรว่ มกนั สรุป 8. ในขณะนักเรียนปฏบิ ตั กิ ิจกรรม ให้ครูสังเกตพฤตกิ รรมในการทำงานและการนำเสนอผลงานของ นักเรียนตามแบบประเมนิ พฤตกิ รรมในการทำงานเป็นรายบุคคลหรือเปน็ กลุ่ม ขน้ั ที่ 3 ฝกึ ฝนผ้เู รียน 9. ครใู ห้นักเรียนทำกจิ กรรมท่ีเกีย่ วกับประเภทของหลกั ฐานทางประวัติศาสตรแ์ ละหลักฐานทาง ประวัตศิ าสตรส์ มยั อยุธยาและสมัยธนบุรีในแบบฝึกทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ประวัตศิ าสตร์ ม. 2 ของบรษิ ทั สำนักพมิ พว์ ัฒนาพานชิ จำกัด แลว้ ชว่ ยกันเฉลยคำตอบท่ีถูกตอ้ ง 10. ครใู ห้นกั เรียนทำสมดุ ภาพเก่ียวกับประเภทของหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตรแ์ ละหลกั ฐานทาง ประวัตศิ าสตร์สมัยอยุธยาและสมัยธนบุรีแลว้ ตกแต่งให้สวยงาม ขั้นท่ี 4 นำไปใช้ 11. ครูแนะนำให้นักเรยี นจัดปา้ ยนิเทศเพื่อเผยแพรค่ วามร้เู ร่ือง ประเภทของหลกั ฐานทาง ประวัตศิ าสตรแ์ ละหลักฐานทางประวตั ศิ าสตรส์ มัยอยธุ ยาและสมัยธนบรุ ี 12. ครใู หน้ กั เรียนช่วยกันหาหลกั ฐานทางประวัติศาสตรท์ ่ีสำคัญของประเทศสมาชิกอาเซียนแต่ละ ประเทศ แล้วนำมาจดั ป้ายนิเทศ ขัน้ ท่ี 5 สรปุ 13. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั สรุปความรู้เรือ่ ง ประเภทของหลักฐานทางประวตั ศิ าสตรแ์ ละหลักฐาน ทางประวตั ิศาสตรส์ มัยอยธุ ยาและสมัยธนบุรี โดยให้นักเรยี นสรปุ เปน็ แผนทค่ี วามคดิ แลว้ ตกแต่งให้สวยงาม 14. ครมู อบหมายใหน้ ักเรยี นอา่ นเน้ือหาเก่ยี วกบั การตรวจสอบและประเมินหลกั ฐาน เป็นการบา้ น เพือ่ เตรยี มจดั การเรยี นรู้ในครั้งต่อไป 8. กจิ กรรมเสนอแนะ ครูใหน้ ักเรียนแบ่งกลมุ่ กลมุ่ ละ 4–6 คน แตล่ ะกลุ่มศึกษาค้นคว้าเพ่ิมเตมิ เร่ือง ประเภทของหลกั ฐานทางและ หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์สมยั อยธุ ยาและสมัยธนบรุ ี แลว้ นำขอ้ มลู มาจดั ทำเป็นรายงานส่งครู 9. สือ่ /แหลง่ การเรียนรู้ 1. แบบทดสอบก่อนเรียน 2. แบบประเมินพฤตกิ รรมในการทำงานเปน็ รายบุคคลหรือเป็นกลมุ่ 3. หนงั สือเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน ประวัติศาสตร์ ม. 2 บริษัท สำนกั พิมพว์ ฒั นาพานชิ จำกัด 4. แบบฝึกทกั ษะ รายวชิ าพ้นื ฐาน ประวตั ิศาสตร์ ม. 2 บรษิ ทั สำนกั พมิ พ์วฒั นาพานชิ จำกัด 5. คูม่ ือการสอน ประวตั ศิ าสตร์ ม. 2 บรษิ ทั สำนกั พิมพ์วฒั นาพานชิ จำกดั

6. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint รายวชิ าพ้นื ฐาน ประวตั ิศาสตร์ ม. 2 บริษัท สำนักพิมพ์วฒั นาพานิช จำกัด 10. บันทึกหลังการจดั การเรียนรู้ 1. ความสำเรจ็ ในการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการพัฒนา 2. ปญั หา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้ แนวทางแก้ไข 3. ส่งิ ทไี่ ม่ได้ปฏบิ ัตติ ามแผน เหตผุ ล 4. การปรบั ปรงุ แผนการจัดการเรยี นรู้ ลงชือ่ ผูส้ อน / /

สาระที่ 4 ประวตั ศิ าสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 2 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 หลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ เวลา 1 ช่วั โมง 1. สาระสำคญั การตรวจสอบและประเมินหลักฐานแบง่ เป็น 2 ลกั ษณะ คอื การประเมนิ ภายนอกและการประเมิน ภายใน การตรวจสอบและประเมินหลักฐานจะทำใหเ้ กดิ ความน่าเช่อื ถือและสามารถเลือกขอ้ มลู ท่เี ชอ่ื ถือได้ไป ใชป้ ระโยชน์ตอ่ ไป 2. ตัวชว้ี ัดช้ันปี ë ประเมนิ ความนา่ เช่ือถือของหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ในลกั ษณะตา่ ง ๆ (ส 4.1 ม. 2/1) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายและวิเคราะห์การตรวจสอบและประเมนิ หลักฐานได้ (K) 2. สนใจใฝร่ ู้เรือ่ ง การตรวจสอบและประเมินหลักฐาน (A) 3. อภิปรายเก่ยี วกับการตรวจสอบและประเมินหลกั ฐานได้ (P) 4. การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ ด้านความรู้ (K) ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) และค่านยิ ม (A) • ประเมินพฤตกิ รรมในการ 1. ซักถามความรู้เรื่อง • ประเมนิ พฤติกรรมในการ ทำงานเปน็ รายบคุ คลหรือ เป็นกล่มุ ในด้านการสื่อสาร การตรวจสอบและประเมนิ ทำงานเปน็ รายบุคคลในดา้ น การคิด การแกป้ ญั หา ฯลฯ หลกั ฐาน ความมวี นิ ยั ความใฝ่เรียนรู้ 2. ตรวจผลงาน/กิจกรรม ฯลฯ เปน็ รายบคุ คลหรอื เปน็ กลุ่ม 5. สาระการเรยี นรู้ ë การตรวจสอบและประเมินหลกั ฐาน 1. การประเมนิ ภายนอก 2. การประเมินภายใน 6. แนวทางบูรณาการ ภาษาไทย ฟัง พดู อา่ น และเขียนข้อมลู เกีย่ วกบั การตรวจสอบและประเมนิ หลักฐาน

การงานอาชพี ฯ สบื ค้นขอ้ มลู เก่ยี วกบั การตรวจสอบและประเมินหลักฐานจากแหลง่ การ เรยี นรู้ ตา่ ง ๆ เช่น อินเทอรเ์ น็ต 7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ชั่วโมงท่ี 3 ข้ันท่ี 1 นำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูสร้างบรรยากาศการเรยี นรใู้ หเ้ หมาะสม 2. ครูแจ้งตัวชว้ี ดั ช้ันปีและจุดประสงค์การเรียนรใู้ ห้นักเรียนทราบ 3. ครสู นทนาซักถามนักเรียนว่า การรวบรวมหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์จำเปน็ ต้องมีการตรวจสอบ หรือไม่ อยา่ งไร ให้นกั เรียนชว่ ยกันตอบ โดยใช้ความรู้จากเร่ืองที่ไดร้ ับมอบหมายไปอ่านมา ครอู ธบิ ายสรุปแล้ว เชอื่ มโยงไปสเู่ น้ือหาทจี่ ะเรียน ข้ันที่ 2 กจิ กรรมการเรยี นรู้ 4. ครูใหน้ ักเรยี นแบง่ กลมุ่ กลุ่มละ 4–6 คน แต่ละกลุ่มสบื ค้นข้อมูลเกยี่ วกบั การตรวจสอบและ ประเมินหลกั ฐาน จากแหล่งการเรยี นรู้ตา่ ง ๆ เชน่ อินเทอร์เนต็ 5. ครูให้นกั เรียนแต่ละกล่มุ นำขอ้ มลู ท่ไี ด้มารว่ มกนั อภิปรายในประเดน็ ต่อไปนี้ 1) เพราะเหตุใดจึงต้องมีการตรวจสอบและประเมนิ หลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ 2) วธิ กี ารประเมนิ ความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ทำได้อยา่ งไร 3) การประเมนิ ภายนอกมีประโยชนอ์ ยา่ งไร 4) การประเมินภายนอกแตกต่างจากการประเมนิ ภายในอย่างไร 5) วิธีการนำเสนอข้อมูลในหลกั ฐานอย่ใู นขัน้ ตอนใดของการตรวจสอบและประเมินหลักฐาน 6. ครใู ห้นกั เรียนเขียนสรปุ ความรู้ สรา้ งแนวคดิ ใหม่ และบอกประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั จากการอภิปราย 7. ครใู ห้นักเรียนแตล่ ะกล่มุ ออกมาเสนอผลงานหน้าชัน้ เรยี นพรอ้ มเปิดโอกาสให้นกั เรียนซักถามข้อ สงสัยตา่ ง ๆ จากนัน้ ครูและนักเรยี นรว่ มกันสรุปความรู้ 8. ครูใหน้ กั เรยี นแบง่ กลมุ่ กลุ่มละ 4–6 คน แตล่ ะกลมุ่ หาหลกั ฐานทางประวัติศาสตรข์ องประเทศ สมาชิกอาเซยี นท่สี นใจมา 4–5 ชนิ้ นำมาตรวจสอบและประเมินหลกั ฐาน บันทึกผลการตรวจสอบ แลว้ นำมา แลกเปลยี่ นเรยี นรู้กบั เพ่ือนกลุ่มอื่น ๆ 9. ในขณะปฏบิ ัตกิ จิ กรรมของนกั เรยี น ใหค้ รูสังเกตพฤติกรรมในการทำงานและการนำเสนอผลงาน ของนักเรียนตามแบบประเมนิ พฤติกรรมในการทำงานเป็นรายบคุ คลหรือเป็นกลมุ่ ขนั้ ที่ 3 ฝึกฝนผู้เรยี น 10. ครูให้นกั เรยี นทำกิจกรรมที่เก่ยี วกบั การตรวจสอบและประเมนิ หลักฐานในแบบฝึกทักษะ รายวิชา พน้ื ฐาน ประวตั ศิ าสตร์ ม. 2 ของบริษัท สำนกั พมิ พว์ ัฒนาพานชิ จำกัด แลว้ ชว่ ยกนั เฉลยคำตอบทถ่ี ูกต้อง 11. ครใู ห้นักเรียนทำปา้ ยนเิ ทศเกย่ี วกบั การตรวจสอบและประเมินหลักฐาน มาติดที่หน้าช้นั เรียน

ขน้ั ท่ี 4 นำไปใช้ 12. ครูใหน้ กั เรยี นทำแผ่นพับเกี่ยวกับการตรวจสอบและประเมนิ หลกั ฐาน เพ่ือเผยแพร่ความรู้ ขนั้ ที่ 5 สรุป 13. ครแู ละนักเรียนรว่ มกันสรปุ ความรูเ้ ร่อื ง การตรวจสอบและประเมนิ หลักฐาน โดยให้นักเรียนสรุป เปน็ แผนทคี่ วามคิด แลว้ ตกแต่งใหส้ วยงาม 14. ครูมอบหมายให้นักเรียนไปอ่านเนื้อหาเร่ือง การตีความหลกั ฐาน เปน็ การบา้ นเพอ่ื เตรยี มจดั การเรยี นรใู้ น ครง้ั ต่อไป 8. กิจกรรมเสนอแนะ • ครูใหน้ ักเรียนศกึ ษาคน้ ควา้ เพิ่มเตมิ แลว้ ร่วมกนั อภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ เรื่อง การตรวจสอบและ ประเมนิ หลักฐาน สรุปและบันทกึ ผล 9. ส่อื /แหล่งการเรยี นรู้ 1. แบบประเมนิ พฤติกรรมในการทำงานเป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุม่ 2. หนงั สอื เรียน รายวิชาพ้นื ฐาน ประวตั ศิ าสตร์ ม. 2 บริษัท สำนกั พิมพ์วฒั นาพานชิ จำกดั 3. แบบฝกึ ทักษะ รายวชิ าพนื้ ฐาน ประวัติศาสตร์ ม. 2 บรษิ ทั สำนกั พมิ พ์วัฒนาพานิช จำกดั 4. คู่มอื การสอน ประวัติศาสตร์ ม. 2 บริษัท สำนกั พิมพว์ ัฒนาพานชิ จำกัด 5. สื่อการเรยี นรู้ PowerPoint รายวิชาพ้นื ฐาน ประวัตศิ าสตร์ ม. 2 บรษิ ัท สำนักพิมพว์ ฒั นาพานิช จำกดั 10. บันทึกหลงั การจดั การเรียนรู้ 1. ความสำเร็จในการจดั การเรียนรู้ แนวทางการพฒั นา 2. ปัญหา/อปุ สรรคในการจดั การเรียนรู้ แนวทางแก้ไข 3. สิง่ ที่ไม่ไดป้ ฏิบตั ติ ามแผน เหตุผล 4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ ลงช่อื ผูส้ อน / /

สาระท่ี 4 ประวัตศิ าสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 2 หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1 หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ เวลา 2 ชว่ั โมง 1. สาระสำคญั การตีความหลักฐานทางประวตั ิศาสตรต์ ้องทำด้วยใจเป็นกลาง ไมเ่ กนิ หลกั ฐานท่มี ีอยู่ และไม่เอา ปัจจุบนั ไปตัดสนิ อนาคต ข้อมูลทีไ่ ดจ้ ากการตีความมีท้ังสว่ นทีเ่ ปน็ ความจรงิ ข้อเทจ็ จรงิ และความคิดเหน็ 2. ตัวชวี้ ัดชัน้ ปี 1. วิเคราะหค์ วามแตกต่างระหว่างความจริงกบั ข้อเทจ็ จรงิ ของเหตุการณ์ทางประวตั ิศาสตร์ (ส 4.1 ม. 2/2) 2. เหน็ ความสำคญั ของการตีความหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ (ส 4.1 ม. 2/3) 3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธิบายประเภทและลกั ษณะของข้อมูลทีไ่ ด้จากการตีความหลักฐานได้ (K) 2. สนใจใฝ่รู้เรือ่ ง การตีความหลักฐาน (A) 3. มที ักษะในการแสวงหาความรู้เกี่ยวกบั การตีความหลักฐาน (P) 4. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ดา้ นความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) และคา่ นิยม (A) • ประเมินพฤตกิ รรมในการ 1. ทดสอบหลังเรยี น • ประเมนิ พฤตกิ รรมในการ ทำงานเปน็ รายบุคคลหรือ เปน็ กลุ่มในดา้ นการส่ือสาร 2. ซักถามความรู้เรื่อง ทำงานเป็นรายบุคคลในดา้ น การคดิ การแก้ปัญหา ฯลฯ การตคี วามหลักฐาน ความมีวินัย ความใฝ่เรียนรู้ 3. ตรวจผลงาน/กิจกรรม ฯลฯ เป็นรายบคุ คลหรอื เป็นกลุ่ม 5. สาระการเรยี นรู้ ë การตคี วามหลักฐาน 1. ประเภทของการตีความหลักฐาน 2 ลักษณะของข้อมลู ท่ีไดจ้ ากการตีความหลกั ฐาน 6. แนวทางบูรณาการ

ภาษาไทย ฟัง พูด อา่ น และเขยี นขอ้ มูลเกีย่ วกับการตีความหลักฐาน การงานอาชีพฯ สบื คน้ ข้อมูลเกย่ี วกับการตีความหลักฐานจากแหล่งการเรียนรตู้ ่าง ๆ เชน่ อินเทอรเ์ นต็ 7. กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ชัว่ โมงที่ 4–5 ข้นั ท่ี 1 นำเข้าสู่บทเรยี น 1. ครูสร้างบรรยากาศสงิ่ แวดลอ้ มในการเรียนรใู้ หเ้ หมาะสม 2. ครแู จ้งตวั ชวี้ ดั ชั้นปแี ละจุดประสงค์การเรียนรใู้ หน้ กั เรยี นทราบ 3. ครใู หน้ กั เรยี นเลน่ เกมตอบคำถามเกีย่ วกับการตรวจสอบและประเมนิ หลักฐานท่ีได้เรียนรู้มาแล้ว โดยใหน้ กั เรยี นตอบคำถามจากบัตรคำถามท่ีครูถาม ใครตอบไดใ้ หย้ กมือข้ึน คนทีต่ อบถกู มากท่สี ดุ เปน็ คนชนะ ครูสรปุ และกล่าวชมเชยใหร้ างวัลแก่คนชนะ 4. ครสู นทนาซกั ถามนักเรยี นว่า รู้หรือไม่ การตีความหลกั ฐานควรมคี วามรู้พื้นฐานในเร่อื งอะไรบ้าง ให้นกั เรยี นช่วยกนั ตอบ จากน้ันครสู รปุ คำตอบของนกั เรียนและเชื่อมโยงไปสเู่ น้ือหาท่ีจะเรยี น ขนั้ ท่ี 2 กจิ กรรมการเรยี นรู้ 5. ครอู ธบิ ายเก่ยี วกบั การตคี วามหลักฐาน จากน้นั ใหน้ ักเรียนแบ่งกลมุ่ กลุ่มละ 4–6 คน แตล่ ะกลุ่ม ศึกษาและสบื คน้ ข้อมูลเกย่ี วกับการตีความหลกั ฐาน จากหนงั สือเรยี น รายวชิ าพน้ื ฐาน ประวตั ศิ าสตร์ ม. 2 หรือหนังสืออ่านเพ่ิมเตมิ อ่นื ๆ 6. ครูจดั กิจกรรมการเรียนการสอนแบบอภปิ รายโดยใชเ้ ทคนิคระดมสมอง โดยปฏิบัติตามขั้นตอน ดังน้ี 1) ประเภทของการตีความมอี ะไรบา้ ง 2) ทำไมจึงต้องมีขอ้ ควรปฏิบตั ิในการตีความหลักฐาน 3) การตีความหลักฐานมีความสำคญั อยา่ งไร 4) ลักษณะของข้อมูลทีไ่ ดจ้ ากการตีความหลักฐานมีอะไรบ้าง

5) ตัวอยา่ งการตคี วามหลักฐาน เชน่ เหตกุ ารณใ์ นสงครามยทุ ธหตั ถขี องสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช หลงั พระมหาอุปราชาส้ินพระชนม์ ในท่รี บแลว้ พระราชพงศาวดารกรุงศรอี ยุธยา ฉบับพนั จนั ทนมุ าศ (เจมิ ) บันทึกไวว้ า่ ขณะเมอ่ื สมเด็จพระพทุ ธเจา้ อยู่หัวทัง้ สองพระองค์ ทำคชสงครามได้ชัยชนะพระอปุ ราชา และมังจาชะโรแล้ว บรรดาทา้ วพระยามขุ มนตรีนายทัพนายกองซา้ ยขวาหนา้ หลงั ท้งั ปวง จงึ มาทนั เสดจ็ ได้เข้ารบพุ่งแทงฟนั ขา้ ศกึ เป็นสามารถ และพลพมา่ มอญท้งั น้ัน ก็แตกกระจายไปเพราะพระ เดชเดชานภุ าพ สมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัวตรัสให้นายทัพนายกองท้ังปวงยกไปตามจับขา้ ศกึ แล้วเสด็จ คืนยังพลบั พลาพระราชทานช่ือเจ้าพญาไชยาณภุ าพเปน็ เจา้ พญาปราบหงสา บรรดามขุ มนตรีนายทัพ นายกองซง่ึ ยกตามขา้ ศกึ นน้ั ได้ฆา่ ฟนั พม่ามอญ โดยทางไปถึงกาญจนบรุ ี อาศพเกลื่อนไป แต่ ตะพังตรนุ น้ั ประมาณ ๒๐,๐๐๐ เศษ จับไดเ้ จ้าเมืองมะลวนและนายทัพนายกองกับไพร่เป็นอันมาก ได้ชา้ งใหญ่สงู ๖ ศอก ๓๐๐ ชา้ ง พลายพงั ระวางเพรียว ๕๐๐ มา้ ๒,๐๐๐ เศษ มาถวายสมเดจ็ พระพุทธเจา้ อยู่หัว ตรัสใหก้ ่อพระเจดียฐานสวมศพพระมหาอุปราชาไว้ ตำบลตะพงั ตรุ ขณะนน้ั โปรดพระราชทานชา้ งหนง่ึ กบั หมอและควาญ ให้เจ้าเมอื งมะลวนกลบั ขนึ้ ไปแจง้ แกพ่ ระเจ้าหงาสาวดี ทมี่ า: ประชุมพงศาวดารฉบบั กาญจนาภเิ ษก เล่ม 3, หน้า 311. 6) ขอ้ มลู ทีไ่ ดจ้ ากหลักฐานนม้ี อี ะไรบ้าง 7) ในการตคี วามหลักฐานมีปญั หาอะไรบ้าง 7. ครใู ห้แตล่ ะกลมุ่ ออกมานำเสนอผลงาน 8. ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั สรุปผลการอภิปรายเรือ่ ง การตีความหลักฐาน ว่าทำใหร้ ูป้ ระเภทของการ ตคี วาม ความสำคญั ของการตคี วาม แล้วบนั ทกึ ผลลงในแบบบนั ทกึ ความรู้ 9. ในขณะนักเรยี นปฏิบัติกจิ กรรม ให้ครสู ังเกตพฤติกรรมในการทำงานและการนำเสนอผลงานของ นักเรยี นตามแบบประเมินพฤติกรรมในการทำงานเป็นรายบุคคลหรอื เป็นกลมุ่ ขน้ั ที่ 3 ฝกึ ฝนผ้เู รียน 10. ครใู หน้ ักเรียนทำกิจกรรมท่เี กีย่ วกับการตีความหลักฐาน ในแบบฝึกทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ประวตั ศิ าสตร์ ม. 2 ของบริษัท สำนักพิมพว์ ัฒนาพานิช จำกดั แลว้ ช่วยกันเฉลยคำตอบที่ถกู ต้อง 11. ครใู ห้นกั เรียนหาขา่ วทเ่ี กิดจากความขดั แย้งทางสงั คมจากน้นั นำมาตีความหลกั ฐาน ขั้นท่ี 4 นำไปใช้ 12. ครใู ห้นักเรียนนำความรูเ้ ร่อื ง การตีความหลกั ฐาน แลว้ นำปรบั ประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจำวัน ขน้ั ท่ี 5 สรปุ 13. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั สรุปความรูเ้ ร่ือง การตีความหลกั ฐาน โดยให้นกั เรียนสรปุ เปน็ แผนท่ี ความคิด แล้วตกแตง่ ใหส้ วยงาม 14. ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลงั เรียน แลว้ ช่วยกนั เฉลยคำตอบท่ีถกู ตอ้ ง

15. ครูให้นักเรยี นทำแบบทดสอบการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ประจำหน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1 ใน แบบฝกึ ทักษะ รายวชิ าพนื้ ฐาน ประวตั ศิ าสตร์ ม. 2 ของบรษิ ัท สำนักพิมพว์ ัฒนาพานิช จำกดั เพื่อประเมนิ ผล การเรียนรูด้ ้านความรู้ ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และคา่ นิยม และด้านทักษะ/กระบวนการของนักเรยี น 16. ครมู อบหมายให้นักเรยี นอา่ นเนื้อหาในหนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 การสถาปนาอาณาจักรอยธุ ยาและ การเมืองการปกครองสมยั อยุธยา เร่อื ง การสถาปนาอาณาจักรอยุธยา เปน็ การบา้ นเพื่อเตรียมจัดการเรียนรใู้ น ครง้ั ตอ่ ไป 8. กิจกรรมเสนอแนะ ครูใหน้ กั เรยี นแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–6 คน แตล่ ะกลุ่มศึกษาค้นคว้าเพ่มิ เติมเร่อื ง การตคี วามหลกั ฐาน จากนัน้ นำมาอภิปรายแสดงความคิดเห็นร่วมกนั หน้าช้ันเรียน 9. สอ่ื /แหลง่ การเรียนรู้ 1. แบบทดสอบหลงั เรียน 2. บตั รคำถามเกยี่ วกับการตรวจสอบและประเมนิ หลักฐาน 3. หนงั สอื เรียน รายวิชาพื้นฐาน ประวตั ศิ าสตร์ ม. 2 บริษัท สำนักพมิ พ์วฒั นาพานิช จำกดั 4. แบบฝึกทักษะ รายวชิ าพ้นื ฐาน ประวตั ิศาสตร์ ม. 2 บริษทั สำนักพิมพว์ ัฒนาพานชิ จำกดั 5. คมู่ อื การสอน ประวัติศาสตร์ ม. 2 บรษิ ทั สำนักพมิ พ์วฒั นาพานิช จำกัด 6. สอื่ การเรยี นรู้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน ประวัตศิ าสตร์ ม. 2 บรษิ ทั สำนกั พิมพ์วัฒนาพานชิ จำกดั 10. บนั ทกึ หลงั การจดั การเรียนรู้ 1. ความสำเร็จในการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการพัฒนา 2. ปญั หา/อปุ สรรคในการจดั การเรียนรู้ แนวทางแก้ไข 3. ส่งิ ท่ไี ม่ไดป้ ฏิบตั ิตามแผน เหตุผล 4. การปรบั ปรุงแผนการจดั การเรียนรู้ ลงชอ่ื ผูส้ อน / /


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook