บนั ทกึ ข้อความ ส่วนราชการ โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) ที่ 044/2565 วนั ที่ 31 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2566 เรอื่ ง รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษารายห้องเรียน ช้ันประถมศึกษาปีที่ 5/1 ปีการศึกษา 2565 เรียน ผู้อำนวยการโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ ด้วยข้าพเจ้า นางลดั ดา นสิ สัยดี ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู ำนาญการพิเศษ ได้รบั มอบหมายให้ ปฏิบัติราชการงานสอนและงานพิเศษอื่นๆ ใน ปีการศึกษา 2565 และรายงานผลการประเมินคุณภาพภายใน สถานศึกษารายห้องเรียน เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาตามกฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ข้อ 3 ระบุให้สถานศึกษาจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้แก่หน่วยงานต้นสังกัดหรือ หน่วยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษาเป็นประจำทุกปีเพื่อรายงานผลการดำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาที่ สะท้อนผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซึ่งเป็นผลสำเร็จจากการบริหารจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐาน การศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3 มาตรฐาน ได้แก่ คุณภาพของผู้เรียน กระบวนการบริหารและการ จัดการ และ กระบวนการจดั การเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผู้เรยี นเป็นสำคญั รายงานนี้ โรงเรียนสามารถนำผลการดำเนนิ งานไปจัดทำการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาระดับ สถานศึกษา และสรุปรายงานให้ผู้บังคับบัญชาตามลำดับสายงาน ตลอดจนเผยแพร่ให้กับผู้ปกครองนักเรียน ชุมชนในสังคมได้ทราบผลการปฏิบัติงานของบุคลากร โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) สำนักงานเขต พืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสรุ นิ ทร์ เขต 3 จงึ เรยี นมาเพื่อทราบ ลงชอ่ื ............................................... (นางลัดดา นสิ สัยดี) ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู ำนาญการพเิ ศษ
ความคดิ เหน็ ของรองผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ................................................. (นางสาวสรุ ตั ยา ลีละพัฒน์) ตำแหน่ง รองผอู้ ำนวยการโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ ความคิดเหน็ ของผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงช่อื ................................................. (นายศักด์ิชยั เลศิ อรณุ รตั น์) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์
รายงานผลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษา เพอ่ื การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 5/1 ประจำปีการศึกษา 2565 นางลดั ดา นสิ สัยดี ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู ำนาญการพิเศษ โรงเรียนบ้านพลวง (พรหมบำรงุ ราษฎร์) สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสรุ ินทรเ์ ขต 3 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร เอกสารชนั้ เรียนลำดบั ท่ี 044/2565 รายงานผลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษา เพือ่ การประกนั คณุ ภาพการศึกษา โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์)ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 5/1 ปกี ารศกึ ษา 2565
รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา จัดทำขึ้นตาม กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ข้อ 3 ระบุให้สถานศึกษาจัดส่งรายงานผลการ ประเมินตนเองให้แกห่ นว่ ยงานตน้ สังกัดหรือหน่วยงานท่กี ำกับดูแลสถานศึกษาเป็นประจำทุกปีเพื่อรายงานผล การดำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาที่สะท้อนผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซึ่งเป็นผลสำเร็จจากการ บริหารจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3 มาตรฐาน ได้แก่ คุณภาพของผู้เรียน กระบวนการบริหารและการจัดการ และ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน เปน็ สำคัญ รายงานนี้ โรงเรียนสามารถนำผลการดำเนินงานไปจัดทำการประเมินคุณภาพภายในและสรุป รายงานให้ผู้บังคับบัญชาตามลำดับสายงาน ตลอดจนเผยแพร่ให้กับผู้ปกครอง นักเรียน ชุมชนในสังคมได้ ทราบผลการปฏิบัติงานของบุคลากร โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 ข้อมูลที่ได้จากการรายงานผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา เพื่อการประกันคุณภาพ การศึกษาในครั้งน้ี ข้าพเจ้าจะได้นำไปใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงเพื่อพัฒนาการปฏิบัติงานที่ได้รับ มอบหมาย เพอื่ สง่ เสริมและพัฒนาศักยภาพของผเู้ รยี นใหส้ ูงขึน้ ในทุก ๆ ด้านตอ่ ไป ลัดดา นิสสยั ดี 31 มนี าคม 2566 รายงานผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพ่ือการประกนั คุณภาพการศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 5/1 ปกี ารศึกษา 2565
เรื่อง หนา้ มาตรฐานการศึกษา ระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พ.ศ. 2561 มีจำนวน 3 มาตรฐาน 1 สรุปผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในรอบปี 3 3 สรุปผลการพฒั นาคุณภาพการศึกษาในรอบปสี ำหรบั ครูผู้สอน 3 มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผ้เู รียน 16 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา 28 มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรียนเป็นสำคญั 40 สรปุ ผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาภาพรวม 41 แบบประเมนิ มาตรฐานการศึกษาข้ันพ้นื ฐานเพอื่ การประกันคณุ ภาพภายในรายหอ้ งเรียน 42 มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรยี น 55 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การของผู้บริหารสถานศึกษา 58 มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี น้นผู้เรียนเปน็ สำคญั รายงานผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพื่อการประกนั คณุ ภาพการศึกษา โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์)ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 5/1 ปีการศกึ ษา 2565
1 มาตรฐานการศึกษา ระดบั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน แนบท้ายประกาศโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) เรอื่ ง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน เพอ่ื การประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา ฉบับลงวันท่ี 31 สงิ หาคม พ.ศ. 2561 มาตรฐานการศึกษา ระดบั การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พ.ศ. 2561 มีจำนวน 3 มาตรฐาน ไดแ้ ก่ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูเ้ รยี น 1.1 ผลสมั ฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรยี น 1.2 คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงคข์ องผูเ้ รียน มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผ้เู รียนเปน็ สำคญั แตล่ ะมาตรฐานมีรายละเอยี ด ดังน้ี มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรยี น 1.1 ผลสัมฤทธทิ์ างวชิ าการของผู้เรยี น 1) มีความสามารถในการอ่าน การเขยี น การสื่อสาร และการคดิ คำนวณ 2) มีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียน ความคดิ เห็นและแกป้ ัญหา 3) มีความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม 4) มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร 5) มีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศึกษา 6) มีความรู้ ทักษะพนื้ ฐาน และเจตคตทิ ี่ดีตอ่ งานอาชีพ 1.2 คณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ของผู้เรียน 1) การมีคุณลกั ษณะและค่านิยมทดี่ ตี ามท่ีสถานศกึ ษากำหนด 2) ความภมู ใิ จในท้องถิน่ และความเปน็ ไทย 3) การยอมรับท่จี ะอยูร่ ่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย 4) สุขภาวะทางรา่ งกายและจิตสงั คม รายงานผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์)ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 5/1 ปกี ารศึกษา 2565
2 มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 2.1 มีเป้าหมายวสิ ัยทัศน์และพนั ธกจิ ทสี่ ถานศกึ ษากำหนดชัดเจน 2.2 มรี ะบบบริหารจัดการคณุ ภาพของสถานศึกษา 2.3 ดำเนนิ งานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผเู้ รยี นรอบดา้ นตามหลักสูตรสถานศึกษา และทุกกลุม่ เป้าหมาย 2.4 พฒั นาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวชิ าชพี 2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมที่เออื้ ตอ่ การจดั การเรียนรู้อย่างมคี ุณภาพ 2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบรหิ ารจดั การและการจดั การเรียนรู้ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคญั 3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคดิ และปฏบิ ัตจิ รงิ และสามารถนำไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตได้ 3.2 ใชส้ ่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ท่เี อื้อต่อการเรยี นรู้ 3.3 มกี ารบรหิ ารจัดการชนั้ เรยี นเชงิ บวก 3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รียนอย่างเปน็ ระบบ และนำผลมาพฒั นาผเู้ รยี น 3.5 มกี ารแลกเปลี่ยนเรยี นรู้และใหข้ ้อมูลสะท้อนกลบั เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา เพ่ือการประกนั คุณภาพการศึกษา โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์)ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 5/1 ปกี ารศึกษา 2565
3 สรปุ ผลการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาในรอบปกี ารศึกษา 2565 ตามมาตรฐานการศกึ ษา ตามกฎกระทรวงการประกันคณุ ภายการศกึ ษา พ.ศ.2661 ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 5/1 โรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ สรปุ ผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในรอบปี สำหรบั ครผู ู้สอน คำช้แี จง 1. ศึกษาเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) มาตรฐานที่ 1-3 2. มาตรฐานที่ 1-3 ประเมินผลแล้วจะได้ผลระดับคุณภาพตัวบ่งชี้/มาตรฐาน แล้วทำเครื่องหมาย ลงในชอ่ งระดบั คณุ ภาพ 3. เกณฑ์การตัดสิน 5 หมายถึง มีผลการปฏบิ ตั อิ ยใู่ นระดบั ยอดเยี่ยม 4 หมายถงึ มผี ลการปฏิบตั ิอยู่ในระดบั ดเี ลศิ 3 หมายถงึ มผี ลการปฏิบัตอิ ย่ใู นระดับดี 2 หมายถงึ มีผลการปฏบิ ัติอยูใ่ นระดับปานกลาง 1 หมายถงึ มีผลการปฏิบตั ิอยู่ในระดับกำลงั พัฒนา มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผ้เู รยี น ตัวบง่ ชี้ ระดับคุณภาพตวั บ่งช้ี/ มาตรฐาน 1.1 ผลสัมฤทธิท์ างวิชาการของผเู้ รยี น 1) มคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น การส่ือสารและการคิด 54321 คำนวณ 2) มีความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คิดอย่างมีวจิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปลีย่ นความคิดเหน็ และแกป้ ัญหา 3) มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม 4) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร 5) มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา 6) มีความรทู้ ักษะพนื้ ฐาน และเจตคติที่ดตี ่องานอาชีพ รายงานผลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษา เพื่อการประกนั คุณภาพการศึกษา โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์)ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 5/1 ปีการศึกษา 2565
ตัวบง่ ชี้ 4 1.2 คุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ของผเู้ รยี น ระดบั คณุ ภาพตัวบ่งช/ี้ 1) การมคี ุณลักษณะและค่านิยมท่ดี ีตามทีส่ ถานศึกษากำหนด มาตรฐาน 2) ความภูมิใจในท้องถน่ิ และความเปน็ ไทย 3) การยอมรบั ท่ีจะอย่รู ่วมกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย 54321 4) สุขภาวะทางรา่ งกาย และจิตสังคม สรปุ ผลการประเมินมาตรฐานที่ 1 (คะแนนรวมทั้งหมด/10) ระดับคณุ ภาพ 5 ยอดเยี่ยม กิจกรรม/โครงการ/หลกั ฐานรอ่ งรอยท่ี ผลการดำเนนิ งาน ดำเนินการ 1.โครงการโรงเรยี นส่งเสรมิ สขุ ภาพ จดุ เด่น 2.โครงการ ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม นักเรียนทุกคน มีความสามารถในการอ่านออกเขียนได้ใน และค่านิยมท่ีพงึ ประสงคข์ องนักเรียน ระดับดี ขึ้นไป ผ่านการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ใน 3.โครงการสรา้ งเสริมพัฒนาทักษะการ ระดับดขี น้ึ ไป และ ผ่านการประเมนิ ในทักษะการคิด วเิ คราะห์ เรยี นรู้และพฒั นาตนเองของนักเรยี น และเขียนสื่อความในระดับดีขึ้นไป รวมทั้งสามารถเขียนเพื่อ 4. โครงการพฒั นางานวิชาการ การสือ่ สารไดจ้ ำนวน 19 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 94.74 สามารถใช้ 5. โครงการเสริมทกั ษะกระบวนการใน เทคโนโลยีในการแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง ส่งผลให้ การทำงาน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยู่ในระดับยอดเยี่ยม มีคะแนนเฉล่ีย 6. โครงการพัฒนาหลกั สตู รกระบวนการ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทุกรายวิชารวม ร้อยละ 75.91 อยู่ใน เรยี นรู้ และกิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน ระดับเกินคา่ เป้าหมายของสถานศกึ ษา และร้อยละ 70 ทกุ กลุ่ม 7. โครงการสง่ เสรมิ ความเป็นเลิศ สาระการเรียนรู้ที่มีการทดสอบและต่อเนื่องมาโดยตลอดมีการ วชิ าการ พัฒนาผู้เรียนผ่านการอ่านเขยี นเรียนคดิ เลขด้วยนวัตกรรมเลม่ 8. โครงการยกระดบั ผลสัมฤทธทิ์ างการ เล็กเด็กหรรษา โดยกระบวนการ PLUNG Model คิดเป็น ศึกษา ร้อยละ 100 - แบบรายงานการอา่ นออกเขียนได้ ของ ผู้เรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีสมรรถภาพทางกายและ สพฐ. นำ้ หนักสว่ นสูงตามเกณฑ์ มีระเบียบวนิ ยั จนเป็นเอกลกั ษณข์ อง สถานศึกษา และตามคำขวัญของโรงเรียน คือ“เรียนดี มีวินัย รายงานผลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษา เพอื่ การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์)ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 5/1 ปีการศึกษา 2565
5 กิจกรรม/โครงการ/หลกั ฐานร่องรอยท่ี ผลการดำเนนิ งาน ดำเนนิ การ -แบบรายงานอา่ นเขียนเรยี นคดิ เลข ตาม พลานามัยสมบูรณ์” เป็นที่ยอมรับของชุมชนโดยรอบในเรื่อง โครงการ 1 โรงเรยี น 1 นวัตกรรม ความมีวินัย เคารพกฎกติกา มารยาทของสังคม ได้แก่ การน่ัง - ผลการสอบแข่งขนั ในสนามสอบตา่ งๆ ดื่มนมเป็นระเบียบ การเข้าแถวต่อคิวรับประทานอาหาร O-Net กลางวัน การเข้าแถวเคารพธงชาติ การเดินแถวเข้าแถวจาก -แบบบันทกึ สขุ ภาพของนกั เรียน หน้าอาคารเรียน และการเดินแถวขึ้นอาคารเรียนหลังเข้าแถว -แบบบันทกึ ผลการพฒั นาคุณภาพ เคารพธรงชาติ เป็นต้น แต่งกายตามระเบียบของโรงเรียนบ้าน ผ้เู รยี น (ปพ.5) พลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) ครูจัดการเรียนรู้โดยส่งเสริม -แบบรายงานผลการพฒั นาคุณภาพ วัฒนธรรมไทย เช่น ครูนำนักเรียนไปสืบสาน วันสำคัญทาง ผูเ้ รียนรายบุคคล (ปพ.6) ศาสนา วันสำคัญของชาติ วันแซนโฎนตา ประเพณีวัน -แบบรายงานผลการประเมิน เข้าพรรษา ประเพณีลอยกระทง และส่งเสริมกิจกรรมอบรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมในวดั ในวันสำคญั ทางศาสนาต่าง ๆ -แบบรายงานผลการประเมินสรรถนะ จุดควรพฒั นา สำคญั ของผูเ้ รียน การจัดกิจกรรมเฝ้าระวัง และสอดแทรก คุณธรรมและ -แบบรายงานผลการประเมนิ อ่านคิด จริยธรรมในชั้นเรียนด้วยการให้นักเรียนเป็นผู้เสนอแนวทาง วเิ คราะห์เขียน และร่วมกันลงความเห็นร่วมกันแล้วนำไปสู่การปฏิบัติ การ -แบบรายงานผลการประเมินคา่ นิยม 12 ส่งเสริมและสร้างภาวะผู้นำให้กับนักเรียนในสถานการณ์ที่ ประการของคนไทย หลากหลายใหร้ จู้ กั เป็นผูน้ ำและผตู้ ามทด่ี ี -รายงานกจิ กรรมต่างๆ รายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพอ่ื การประกนั คณุ ภาพการศึกษา โรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 5/1 ปีการศึกษา 2565
6 สรปุ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู้ รยี น ระดบั คุณภาพ : ยอดเย่ยี ม 1. กระบวนการพัฒนา การจัดการเรียนการสอนในระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5/1โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) ครูผู้สอนมี กระบวนการพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย ครูจัดการ เรียนรู้ให้เป็นไปตามศักยภาพของผู้เรียน และเป็นไปตาม มาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร มีการออกแบบการจัดการ เรียนรู้ ที่เหมาะสมกับผู้เรียน โดยเน้นการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ทั้งรูปแบบกระบวนการทำงานกลุ่ม แบบลง มือปฏิบัติจริง แบบร่วมมือกันเรียนรู้ โดยอาศัยพื้นฐานปรัชญา การศึกษา Progressivism และยึดหลักทฤษฎีการสร้างองค์ ความรู้ (Constructivism) ใช้กระบวนการคิด กระบวนการใช้ ปัญหาเป็นหลัก และเน้นกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น สำคัญ โดยมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนทุกคน มีความสามารถในการนำ เทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนรู้ ซึ่งครูผู้สอนเองได้พัฒนา กระบวนการจัดการเรียนรู้และ เทคนิควิธีการสอนให้ตรงตาม ศกั ยภาพของผู้เรียน ใช้สอ่ื เทคโนโลยีทีห่ ลากหลายในการจัดการ เรียนการสอน เช่น การใช้ Education App ได้แก่ Kahoot, Quizizz, E-book เป็นต้น ใช้สื่อที่สร้างขึ้นเอง ได้แก่ Microsoft PowerPoint เป็นต้น การใช้สื่อจากเครือข่าย ออนไลน์ ได้แก่ YouTube , กลุ่มเครือข่ายการเรียนรู้ Fan page Facebook, Line, ห ้ อ ง เ ร ี ย น ค รู ด า เว ็บไซต์ทา ง การศึกษาต่างๆที่มีความน่าเชื่อถือ ทั้งในและต่างประเทศ เช่น สสวท.เป็นต้น มีการนำแหล่งเรียนรู้และแหล่งสืบค้นข้อมูล ได้แก่ ห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ ห้อง คอมพิวเตอร์ สวนพฤกษศาสตร์ ศาสตรพ์ ระราชา เปน็ ตน้ ครูในชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 5/1 มีการวางแผนร่วมกัน กำหนดแผนการจัดการเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผลแบบบูรณาการเป็นระยะๆเพื่อพัฒนาสู่เป้าหมาย ครูผู้สอนเน้นการใช้คำถามเพื่อพัฒนาทักษะการคิดการแก้ปัญหา เพื่อพัฒนาผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 โดยใช้ รูปแบบการพฒั นาผู้เรียนโดยใชว้ ฒั นธรรมการวิจัยส่กู ารสร้างความยั่งยนื ในการเรียนรู้ รายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพื่อการประกันคณุ ภาพการศึกษา โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 5/1 ปีการศึกษา 2565
7 1.1 วิเคราะห์ผู้เรียนในการปฏิบัติหน้าที่การสอนผู้สอนได้ ดำเนินการวิเคราะห์ผู้เรยี นตามแบบวิเคราะห์ผู้เรียนทีจ่ ัดทำข้ึน และมี การประเมินพฤติกรรมนักเรียนเพื่อคัดกรอง เพื่อจัดกิจกรรมการเรียน การสอนเหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน และเป็นการส่งเสริม พัฒนาการของผู้เรียนทุกด้าน โดยศึกษาข้อมูลผู้เรียนรายบุคคล จัด ผูเ้ รียนกลมุ่ เกง่ กลาง อ่อน โดยวิเคราะหจ์ ดุ เด่น จุดดอ้ ย เป็นรายบุคคล นำมาสู่การวางแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ นำเสนอ ผูบ้ ริหารเพื่อตรวจพจิ ารณาอีกครงั้ ก่อนนำมาจัดกจิ กรรมการสอน ทำให้ กิจกรรมการเรียนรู้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยได้มีการวางแผน อย่างเป็นระบบและมีขั้นตอน เช่น ศึกษาวิเคราะห์หลักสูตร จัดทำ หน่วยเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ที่มีรูปแบบและเทคนิคการสอน ตลอดจนการวัดประเมินผลตามสภาพจริง สื่อและแหล่งเรียนรู้ที่ หลากหลายทั้งในโรงเรียนและท้องถิ่น สอดคล้องกับมาตรฐานการ เรียนรู้ ตวั ช้ีวดั ความตอ้ งการของนักเรียน 1.2 วิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษา ได้วิเคราะห์มาตรฐาน การเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ เพอ่ื กำหนดหน่วยการเรยี นรู้ ออกแบบการ เรียนรู้ การวัดและประเมินผลให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดทั้งด้านความรู้ ทักษะกระบวนการและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้อย่างเหมาะสม นำไปเป็นแนวทางในการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ มี องคป์ ระกอบครบถว้ น มีการตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ก่อนนำไป สอน และในการสอนแต่ละครั้งได้ใช้กิจกรรมการเรียนการสอนเพ่ือ พัฒนาการคิดวิเคราะห์ของผู้เรียน พร้อมทั้งสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ สามารถแสวงหา ความรู้จากแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย และนำวิธีการเรียนรู้ไปใช้ในชีวิตจริงได้ นอกจากนี้ยังได้จัดการเรียน การสอนในลักษณะบูรณาการโดยมุ่งให้ผู้เรียนเชื่อมโยงความรู้ ความคิด ทักษะ และประสบการณ์ที่มีความ หลากหลายและสมั พันธ์กนั เป็นองค์รวม เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรยี นรู้จริงในสิ่งที่ศึกษาสามารถนำไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตจริงได้โดยมกี ารกำหนดเป้าหมายและวางแผนข้ันตอนการดำเนินงานการจัดการอยา่ งเป็นระบบ มีการใช้ เอกสารอ้างอิงหรือแหล่งค้นคว้าต่าง ๆ เพื่อให้การดำเนินการจัดการเรียนการสอนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเม่อื สนิ้ ปีการศกึ ษา มีการวดั และประเมนิ ผล เพ่อื นำมาพัฒนาและปรบั ปรงุ ต่อไป รายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพื่อการประกันคณุ ภาพการศึกษา โรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์)ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 5/1 ปีการศกึ ษา 2565
8 1.3 วเิ คราะห์ความพร้อมของสือ่ อุปกรณ์ ครูผู้สอนต้องตรวจสอบดูสื่ออุปกรณ์ว่ามีความพร้อม เพียงพอ และเหมาะสมกับรายวิชาและผู้เรียนหรือไม่อย่างไร เช่น เครือ่ งใช้ไฟฟ้า โทรทัศน์ เครือ่ งเสยี ง คอมพวิ เตอรใ์ ชส้ อน อุปกรณ์ที่ ใช้สอนต่าง ๆ ตรวจสอบและปรับปรุงแก้ไขเมื่อมีการชำรุด เสียหาย หากพบว่าไม่เพียงพอต่อความต้องการกบ็ ันทึกเสนอขอเพิ่ม ทั้งนี้ เพื่อ อำนวยความสะดวกแก่ครูผู้สอนและเพื่อให้การเรียนการสอนเกิด ประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนั้นยังครูผู้สอนต้องรู้จักพัฒนา จัดหา และประยุกต์ใช้สื่อ นวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ โดยได้มีการ พัฒนาสื่อนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ขึ้นเอง ได้แก่ หนังสือเล่ม เล็ก แผ่นพับ ภาพ ตาราง แผนภูมิ แบบฝึกทักษะ ใบงาน ใบ ความรู้ สื่อ ICT ตลอดจนมีการจัดหาสื่อนวัตกรรมจากที่อื่นมา ประยุกตใ์ ชใ้ นการจัดการเรียนรู้ ได้อยา่ งเหมาะสม 1.4 ออกแบบการเรยี นรทู้ ีเ่ นน้ การบูรณาการ เริ่มจากการจัดประชุม ครูในระดับช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 5/1ทุกรายวิชา ร่วมกันวิเคราะห์หลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 มาตรฐาน/ตัวชี้วัดใน รายวิชาที่สอน จัดทำเป็นโครงสร้างรายวิชาแล้วจึงนำมาจัดทำ เป็นหน่วยการเรียนรู้/แผนการจัดการเรียนรู้แล้วทบทวนภาระ งาน ชิ้นงาน ของแต่ละรายวิชา วิเคราะห์และสังเคราะห์ แล้ว ร่วมกันออกแบบการเรียนรู้แบบบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการจัดการเรียนรู้ เชื่อมโยงหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล และหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ใหส้ อดคลอ้ งกบั หลักสูตร ของแต่ละรายวิชาภาคเรียนละ 1 หน่วยการเรียนรู้ เช่น STEM เป็นต้น มีการติดตามประเมินผลอย่างเป็นรูปธรรม รวมทั้งถอด บทเรียนเมื่อเสร็จสิ้นกระบวนการเรียนรู้ และจัดแสดงเผยแพร่ผลงาน ต่อสาธารณะชน โดยเฉพาะผู้สอนม่งุ เนน้ ใหผ้ เู้ รยี นพฒั นาพฤติกรรม ด้านความรู้ เจตคติ ทักษะค่านิยมและคุณธรรม การนำความรู้สู่ ปฏิบัติสามารถนำความรู้นี้ไปใช้ในการดำรงชีวิตมีการเชื่อมโยงความรู้กับกระบวนการเรียนรู้ ส่งเสริมให้ผู้เรียน พัฒนาความคิดทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์วิจารณ์ มีทักษะที่สำคัญทั้งทักษะ รายงานผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพอ่ื การประกันคณุ ภาพการศึกษา โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 5/1 ปีการศึกษา 2565
9 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะในศตวรรษที่ 21 ใน การค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหา ความรู้ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจ โดยใช้ข้อมูลหลากหลายและประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้ โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ บูรณาการเทคโนโลยี สารสนเทศในการจัดการเรียนรู้ เน้นการปฏิบัติจริงด้วยการ เรียนรู้แบบเผชิญสถานการณ์จริงในสังคม ร่วมกับรูปแบบการ จัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ผนวกกับ กระบวนการพัฒนาผู้เรียนสู่มาตรฐานสากล สร้างความ ตระหนักรู้ อีกทั้งสร้างเสริมทักษะชีวิต ทักษะที่จำเนใน ศตวรรษที่ 21 และทักษะการใช้เทคโนโลยี ที่มุ่งเน้นการรับรู้ ผา่ นประสบการณ์ตรง กระบวนการสังเกต การทดลอง การลง มือปฏิบัติ นำกระบวนการกลุ่มมาช่วยขับเคลื่อนกระบวนการ เรียนรู้ให้เกิดความคิดรวบยอด จนสามารถสร้างองค์ความรู้ ไดด้ ้วยตนเอง ซ่งึ ข้าพเจา้ ได้นำมาเปน็ หวั ใจสำคัญของการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ จากแนวทางและรูปแบบที่กล่าวมา นำมา สังเคราะห์ พัฒนากระบวนการเรียนรู้ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/1 กระตุ้นให้ผู้เรียนคิดวิเคราะห์ ปัญหาที่เกิดขึ้น สอนวิธีการจัดลำดับความสำคัญและแนวทางในการ สร้างทางเลือกของแต่ละบุคคล เพื่อให้ผู้เรียนมีเจตคติและทักษะ ชีวิตที่ดี สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือใน การศึกษาค้นคว้าหาความรู้ สามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วย ตนเองจนประสบความสำเรจ็ ท้งั ด้านการเรยี น เมือ่ ผ้เู รียนมคี วามสุข ก็มีความพรอ้ มทจี่ ะเรยี นรู้ สามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตได้ รายงานผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพือ่ การประกันคุณภาพการศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 5/1 ปีการศึกษา 2565
10 1.5 ออกแบบการเรยี นรูท้ ีเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคญั ใ น ก า ร จ ั ด ก ิ จ ก ร ร ม ก า ร เ ร ี ย น ก า ร ส อ น นั้ น ผสู้ อนไดเ้ อาใจใส่ผ้เู รยี นอย่างสม่ำเสมอ โดยการจดั แบง่ ผู้เรียน ตามระดับความสามารถตามที่ได้มีการศึกษาข้อมูลนักเรียน รายบุคคล แล้วจัดกิจกรรมที่สอดคล้องและเหมาะสมกับ ผเู้ รียนโดยเน้นใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ รียนรจู้ ากประสบการณจ์ รงิ โดยนำ กระบวนการ Active Learning เข้ามาประยุกต์ใช้ในการสอน วิชาวิทยาศาสตร์ กระตุ้นให้เกิดกระบวนการคิด วิเคราะห์ การแก้ปัญหา ลงมือปฏิบัติได้จริง นำกิจกรรมในวิถีชีวิตจริง มาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้ให้เกิดทักษะชีวิต สรุปเป็น ความรู้ฝังแน่น ซึ่งครูต้องเปลี่ยนจากการบรรยายเป็นการ ผู้สร้างบรรยากาศเชิงบวกแทน และมีการจัดทำสื่อและ นวัตกรรมในการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยวิธีการที่ หลากหลายและเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อให้ผู้เรียนได้รับ ความรอู้ ย่างเตม็ ที่ และรู้จักการแสวงหาความรดู้ ้วยตนเองได้ 1.6 จัดกระบวนการเรยี นรตู้ ามธรรมชาติของวิชา ได้มีการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามธรรมชาติ ของแต่ละวชิ า การเรยี นรูข้ องนกั เรียนสามารถเรยี นรู้ได้รอบตัว โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนพัฒนาพฤติกรรมด้านความรู้ เจตคติ ทักษะค่านิยมและคุณธรรม การนำความรู้สู่ปฏิบัติสามารถนำ ความรู้นี้ไปใช้ในการดำรงชีวิตมีการเชื่อมโยงความรู้กับ กระบวนการเรียนรู้ ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาความคิดทั้ง ความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์วิจารณ์ มีทักษะที่สำคัญทั้งทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์และทักษะในศตวรรษที่ 21 ในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาอย่างเปน็ ระบบ สามารถตดั สนิ ใจ โดยใช้ขอ้ มูลหลากหลายและประจักษ์พยานท่ีตรวจสอบได้ รายงานผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพือ่ การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 5/1 ปกี ารศกึ ษา 2565
11 1.7 จัดกิจกรรมให้ครบถ้วนตามธรรมชาติของวิชา และความแตกต่างระหว่างบุคคล โดยเน้นให้ฝึกทักษะและ กระบวนการคิด ข้าพเจ้าได้ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ ที่เน้น เพื่อส่งเสริมกระบวนการเสาะแสวงหาความรู้ สร้างองค์ความรู้ ด้วยตนเอง เกิดความคิดสร้างสรรค์และการสอนแบบเน้นการลง มือปฏิบัติด้วยตนเอง ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาอย่างเต็ม ตามศักยภาพ ผู้เรียนที่มีความโดดเด่นทางด้านความคิด สร้างสรรค์ และมีใจรักทางสืบค้นหาคำตอบและนำไปแก้ไข ปัญหาในสังคมและชมชนของตนเองได้ ด้วยการต่อยอดองค์ ความรู้ด้วยตนเอง จนกระทั่งสามารถเกิดทักษะและนำความรู้ท่ี ได้นั้นผ่านการคัดเลือกเป็นตัวแทนโรงเรียน เพื่อเข้าร่วมแข่งขัน ทักษะ ในระดบั เขตพนื้ ที่ ระดับภาค และระดบั ชาติ - ผู้เรียนได้รับการส่งเสริม เน้นให้ฝึกทักษะ กระบวนการคิด และออกแบบ สามารถวิเคราะห์แก้ไขเหตุการณ์ เฉพาะหน้าได้ด้วยตนเองโดยใช้ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ร่วมกับการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการ เรยี นรไู้ ด้ 1.8 จัดกจิ กรรมหลากหลายวิธี และเหมาะสมกบั ผเู้ รียน ข้าพเจ้าได้จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ที่ หลากหลาย เหมาะสมกับสาระการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดมี ความสุขในการเรียน และเกิดทักษะตามคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ของทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ แนวทางการส่งเสริมการ เรียนรู้ มีดังนี้ 1) การส่งเสริมนิสัยการสืบค้นข้อมูล เสาะ แสวงหาความรู้ และสรา้ งองค์ความรูด้ ว้ ยตนเอง รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา เพอ่ื การประกันคณุ ภาพการศึกษา โรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 5/1 ปกี ารศกึ ษา 2565
12 การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนใหผ้ ู้เรียนได้ ลงมือกระทำ และได้ใช้กระบวนการคิด เพื่อพัฒนาศักยภาพ ด้านการคิด แก้ปัญหา และการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ เปิด โอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ สามารถ สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ผู้สอนทำหน้าที่อำนวยความ สะดวกในการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ปฏิบัติด้วย ตนเอง ความรู้เกิดจากประสบการณ์ การนำองค์ความรู้ และ การสรุปทบทวนของผู้เรียนมาประยุกตใ์ ช้ในการพัฒนาทักษะ และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รยี นในการเรยี นรู้ 2) การส่งเสรมิ ความคิดสรา้ งสรรค์ ข้าพเจ้าได้จัดกิจกรรมส่งเสริมความคิด สร้างสรรค์ โดยให้ผู้เรียนได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของ เทคโนโลยีสารสนเทศ มคี วามตระหนักและทัศนคตทิ ีด่ ีต่อการ คิดค้นเทคโนโลยีใหม่ ๆ ส่งเสริมให้นักเรียนนำความรู้ที่ได้รับ ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน และนำเทคโนโลยีมาใช้เป็น เครื่องมือสำคัญในการสร้างองค์ความรู้ที่ยั่งยืน และเพื่อ ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ให้กับผู้เรียน ได้ฝึกออกแบบ ชน้ิ งานตา่ งๆ เพ่ือใช้แก้ปัญหาในชมุ ชนและสงั คมของตน ด้วย การดำเนินการการทดลองจากสิ่งใกล้ตัวตามจิตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ของตนเอง เพื่อที่จะนำความรู้ที่ได้จาก การสืบค้น สร้างองค์ความรู้ของตนเองนั้นไปช่วยสร้างและ อำนวยความสะดวกและแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน ได้ 1.9 ใชส้ ่ือการเรียนร้เู หมาะสมกบั เน้อื หา และ ผู้เรยี น การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นนักเรียน เปน็ สำคัญ ข้าพเจา้ ไดน้ ำส่ือ นวัตกรรมทม่ี ีความสอดคล้องกับ ความจำเป็น ความต้องการของนักเรียน และนักเรียนมีส่วน รว่ มในการผลติ ส่ือ มาใชใ้ นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่าง หลากหลาย มีท้ังส่ือทผ่ี ลิตข้ึนมาใชเ้ อง ไดผ้ า่ นการหาคณุ ภาพแล้วจึงนำมาใช้ในการสอน และส่ือท่ีจัดหานำมาใช้ รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา เพ่ือการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา โรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์)ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 5/1 ปีการศกึ ษา 2565
13 ด้วยตนเอง ขั้นตอน และผลของการปฏิบัติในการพัฒนา จัดหา ประยุกต์ใช้สื่อ เพื่อนำมาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มีดงั นี้ - จัดหาสื่อ นวัตกรรมที่จำเป็นเพิ่มเติม โดยการสืบค้นสื่อ ข้อมูลออนไลน์ และผลิตขึ้นเองนักเรียนมี ส่วนร่วมในการผลติ สอ่ื นวตั กรรม ท่ีสร้างขึน้ ดว้ ยความภาคภูมใิ จในผลสำเรจ็ เป็นผลงานที่มีคณุ คา่ - จัดเตรียมสื่อ นวัตกรรม ที่สอดคล้องกับมาตรฐาน การเรียนรู้ ตัวชี้วัด และกิจกรรมการเรียนรู้ ให้นักเรียนมีส่วนร่วม ในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ในลักษณะบูรณาการร่วมกับ เรอ่ื งราวในชวี ิตประจาวันและสิง่ ใกล้ตวั -นำสื่อ นวัตกรรม ไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมกับ เนื้อหาสาระการเรียนรู้ ในระหว่างจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ได้เปิด โอกาสให้นักเรียนได้ฝึกทักษะกระบวนการกลุ่ม ช่วยกันสืบค้น ข้อมูล สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง จนกระทั่งสามารถถ่ายทอด ให้กับผู้อน่ื ได้ และเกิดองค์ความรู้ทีค่ งทน - มกี ารประเมินผล การใช้สื่อ นวัตกรรม ในการจดั การ เรียนรู้นักเรียนมีส่วน ร่วมในการประเมินผล การใช้สื่อ และนวัตกรรม โดยขอคำปรึกษา จากเพอ่ื นครู ฝ่ายวิชาการ และผู้บริหาร - นำผลการประเมินการใช้สื่อ นวัตกรรมไปปรับปรงุ แก้ไข สาหรบั ใช้ จดั กิจกรรมการเรยี นรูใ้ นครั้งต่อไป 1.10 ใช้เครือ่ งมอื ประเมินผลเหมาะสม สร้างและพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลในรายวิชาที่ รับผิดชอบด้วยวิธีการที่หลากหลาย เช่น Education App ชุด แบบทดสอบออนไลน์ Google Forms เป็นต้น วัดผลโดยยึด ระเบียบว่าด้วยการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ยึดความแตกต่าง ระหว่าง บุคคล เป็นการประเมินผลการเรียนตามรายวิชา กลุ่มสาระฯ ด้านการอ่าน คิดวิเคราะห์ การเขียนและพึงประสงค์ และผลการ เรียนรู้ที่เกิดจากการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มีการวัดผลระหว่างเรียน หลังเรียน โดยประเมินจากสภาพจริง การสังเกตพฤติกรรม การปฏิบัติ การตรวจผลงาน ครูเป็นผู้ประเมิน นักเรียนประเมินตนเอง เพื่อนประเมิน และฝ่ายพัฒนาผเู้ รยี นเป็นผู้ประเมนิ มวี ธิ ีการและเครอ่ื งมือวดั และประเมินผลมีความเหมาะสม โดยขอ้ มูลที่ได้จะ เป็นประโยชน์ในการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นรายบุคคล ช่วยให้ผู้สอนเข้าใจพฤติกรรมของผู้ เรียนได้ อย่างลึกซึ้ง และเป็นวิธีการที่ยืดหยุ่นตามสถานการณ์ โดยมีการประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics) กำหนด รายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพื่อการประกันคุณภาพการศกึ ษา โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 5/1 ปีการศกึ ษา 2565
14 ระดับคณุ ภาพผู้เรียนเพื่อใช้ประโยชนโ์ ดยใช้ใบงาน/ชิน้ งาน และสามารถเก็บในแฟ้มสะสมงาน (Portfolio) เพ่ือ หาจุดอ่อนที่ควรแก้ไข นำผลไปปรับปรุงพัฒนาการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ทำให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สูงขนึ้ 2. ผลการดำเนินงาน ในด้านการผลการประเมินผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของนักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 6 พบว่า นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มีผลคะแนนจากการทดสอบข้อสอบมาตรฐานปลายปี ประจำปี การศึกษา 2564 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าคะแนน เฉล่ยี ของประเทศ มีความสามารถอา่ นคล่อง เขียนคลอ่ ง สามารถสรุปใจความสำคัญไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ และ ตามมาตรฐานในระดับช้ันของตนเอง สามารถเขียนส่ือสารได้ดี รจู้ ักการวางแผน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี ตามหลักประชาธิปไตย กล้าแสดงออก และแสดงความคดิ เห็น หรือวิพากษ์ได้อยา่ งสร้างสรรค์ สืบค้นข้อมลู หรอื แสวงหาความรู้จากสื่อ เทคโนโลยีได้ด้วยตนเอง รวมทั้งสามารถวิเคราะห์ จำแนกแยกแยะได้ว่าสิ่งไหนดี สำคัญ จำเป็น รวมทั้งรู้เท่าทันสื่อและสังคมท่ีเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ผู้เรียนรูแ้ ละตระหนักถึงโทษและพิษภยั ของสงิ่ เสพตดิ ต่างๆ เลือกรับประทานอาหารท่สี ะอาด และมีประโยชน์ รักการออกกำลงั กาย นกั เรียนทกุ คนสามารถเล่น กีฬาได้อย่างน้อยคนละ 1 ประเภท ยอมรับในกฎกติกาของกลุ่ม ของโรงเรียน ของสังคม มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ สุจริต รวมถึงมีความเข้าใจเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลและระหว่างวัย มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตาม หลกั สูตร สามารถสรา้ งแบบอยา่ งทีด่ ใี ห้แกร่ นุ่ นอ้ ง ได้อยา่ งเหมาะสม รายงานผลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษา เพอื่ การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา โรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์)ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 5/1 ปกี ารศกึ ษา 2565
15 3.ข้อเสนอแนะเพ่ิมเตมิ 1. สง่ เสรมิ ให้นักเรยี นกล้าแสดงออกตามความถนัด ความสนใจ 2. นักเรยี นมีความสุขในการร่วมกิจกรรม 3. นกั เรยี นเข้าร่วมกิจกรรมด้านศลิ ปะ ดนตรี และกีฬา ตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ 4. นกั เรียนได้เรยี นรูต้ ามความสนใจและมีความสุข 5. จัดวทิ ยากรทอ้ งถิ่นให้ความรใู้ นเรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิน่ 6. จดั โครงการแนะแนว ระบบช่วยเหลือนักเรียนใหเ้ ปน็ ระบบอยา่ งชดั เจน 7. จัดระบบการอา่ น การเขียน การสื่อสารและการคดิ คำนวณ ของนักเรยี นใหช้ ัดเจน 8. ครูผู้สอนได้สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในการจัดกจิ กรรมการเรยี น การสอนหรือในเวลาท่เี หมาะสม 9. ดำเนินการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบให้นักเรียนในการทำงานหรือการดำเนินการจัดกิจกรรม ตา่ งๆ รายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพอื่ การประกนั คุณภาพการศกึ ษา โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 5/1 ปกี ารศกึ ษา 2565
16 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การของผู้บริหารสถานศกึ ษา ตัวบง่ ช้ี ระดับคณุ ภาพตัวบง่ ช/้ี มาตรฐาน 2.1 มีเปา้ หมายวสิ ัยทัศนแ์ ละพนั ธกจิ ทส่ี ถานศกึ ษากำหนดชดั เจน 2.2 มีระบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา 5 4 3 21 2.3 ดำเนินงานพฒั นาวิชาการที่เน้นคุณภาพผเู้ รียนรอบดา้ น ตาม หลกั สูตรสถานศกึ ษา และทกุ กลุ่มเปา้ หมาย 2.4 พัฒนาครแู ละบุคลากรให้มคี วามเชยี่ วชาญทางวิชาชพี 2.5 จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมทเี่ อ้อื ต่อการจดั การเรยี นรู้ อย่างมีคณุ ภาพ 2.6 จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนับสนนุ การบริหารจดั การและ การจดั การเรียนรู้ สรปุ ผลการประเมินมาตรฐานที่ 2 (คะแนนรวมทั้งหมด/6) 5 ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม กิจกรรม/โครงการ/หลกั ฐานรอ่ งรอย ผลการดำเนินงาน ที่ดำเนนิ การ 1. โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศ จดุ เดน่ วชิ าการ กระบวนการบริหารและการจัดการในสายชั้นประถมศึกษาปีที่ 2. โครงการพัฒนาระบบดแู ลช่วยเหลอื 5/1 มีการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ โดยครูประจำชั้น นักเรยี นอย่างยั่งยนื รอบด้าน ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครองเพื่อทราบจุดมุ่งหมายในการ 3. โครงการสร้างเสรมิ สถานศึกษาแห่ง พัฒนาร่วมกัน ในเรื่องการเรียนการสอนและการดูแลช่วยเหลือ การเรียนรู้ นักเรียนเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการสายชั้นเพื่อให้หัวหน้า 4. โครงการพัฒนาหลักสูตร สายชั้นนำเรื่องต่างๆ ไปเสนอต่อที่ประชุมของคณะกรรมการ กระบวนการเรยี นรู้ และกจิ กรรม บริหารโรงเรียนในทุกครั้งที่มีการจัดประชุม โดยการประชุมจะ พัฒนาผู้เรยี น ดำเนนิ การไดห้ ลากหลายวิธี เชน่ การประชุมแบบมสี ่วนร่วม การ 5. โครงการพฒั นางานวิชาการ ประชุมระดมสมอง การประชุมกลุ่ม เพื่อให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมใน 6. โครงการปรบั ปรุงภูมทิ ัศน์และ การกำหนดแนวทางแก้ไขปัญหาและร่วมกันปฏิรูปการศึกษาใน พฒั นาแหล่งเรียนรู้ สายชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/1 ที่มุ่งเน้นการพัฒนาให้ผู้เรียน มี รายงานผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพอ่ื การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 5/1 ปีการศึกษา 2565
17 กจิ กรรม/โครงการ/หลกั ฐานร่องรอย ผลการดำเนนิ งาน ทีด่ ำเนินการ คุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรตู้ ามหลักสูตรโรงเรยี นบ้านพลวง 7.โครงการพัฒนาระบบบรหิ าร (พรหมบำรุงราษฎร์) ครูประจำชั้นสามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่าง สถานศึกษาโดยใชโ้ รงเรียนเป็นฐาน มีคุณภาพ มกี ารดำเนนิ การนิเทศ กำกบั ติดตาม ประเมินผล การ 8.โครงการพฒั นาการบริหารจัดการ ดำเนินงาน และการจัดทำรายงานผลการจัดการศึกษา และ ด้านทรพั ยากรทางการศึกษา โรงเรียนได้ใช้กระบวนการวิจัยในการรวบรวมข้อมูล เพื่อใช้เป็น 9.โครงการพัฒนาศกั ยภาพบุคลากร หลักฐานในการวางแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ครูประจำ -เอกสารงานประจำชนั้ ช้ันดำเนนิ การสรา้ งเครือขา่ ยความรว่ มมอื ของผู้มีสว่ นเก่ยี วข้องใน -รายงานการประชุม การจัดการศึกษาของโรงเรียนให้มีความเข้มแข็ง มีส่วนร่วม -รายงาน PLC รับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา และการขับเคลื่อนคุณภาพ -รายงานการนเิ ทศช้นั เรียน การจัดการศึกษาโดยผ่านระบบเทคโนโลยีที่ทันสมัย ทั้ง เว็บไซต์ -รายงานผลการจัดการศึกษา การเรียนการสอน , Facebook , LINE เป็นต้น -รายงานประชุมผ้ปู กครองชนั้ เรียน จดุ ควรพัฒนา -รายงานกจิ กรรมเปิดบ้านวชิ าการ การสร้างเครือข่ายทางวิชาการให้มีความเข้มแข็งมากยิ่งขึ้น ด้วย -รายงานการอบรมตา่ งๆ การดำเนินการ PLC และการสร้างเครือข่ายของผู้ปกครอง -แผนปฏิบัตกิ าร เครือข่ายในสายชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/1 และห้องอื่นๆ -แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ตลอดจนคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พื้นฐานของโรงเรียน และ -แผนการนิเทศภายใน ผ้มู สี ่วนรว่ มในการจดั การศึกษาของโรงเรยี นบ้านพลวงฯ ได้มสี ว่ น -ภาพถา่ ย และเอกสารทีเ่ กยี่ วขอ้ ง ร่วมในการเสนอความคิดเห็นในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนา ผู้เรียนให้มากขึ้นและมีการกำกับ นิเทศ ติดตาม และประเมินผล อย่าง ต่อเน่อื ง มีการนำเสนอผลลพั ธ์ของการดำเนนิ การอย่าต่อเนื่องทุก ภาคเรียนและมีการสะท้อนผลกลับเพื่อนำไปสู่การพัฒนาอย่าง ยั่งยนื ตอ่ ไป รายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพ่อื การประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์)ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 5/1 ปีการศึกษา 2565
18 สรุปมาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ระดับคณุ ภาพ : ยอดเยีย่ ม 1. กระบวนการพัฒนา โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์)ได้ดำเนินการ วิเคราะห์สภาพปัญหาของในแตล่ ะสายชัน้ ผลการจัดการศึกษาที่ผ่าน มาโดยการศึกษา ข้อมูล สารสนเทศจากผลการนิเทศ ติดตาม ประเมินการจัดการศึกษาตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษา ผลการ ทดสอบปลายปี ของนักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/1 ตลอดจนข้อคิดเห็นระหวา่ งปกี ารศกึ ษาทผ่ี ่านมาจากผู้มสี ่วนเกี่ยวข้อง และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และเป้าหมายที่มุ่งหวังในอนาคต มาเป็น ข้อมูลในการประชุมระดมความคิดเห็น เช่น การประชุมผู้ปกครอง ของโรงเรียนภาคเรียนละ 1 ครั้ง การประชุมผู้ปกครองชั้นเรียนภาค เรียนละ 1 ครั้งโดยคุณครูประจำช้ัน จากบุคลากรในสถานศึกษาเพอื่ วางแผนร่วมกันกำหนดเป้าหมาย ปรับวิสัยทัศน์ กำหนดพันธกิจ กล ยุทธ์ ในการจัดการศึกษาของโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มีการปรับแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการ ประจำปี ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และ นโยบายการปฏิรูปการศึกษาพร้อมทั้งจัดหาทรัพยากร จัดสรร งบประมาณ มอบหมายงานให้ผู้รับผิดชอบ ดำเนินการพัฒนาตาม แผนงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดให้ มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ตืดตาม ประเมิน ผลการดำเนินงาน และสรุปผลการ ดำเนินงาน ซึ่งโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์)ได้ใช้แนว ทางการบริหารโรงเรียนแบบโรงเรียนเล็กในโรงเรียนใหญ่ โดยใช้ รูปแบบการบริหาร “Pluangpreom Team” ในการขับเคลื่อน กระบวนการบริหารภายในโรงเรียน ตามวงจรการควบคุมคุณภาพ PDCA โดยแนวทางในการบริหารจัดการชั้นเรียนนั้นได้ดำเนินการ ดงั นี้ รายงานผลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษา เพื่อการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์)ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 5/1 ปีการศกึ ษา 2565
19 1.1 ตดิ ตามพฤติกรรมของนักเรียนและแก้ไข สถานการณ์ได้เหมาะสม โดยการเช็คเวลาเรียนอย่างสม่ำเสมอ ตรวจสอบ และติดตามพฤติกรรมอยา่ งต่อเนื่อง โดยมกี ารศึกษาวิเคราะห์ข้อมูล นักเรยี นรายบคุ คล การออกตดิ ตามเยีย่ มบ้าน การคดั กรองนกั เรียน รายบุคคล การวัดและประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในระดับชั้น ของตนเอง พร้อมให้คำแนะนำปรึกษาและแก้ไขปัญหาให้กับ นักเรียนที่มีปัญหา โดยได้ดำเนินการตามกระบวนการและขั้นตอน ของระบบการดูแลชว่ ยเหลือผูเ้ รยี น ท่มี อี งค์ประกอบ 5 ประการ คอื 1.1.1 การรู้จักผู้เรียนเป็นรายบุคคล โดยจัดเก็บ ข้อมูลผู้เรียนทุกคนเป็นสารสนเทศ และนำข้อมูลไปใช้ในการ วางแผนดูแลผู้เรียน ด้านการเรียนและการปรับพฤติกรรม ดูแล ความปลอดภัยของผู้เรียน มีกิจกรรมป้องกันและแก้ปัญหายาเสพ ติด ส่งเสริมให้ผู้เรียนปฏิบัติตนให้เหมาะสมกับค่านิยมอันดีงาม และมีการดูแลอยา่ งท่วั ถึง ทนั เหตุการณ์ เชน่ จดั ทำเอกสารประจำ ชั้นเรียนเพื่อการรู้จักผู้เรียน เช่น ประวัติของผู้เรียนเกี่ยวกับสภาพ ทางเศรษฐกิจ สุขภาพ การเรียน ฯลฯ อีกทั้งรับผิดชอบเป็นครู ประจำชั้นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/1โดยให้คำแนะนำแก่ ผู้เรียนในด้านการเรียนและการปฏิบัติตนที่เหมาะสม ร่วมประชุม ผู้ปกครองเพื่อช่วยเหลือผู้เรียนทั้งด้านการเรียน ด้านพฤติกรรม โดยจัดตั้งเป็นผู้ปกครองเครือข่ายประสานงานระหว่างผู้ปกครอง ครู โรงเรียนนำข้อมลู ไปใช้ในการช่วยเหลือผู้เรียนด้านการเรียนและ การปรับพฤติกรรม เชน่ การเย่ยี มบ้าน การแนะแนว ดูแลควบคุม ห้องเรียนให้ผู้เรียนมีระเบียบวินัย ไม่เกิดการทะเลาะวิวาททั้งในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน เมื่อพบเห็นผู้เรียน ก่อการทะเลาะวิวาทได้ห้ามปรามและแจ้งต่อครูที่ปรึกษา และฝ่ายพัฒนาผู้เรียน เพื่อสอบหาข้อเท็จจริง แก้ไข พฤติกรรมทไี่ มเ่ หมาะสม รายงานผลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษา เพ่ือการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์)ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 5/1 ปกี ารศึกษา 2565
20 1.1.2 การคัดกรองผู้เรียน ผู้เรียนในปกครองเป็น ผู้เรียนกล่มุ ปกติ ทัง้ หมด 1.1.3 การป้องกันและแก้ไขปัญหา ได้ให้การดูแล ช่วยเหลอื ผูเ้ รียน ดว้ ยความเอาใจใส่กับการดูแลช่วยเหลือผู้เรียนเอา ใจใสก่ บั ผู้เรยี นทุกคนอยา่ งเท่าเทียมกัน แต่สำหรบั ผู้เรียนกลุ่มเส่ียง/ มีปัญหาน้ัน จะเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดและหาวิธีการช่วยเหลือทั้งการ ป้องกัน และการแก้ไขปัญหา โดยไม่ปล่อยปละละเลยผู้เรียนจน กลายเป็นปัญหาของสังคม สร้างภูมิคุ้มกัน ป้องกันและแก้ไขปัญหา ของผู้เรียน เพราะเป็นสิ่งที่ยิ่งใหญ่และมีคุณค่าอย่างมากในการ พฒั นาใหผ้ ้เู รียนเติบโตเปน็ บคุ คลทม่ี ีคณุ ภาพของสังคม 1.1.4 การพัฒนาและส่งเสริมผู้เรียน กิจกรรมหลัก สำคัญ ที่โรงเรียนต้องดำเนินการ คือ กิจกรรมโฮมรูม กิจกรรมPLC การเยี่ยมบ้าน การจัดประชุมผู้ปกครองชั้นเรียน (Classroom Meeting) ซึ่งมีการพบปะกับผู้ปกครองผู้เรียนภาคเรียนละ 1 ครั้ง และการจัดกิจกรรมเสริมสร้างทักษะการดำรงชีวิตและกิจกรรม พฒั นาผู้เรียนดว้ ยการนำผู้เรยี นไปชว่ ยเหลอื สังคม 1.1.5 การส่งต่อไม่มีการดำเนินการเน่ืองจากผู้เรียน อยู่ในกลุ่มปกติและมีทักษะชีวิตอยู่ในเกณฑ์ดี ซึ่งข้าพเจ้าได้จัด กิจกรรมส่งเสริมทักษะชีวิตให้กับผู้เรียน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของระบบ ดูแลช่วยเหลือผู้เรียน ให้ผู้เรียนมีภูมิคุ้มกันที่ดีให้กับตนเอง โดยจัด กิจกรรมการเรียนการสอนและกิจกรรมเสริมทักษะของผู้เรียนใน ปกครอง เพราะการทำงานร่วมกับผู้อื่นในสถานการณ์จริง จะเป็น การปลูกฝังความเป็นประชาธิปไตยให้กับผู้เรียน เช่น จะคอยให้ คำปรกึ ษา และดแู ลผู้เรียนช้ันอย่างใกลช้ ิด เพราะเป็นผู้บริหารจัดการ ในกลุ่มสีของตนเองทั้งหมด ครูคอยให้คำชี้แนะอยู่เคียงข้างผู้เรียน ทำงานคอยเฝ้ามองและแก้ปัญหาและให้กำลังใจรวมทั้งการจัดนิทรรศการ การช่วยงานชุมชนรอบโรงเรียน การ ร่วมงานสาธารณประโยชน์ เช่น งานวัด ข้าพเจ้าจะใช้วิธีการปฏิบัติให้ดูเป็นแบบอยา่ ง และขออาสาสมัครจาก ผู้เรียนที่สนใจ ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้ ส่งผลให้ผู้เรียนได้มีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม กิจกรรมเสริมทักษะช่วย กล่อมเกลาจิตใจผู้เรียน ให้มีความอ่อนโยน เอื้ออาทร ไม่หยาบกระด้างมีพฤติกรรมในเชิงบวก เป็นการพัฒนา ตนเองให้เกิดทักษะการเรยี นรู้ทีจ่ ะอยกู่ ับผู้อืน่ สามารถสร้างงาน คน้ พบตนเอง เกดิ ความเช่ือและศรทั ธาในตนเอง เห็นคณุ คา่ ของตนเอง อีกทงั้ เปน็ การสร้างคา่ นยิ มที่ดีงาม กอ่ ใหเ้ กดิ ความเห็นอกเห็นใจผู้อืน่ ส่งผลให้อยู่ร่วมกัน รายงานผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพ่อื การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 5/1 ปกี ารศกึ ษา 2565
21 ในสังคมอย่างมีความสุข นอกจากนี้ข้าพเจ้าได้เฝ้าระวังสอดส่อง กำกับดูแลผู้เรียนอย่างใกล้ชิดทั้งในและนอก เวลาเรยี น 1.2 จดั ช้นั เรียนใหเ้ ปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ย จัดบรรยากาศภายในห้องเรียนให้สะอาดปลอดภัย มีเทคโนโลยีทีจ่ ำเปน็ ต่อการสบื ค้นข้อมูลและใชเ้ ป็น ส่ือการเรียนรู้ สง่ เสรมิ สภาพแวดลอ้ มและแหล่งเรียนรูภ้ ายในห้องเรียนใหเ้ อ้ือตอ่ การเรียนรู้ ฝกึ ใหผ้ ู้เรยี น รับผดิ ชอบสว่ นรวม เชน่ การดแู ลความสะอาดห้องเรยี น โตะ๊ เก้าอใ้ี ห้เปน็ ระเบยี บ และรักษาสาธารณะสมบตั ิ ของสว่ นรวม จัดวางสว่ นต่าง ๆ ของห้องเรยี นให้เหมาะสมเป็นระเบยี บสวยงามเอื้อต่อการเรยี นรู้ 1.3 กำหนดระเบยี บวนิ ยั ในการเรียนรู้และการอยูร่ ว่ มกันในชนั้ เรยี นอยา่ งต่อเน่ือง ในการกำหนดระเบียบวินัยการอยู่ร่วมกัน ระบบการจัดการห้องเรียน เป็นการสอนให้นักเรียน จดั การตนเองและจดั การกับส่งิ ทอ่ี ยรู่ อบๆตัว ผู้เรยี นรู้สึกอบอ่นุ เคารพกฎ กตกิ า ในการเรยี นรว่ มกบั เพ่ือน ๆ โดย ข้าพเจ้าจะสร้างข้อตกลงร่วมกับนักเรียน ๆ เพราะข้อตกลงมีความสำคัญอย่างยิ่งควรจะต้องมีการพิจารณา ร่วมกัน เพื่อให้ทุกคนปฏิบัติตาม โดยมีการจะสอดแทรกตัวอย่าง ที่เกี่ยวกับระเบียบวินัยและให้ผู้เรียนได้ พิจารณา โดยเร่มิ จาก - การสร้างระเบียบวินัย ระเบียบวินัยสิ่งแรกคือระเบียบวินัยในตนเอง ในเรื่องของการเดิน เข้า ชั้นเรียน การนั่งประจำกลุ่มของตนเอง การสร้างความตระหนักรักและหวงแหนดูแลรักษาวัสดุอุปกรณ์ใน ห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ จากนั้นจึงนำมาสู่ระเบียบวินัยส่วนรวมในเรื่องของการอยู่ร่วมกันกับเพื่อน เคารพกฎกติกาของห้องเรยี น อยา่ งเช่น ไม่ส่งเสยี งดงั รบกวนผอู้ ่นื ไมก่ ่อเหตทุ ะเลาะวิวาท ตง้ั ใจปฏบิ ตั ิงานที่ได้รับ มอบหมายให้สำเร็จโดย ไม่ออกนอกลู่นอกทาง กฎกติกาของการเข้าห้องเรียนให้ตรงต่อเวลา การช่วยกันรักษา ความสะอาดของห้องเรียน และเก็บวัสดุอุปกรณ์ให้เป็นระเบียบก่อนออกจากห้อง ซึ่งระเบียบวินัยเหล่านี้จะ ปลูกฝงั ผเู้ รียนใหน้ ำไปใช้ในทกุ สถานท่ี - กำหนดข้อตกลงร่วมกันในห้องเรียน เช่น หลังเลิกเรียนทุกวันครูและนักเรียนจะต้องร่วมกัน ทำความสะอาด เพราะเป็นการฝึกความรับผดิ ชอบร่วมกัน ไม่เสียงดัง ไม่ออกนอกห้องเรียนก่อนได้รับอนญุ าต ไม่ใช้เครื่องมืออุปกรณ์สื่อสาร (ยกเว้นครูอนุญาตสำหรับสืบค้นข้อมูล) ไม่ทิ้งขยะ ถอดรองเท้าให้เป็นระเบียบ และต้องตั้งใจเรียน จัดโต๊ะเกา้ อ้ีให้เป็นระเบียบ มกี ารจดั ปา้ ยนเิ ทศในห้องเรียนสำหรับให้ความรู้และแจ้งข้อมูล ขา่ วสาร มีทำเนยี บสมาชิกในห้องเรียน เป็นต้น รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา เพอื่ การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์)ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 5/1 ปกี ารศึกษา 2565
22 - การมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้เรียน โดยข้าพเจ้าจะจัดการชั้นเรียนให้เรียบร้อยโดยการมุ่งเสริมแรง ให้คำชมเชยเมื่อนกั เรียนเดนิ เข้าห้องเรียนอย่างเป็นระเบียบ อีกทั้งการที่ข้าพเจ้าให้ความสำคัญกับผู้เรียนทุกคน อย่างเท่าเทียม เพื่อทำให้รู้สึกถึงความสำคัญในตนเองและรู้สึกรักและเป็นเจ้าของสาธารณสมบัติของโรงเรียน ร่วมกัน 1.4 สร้างบรรยากาศให้ผเู้ รียนได้เกิดการเรียนรู้ ในห้องเรียนมีอุปกรณ์สำหรับการเรียนรู้ที่สอดคล้องและครบตามตัวชี้วัด และมีเครื่องมือที่มี ประสทิ ธิภาพสูงให้นกั เรียนไดเ้ รียนรู้เพิ่มเติมในระดับท่สี ูงข้นึ ภายในหอ้ งมคี วามกวา้ งขวาง และไดม้ กี ารออกแบบ บรรยากาศในหอ้ งเรยี นให้น่าเรียน โทนสีหอ้ งชมพอู ่อน มีผ้าม่านปรบั แสงมกี ารจดั หาโต๊ะหนา้ กวา้ งสำหรับทำการ ทดลองและเรียนรู้ที่เหมาะสมกับจำนวนนักเรียนในแต่ละกลุ่ม มีเก้าอี้ที่มีความแข็งแรง สามารถนั่งเรียนและทำ การทดลองได้อย่างสะดวกสบาย มคี วามสูงเหมาะสมกับผู้เรียน ผนงั โดยรอบมีการตกแต่งมุมความรู้เพื่อเป็นการ กระตนุ้ ใหผ้ ้เู รยี นไดเ้ รียนรู้เพิ่มเตมิ นอกจากนห้ี ้องปฏิบตั กิ ารฯ มสี ื่อเทคโนโลยที ี่ทนั สมัย คอมพวิ เตอร์ความเร็วสูง มีมุมสืบค้นความรู้ทางอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงใหน้ ักเรียนได้สืบค้นหาคำตอบและสร้างองค์ความรู้ มีแสงสว่างท่ี เพยี งพอ มีระบบเครอ่ื งเสยี งท่ีทันสมัย มเี ครื่องปรบั อากาศและพัดลมปรับอุณหภูมหิ ้องใหน้ ่าเรยี นอยเู่ สมอ กิจกรรมการเรียนการสอน ปรับเปลี่ยนกระบวนการจัดการเรียนการสอนจากเดิมที่ผู้สอนทำ หน้าที่สอนอยู่หน้าห้องเรียน และผู้เรียนมีหน้าที่นั่งฟังและปฏิบัติตาม มาเป็นให้ผู้เรียนอยู่ในตำแหน่งหน้าช้ัน เรียนทำหน้าที่สอนแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนรู้ให้เพื่อน ๆ ศึกษา ค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเองจาก สถานการณ์ที่ครูกำหนดให้ หรือจากสิ่งที่ตนเองสนใจตั้งคำถามเพื่อค้นหาคำตอบ และครูทำหน้าที่คอยอำนวย ความสะดวกในการเรียนรู้ และคอยชี้แนะให้คำปรึกษาเพิ่มเติมในส่ิงทีน่ ักเรยี นต้องการเรยี นรู้ เพื่อให้นักเรียนทุก คนน้นั สามารถเรียนรู้ให้เป็นไปในทิศทางท่ีถูกต้องไม่หลงทาง รายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพอ่ื การประกนั คุณภาพการศกึ ษา โรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์)ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 5/1 ปกี ารศึกษา 2565
23 1.5 มที ักษะในการดึงความสนใจผู้เรยี น ขา้ พเจา้ ไดน้ ำเอาเทคนิคการจัดกระบวนการเรียนการสอนทห่ี ลากหลาย มาใชด้ งึ ดูดความสนใจ ผู้เรยี น เพอ่ื กระตนุ้ ผู้เรียนให้เกดิ การเรยี นรู้ เช่น สือ่ วีดโี อจาก YouTube เพลง การต์ ูน เกม กิจกรรมต่าง ๆก่อน เรยี น การเล่าเรื่องสร้างแรงบันดาลใจ การนำข้อมลู ข่าวสารและเหตุการณ์ปัจจบุ ันมาตงั้ เป็นประเด็นคำถามให้ นักเรียนคิดวิเคราะห์ การใช้คำถามกระตุ้นความคิด นิทาน เป็นต้น เปลี่ยนสถานที่เรียนรู้ให้สอดคล้องกับ กจิ กรรมการเรียนรู้ เช่นห้องปฏบิ ตั ิการทางวิทยาศาสตร์ หอ้ งคอมพิวเตอร์ เปน็ ต้น สื่อทกุ อยา่ งนอกจากจะทำให้ ผู้เรียนสนุกสนานและอยากเรียนแล้ว ต้องเป็นไปในลักษณะในเชิงสร้างสรรค์และมีประโยชน์นักเรียนสามารถ นำไปปรับใช้ได้จริง นอกจากนี้มีการกล่าวยกย่องชมเชยเพื่อเสริมแรงให้ผู้เรียนรู้สึกภาคภูมิใจในความคิดของ ตนเองและให้ความร่วมมือ กับกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นอย่างดี นอกจากนั้นตัวข้าพเจ้าเองก็มีความสุขทุก ครั้งในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยข้าพเจ้าจะยิ้มแย้มอยู่เสมอ พูดจาไพเราะ ทักทายด้วยคำชมเชย เป็น กัลยาณมิตร และมีมุขตลกหยอกล้อให้ผเู้ รยี นได้หวั เราะ และรู้สกึ ผอ่ นคลายไม่รู้สกึ กดดันในการทำกิจกรรมตา่ ง ๆ รายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพือ่ การประกนั คณุ ภาพการศึกษา โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์)ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 5/1 ปีการศึกษา 2565
24 1.6 มอบหมายงานตามความสามารถนกั เรียน ในดา้ นการฝกึ ทักษะปฏิบตั ิงานของทุกกลุ่มสาระการ เรียนรู้นั้น พื้นฐานทางด้านความรู้และทักษะที่มีอยู่เดิมของผู้เรียน หรือการรับรู้ของผู้เรียนแต่ละคนย่อมมีความแตกต่าง มีความถนัดที่ ไม่เหมือนกัน ผู้เรียนบางคนถนัดทำการทดลอง ค้นหาคำตอบ จาก การปฏิบัติ บางคนถนัดการใช้งานอินเทอร์เน็ต การสืบค้นข้อมูล หรือใช้สื่อออนไลน์ ในขณะที่เรียน ข้าพเจ้าได้เล็งเห็นถึงความสำคญั ในจุดนี้ จึงได้นำกิจกรรมกลุ่มมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนเพ่ือ ปรับความแตกต่างกันของผู้เรียนให้สามารถทำงานร่วมกันได้เป็น อยา่ งดี โดยมีจดุ มุ่งหมายใหผ้ ู้เรยี นได้จดั ทำผลงานตามความสามารถ และความถนัดของตนเอง ซึ่งการมอบภาระงานจะต้องเป็นไปตาม ความสามารถของผู้เรยี น โดยครคู อยทำหน้าท่ีให้คำแนะนำ กระตุ้น และเสริมแรงเชิงบวกให้นักเรียนเกิดความเชื่อมั่นในศักยภาพและ ความสามารถของตนเองจนสามารถทำงานได้สำเร็จ อันจะนำมาซ่ึง การเหน็ คุณค่าและภาคภมู ใิ จในตนเอง 2. ผลการดำเนินงาน 1) การจัดการเรียนการสอนในชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/1 โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) มีดำเนินการตามเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจของโรงเรียนสอดคล้องกับสภาพปัญหา ความ ต้องการพัฒนาของโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) นโยบาย การปฏิรูปการศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น และ สอดคลอ้ งกับแนวทางการปฏิรปู ตามแผนการศึกษาชาติ 2) การดำเนินกิจกรรมต่างๆ ของการจัดการเรียนการสอน ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/1 มีการดำเนินการตามแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการประจำปี สอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียน ทุก กล่มุ เปา้ หมาย มีการพฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ ตามมาตรฐานตำแหน่ง ข้อมูลสารสนเทศมีความ ถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย นำไปประยุกต์ใช้ได้ ดำเนินการอย่างเป็น ระบบ และมีกิจกรรมจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่ กระตนุ้ ใหผ้ ู้เรยี นให้ใฝ่เรียนรู้ รายงานผลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษา เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์)ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 5/1 ปกี ารศึกษา 2565
25 3) ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย มีส่วนร่วมในการร่วมวางแผนพัฒนา คุณภาพการศึกษา และรบั ทราบ รบั ผดิ ชอบตอ่ ผลการจดั การศึกษา 4) ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 5/1 ไดร้ ับการนเิ ทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษาที่เหมาะสม เป็น ระบบและต่อเนื่อง จากผู้บริหารและคณะครู เปิดโอกาสให้ ผู้เกี่ยวขอ้ งมสี ว่ นรว่ มในการจดั การศึกษา 5) การจัดการเรยี นการสอนในสายชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 5/1 โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์)มีรูปแบบการบริหารโดยใช้ รูปแบบการบริหาร “Pluangprom Team” และการจัดการเชิง ระบบ โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ยึดหลักธรรมาภิบาล และแนวคิดหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนตามแนวทางการ ปฏริ ูปการศกึ ษา 6) การพัฒนาครูตามโครงการพัฒนาครูและบุคลากร ทางการศึกษาด้านการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และ เทคโนโลยีที่ส่งเสริมทักษะการคิดและแก้ปัญหา ในรูปแบบออนไลน์ ปีการศึกษา 2565 ของสถาบันส่งเสริมการ สอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.)โรงเรียนได้เปิดโอกาสในการเรียนรู้ของครูอย่างหลากหลาย เพื่อให้ สอดคล้องกับเป้าประสงค์ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยให้มีส่วนร่วมในการเป็นคณะ วิทยากรในการพิจารณาหลักสูตรและจัดอบรมครูในรูปแบบออนไลน์ โดยเปิดรับสมัครครูจากทั่วประเทศ เข้า ร่วมอบรมทั้งในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ในวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี และ หนว่ ยงานอืน่ รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา เพ่อื การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา โรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์)ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 5/1 ปกี ารศึกษา 2565
26 2.7 การมีส่วนร่วมของเครือข่ายในการวางแผนการพัฒนาคุณภาพ การศกึ ษา โรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์)ได้ขับเคลื่อน วสิ ัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ แผนงาน/โครงการ เพื่อมุ่งสู่สมรรถนะหลักทั้ง 3 ระบบ ได้แก่ ระบบการจัดการเรียนรู้ ระบบสนับสนุน และระบบเฝ้าระวัง (Well Care) ภายใต้การบริหารองค์กรสู่ความเป็นเลิศ ใช้การบริหารจัดการด้วย รูปแบบ “Pluangprom Team” โรงเรียนได้ใช้ข้อมูลความต้องการจำเป็น ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีต่อหลักสูตร และกระบวนการจัดการเรียนรู้ ข้อมูล ปัจจัยสำคัญประกอบการวางแผนกลยุทธ์ การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียนได้กำหนดความรับผิดชอบให้ทุกฝ่ายงานปฏิบัติงานอย่างมี ความสมั พันธ์กนั โรงเรียนได้สนับสนุน ช่วยเหลือ และร่วมมือกับองค์กรต่างๆ เช่น สมาคมผู้ปกครองและครู องค์การบริการส่วนตำบลบ้านพลวง วัดปราสาท วารีศรกี ญุ ชร ใหค้ วามร่วมมือกับสำนักงานครุ สุ ภาในการตรวจสขุ ภาพประจำปี และจากสำนักงานสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพลวง โรงพยาบาลปราสาท การให้ความร่วมมือกับสถานีตำรวจภูธรอำเภอปราสาท ในการจัดโครงการการศึกษาเพื่อต่อต้านการใช้ยาเสพติดในเด็กนักเรียน (D.A.R.E.) และการอบรมคุณธรรมและจริยธรรมจากองคก์ รทางศาสนา รายงานผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพื่อการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์)ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 5/1 ปีการศึกษา 2565
27 2.8 การนเิ ทศ กำกับ ติดตามและประเมินผล คณะกรรมการบริหารโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) ไดแ้ ตง่ ตัง้ คณะกรรมการสายชนั้ ใหด้ ำเนินการ ดังนี้ 1) รวบรวมประเดน็ ปญั หา 2) จัดลำดบั ความสำคัญของปัญหา 3) มีคณะกรรมการกลั่นกรอง โดยกรรมการที่ปรึกษาในประเด็นปัญหา ต่างๆ โรงเรียนได้ มอบหมายให้ครูประจำชัน้ และครพู เิ ศษ จัดประชุมชแ้ี จง ประเด็นปัญหา ให้กับคณะกรรมการสายชั้นเพื่อดำเนินการ โดยได้มอบหมายให้งาน วิชาการดำเนนิ การ ดงั น้ี - การดำเนินการในกรณีที่มีผลกระทบเชิงลบต่อสังคม เช่น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่เป็นไปตามความคาดหวัง คณะกรรมการ บริหารโรงเรียนได้ร่วมประชุมเพื่อวิเคราะห์หาสาเหตุและแนวทางการ พัฒนาร่วมกัน และเชิญผูป้ กครองและผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสียมาร่วมประชุม เพ่ือชีแ้ จงทำความเขา้ ใจ - การคาดการณ์ล่วงหน้าถึงความกังวลของสาธารณะที่มีต่อ หลักสูตรและการคาดการณ์ในอนาคต ทางโรงเรียนได้พัฒนาหลักสูตร โดยประเมินผลการใช้หลักสูตรและสำรวจความต้องการของชุมชนและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อทราบความต้องการผลผลิตที่เกิดจากโรงเรียน สำรวจความคิดเห็นจากครูเพื่อวิเคราะห์หาความพร้อมจุดอ่อน จุด แขง็ และนำข้อมลู ไปพฒั นาหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการและ นโยบายจากหนว่ ยงานตน้ สงั กัด - การเตรียมการเชิงรุกต่อผลกระทบ โดยการทำความเข้าใจกับผู้ปกครองและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียถึง วัตถุประสงค์และเป้าหมายของหลักสูตร มีการประชาสัมพันธ์โครงสร้างหลักสูตร รูปแบบการจัดการเรียนการ สอนและคา่ ใช้จา่ ยท่จี ะเกดิ ขน้ึ เพ่อื ให้ผปู้ กครองทราบประกอบการตัดสนิ ใจในการสง่ บตุ รหลานเข้าเรยี น คณะกรรมการฝ่ายวชิ าการดำเนินการประชมุ ครู บุคลากรทกุ ฝ่ายรับทราบและดำเนนิ การตามข้นั ตอน มี การประเมินผลการปฏิบัติ นำเสนอผลต่อคณะกรรมการบริหารโรงเรียนประกอบด้วยหัวหน้ากลุ่มงาน หัวหน้า สายชั้น หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ คณะครูในสายชั้น คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน เพื่อขอ ขอ้ เสนอแนะแนวทางในการดำเนินการตอ่ ไป เพื่อนำไปปรบั ปรุงแก้ไข 3.ข้อเสนอแนะเพิ่มเตมิ โรงเรียนควรกำหนดแผนพัฒนาโครงการกิจกรรม การสร้างอัตลักษณ์ของสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง พัฒนากระบวนการดำเนินการและบริหารจัดการมุ่งพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา พัฒนา รายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพื่อการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา โรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์)ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 5/1 ปีการศกึ ษา 2565
28 โครงการ กิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาผู้เรียนอย่างรอบด้านพัฒนาการมีส่วนร่วมของผู้บริหาร ครู บุคลากรใน ชุมชนและองค์กรภายนอกพัฒนาการนิเทศ กำกับ ติดตาม การปฏิบัติตามกลยุทธ์โคร งการกิจกรรมที่ สถานศกึ ษากำหนดอย่างครบถว้ น โรงเรียนควรกำหนดแผนพัฒนาโครงการกจิ กรรมพเิ ศษอย่างต่อเนือ่ ง สถานศึกษาศึกษาวิเคราะห์ และ ใช้ข้อมูลสารสนเทศด้านนโยบายของต้นสังกัด จุดเน้นตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษา กำหนดแนวทางการ พัฒนาร่วมกันชี้แนะป้องกันและแก้ไขปัญหาสังคมตามนโยบาย จุดเน้น และแนวทางการปฏิรูปการศึกษาของ หนว่ ยงานทเี่ กีย่ วขอ้ งสถานศึกษา ผ้ปู กครอง ชมุ ชน และสงั คมมสี ่วนร่วมในการกำหนดมาตรการส่งเสรมิ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้นผู้เรียนเป็นสำคญั ตวั บง่ ชี้ ระดบั คุณภาพตัวบ่งชี้/ มาตรฐาน 3.1 จัดการเรยี นรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ตั จิ ริง และสามารถ นำไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ได้ 5 4 3 21 3.2 ใช้ส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรียนรู้ท่เี อื้อต่อการเรยี นรู้ 3.3 มกี ารบรหิ ารจัดการช้นั เรียนเชิงบวก 3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรยี นอยา่ งเปน็ ระบบ และนำผลมา พัฒนาผเู้ รียน 3.5 มกี ารแลกเปล่ียนเรียนรู้และให้ข้อมลู สะทอ้ นกลบั เพ่ือพัฒนาและปรบั ปรุงการจดั การเรียนรู้ สรุปผลการประเมนิ มาตรฐานที่ 3 (คะแนนรวมทั้งหมด/5) 5 ระดบั คณุ ภาพ ยอดเยี่ยม กิจกรรม/โครงการ/หลักฐานร่องรอยที่ ผลการดำเนนิ งาน ดำเนินการ จดุ เด่น 1.โครงการโรงเรยี นส่งเสริมสุขภาพ ครูผู้สอนมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และทุ่มเทในการจัด 2.โครงการ ปลกู ฝังคุณธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ มท่ีพึงประสงคข์ องนักเรยี น กิจกรรมการเรียนรูเ้ พื่อพัฒนาผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 โดย 3.โครงการสร้างเสริมพัฒนาทักษะการ ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning พัฒนาการ เรยี นรู้และพัฒนาตนเองของนักเรยี น จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักเรียนได้เรียนรู้ โดยการคิด รายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพ่ือการประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 5/1 ปีการศึกษา 2565
29 กิจกรรม/โครงการ/หลกั ฐานร่องรอยท่ี ผลการดำเนนิ งาน ดำเนนิ การ 4. โครงการพัฒนางานวชิ าการ วเิ คราะห์ คิดสงั เคราะห์ คิดสร้างสรรค์ ไดล้ งปฏิบัตจิ ริง มี 5. โครงการเสริมทักษะกระบวนการในการ การแนะนำวิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ให้ ทำงาน นักเรียนแสวงหาความรูจ้ ากส่อื เทคโนโลยดี ว้ ยตนเองอย่าง 6. โครงการพัฒนาหลักสตู รกระบวนการ ต่อเนื่อง นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศ เรยี นรู้ และกิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และผลงานวิจัยในช้ัน 7. โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศวชิ าการ เรียนของครู ได้รับการตรวจประเมินพร้อมทั้งให้ 8. โครงการยกระดับผลสัมฤทธท์ิ างการ คำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ จากสำนักงานเขตพื้น ศึกษา การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 - แบบรายงานการอา่ นออกเขียนได้ ของ สพฐ. จุดควรพฒั นา -แบบรายงานอ่านเขียนเรียนคิดเลข ตาม ควรนำนักเรียนไปศึกษาแหล่งเรยี นภายนอกโรงเรียน โครงการ 1 โรงเรียน 1 นวตั กรรม ทอี่ ยู่ในท้องถ่นิ ที่สำคัญให้สม่ำเสมอ เช่น ปราสาทหินบ้าน - รายงานผมสมั ฤทธ์ทิ างการศึกษา O-Net พลวง ศูนย์คชศึกษา พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติสุรินทร์ -แบบบนั ทกึ ผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เป็นต้น รวมถึงการนำวัฒนธรรมทางท้องถิ่น ภูมิปัญญา (ปพ.5) ท้องถิ่นให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมให้นักเรียน -แบบรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผเู้ รียน ได้เรียนรู้ และการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักเรียนทันทีเพื่อ รายบุคคล (ปพ.6) นักเรยี นนำไปใชใ้ นการพัฒนาตนเอง -แบบรายงานผลการประเมนิ คุณลกั ษณะ อนั พึงประสงค์ -แบบรายงานผลการประเมนิ สรรถนะ สำคัญของผเู้ รยี น -แบบรายงานผลการประเมนิ อ่านคิด วิเคราะห์เขยี น -แบบรายงานผลการประเมินคา่ นยิ ม 12 ประการของคนไทย -รายงานการวจิ ยั ในชั้นเรียน -รายงานผลการจดั การเรียนรู้ -รายงานผลการจดั โครงการกิจกรรมตา่ งๆ รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา เพ่อื การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์)ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 5/1 ปกี ารศกึ ษา 2565
30 สรปุ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี น้นผู้เรียนเป็นสำคญั ระดบั คุณภาพ : ยอดเยย่ี ม 1. กระบวนการพฒั นา จากนโยบายและวิสัยทัศน์ของโรงเรียนบ้านพลวง (พรหมบำรุงราษฎร์) ได้นำปรัชญาการศึกษา และใช้ทฤษฎีการ เรียนรู้การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism) มาใช้ เปน็ แนวทางในการพฒั นาผเู้ รียน และใชว้ ิธกี ารจดั การเรียนรู้โดย ใช้รูปแบบบันได 5 ขั้นของการพัฒนาผู้เรียนสู่มาตรฐานสากล นำไปใช้ทั้งระบบ และในฐานะ ครูประจำชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/1/1 ได้ยึดกระบวนการดังกล่าวมาใช้การจัดการเรียนการ สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยการดำเนินงาน/กิจกรรมอย่าง หลากหลาย ได้แก่ การพัฒนางานหลักสูตร มีการประชุม ปฏิบัติการ ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาในโรงเรียน พัฒนา กระบวนการจัดการเรียนการสอนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/1/1มีการบูรณาการ ภาระงาน ชิ้นงาน โดย จัดหน่วยบูรณา การSTEM เศรษฐกจิ พอเพยี ง ปรบั โครงสรา้ งรายวิชา หนว่ ยการ เรียนรู้ ลดเวลาเรียน - เพิ่มเวลารู้ สัดส่วนคะแนนแต่ละหน่วย กำหนดคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนที่ สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ ครูจัดการเรียนการสอนที่สร้าง โอกาสให้นักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5/1/1มีส่วนรว่ ม ได้ลงมือปฏิบตั จิ ริงจนสรปุ ความรู้ได้ดว้ ยตนเอง จัดการเรยี นเพือ่ พัฒนาให้นักเรียนเปน็ บุคคลในศตวรรษท่ี 21 ได้ดำเนินการสอน ที่เน้นทักษะการคิด การใช้เทคโนโลยี การแก้ปัญหา และครู ประจำชั้นมีการมอบหมายหน้าที่ให้นักเรียนบริหารจัดการช้ัน เรียน ร่วมคิด วางแผน และออกแบบให้น่าอยู่ น่าเรียน สะอาด และน่าสนใจ เช่น จัดป้ายนิเทศ สื่อต่างๆ เปิดโอกาสให้นักเรียน มสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมที่ครเู ป็นผู้นำในการทำ การเปลี่ยนหน้าท่ีการเป็นหวั หน้าชนั้ และทำหนา้ ที่ในช้ันเรียนหน้าที่ ตา่ งๆของนักเรียน รวมถึงการจัดบรรยากาศตามสถานที่ต่างๆ ทัง้ ภายในห้องเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5/1 และ นอกห้องเรียน ครูใช้สื่อการเรียนการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีการ ประเมินคุณภาพและประสทิ ธิภาพของสื่อการสอน ครูในระดบั ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/1ใช้กระบวนการวิจัยในช้ัน เรียนปีการศึกษาละ 2 เรอื่ ง รายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพอ่ื การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา โรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์)ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 5/1 ปีการศึกษา 2565
31 1. จดั การเรยี นรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัตจิ รงิ และสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดำเนินชีวติ ขา้ พเจ้าไดป้ ฏิบัติหน้าที่การสอนทุกกลุ่มสาระการเรียน ได้ มกี ารวางแผนเตรียมการสอนก่อนลว่ งหน้า เร่ิมจากมีการศึกษา ข้อมูล/วิเคราะห์มาตรฐานการการเรียนรู้ ตัวชี้วัดตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จัดทำ หลักสูตรรายวิชา โครงสร้างรายวิชาแล้วจึงนำมาจัดทำเป็น แผนการจดั การเรียนรู้ ได้มกี ารกำหนดเป้าหมาย ผลการเรียนรู้ จัดสร้างเครื่องมือ สื่อ นวัตกรรมและกิจกรรมการวัดผล ประเมินผล ครอบคลุมทั้งทางด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ จากนั้นจึงทำแผนการจัดการ เรียนรู้ดังกล่าวไปสู่การปฏิบัติตามที่กำหนดไว้เพื่อให้การ ปฏิบัติงานมีคุณภาพ มีผลสัมฤทธิ์และมีมาตรฐานตามที่กำหนด ไว้ เพอ่ื ให้ผเู้ รียนได้รับความรู้อยา่ งเต็มท่ี และรู้จักการแสวงหา ความรู้ด้วยตนเองได้ เอาใจใส่ผู้เรียนอย่างสม่ำเสมอ โดยการ จัดแบ่งผู้เรียนตามระดับความสามารถที่ได้ข้อมูลที่เกิดจากการ วิเคราะห์ผู้เรยี นเป็นรายบุคคล แล้วจัดกิจกรรมที่สอดคล้องและ เหมาะสมกับผู้เรียนโดยใช้สื่อการเรียนการสอนที่หลากหลาย การสอนด้วยเทคนิคและวิธีการที่เหมาะสมกับ ผู้เรียนนั้น จะสามารถทำให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้อย่างเต็มตามศักยภาพ ทั้งนี้ครูผู้สอนตอ้ งมีเทคนิค วิธีการ หรือกระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีห่ ลากหลายและเน้นผูเ้ รยี นเปน็ ศูนย์กลาง เพือ่ ให้ผ้เู รียนเกิดความสนใจใฝ่ เรียนรู้ โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ Active Learning ที่เน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือกระทำและได้ใช้กระบวนการ ความคิด เพื่อพัฒนาศักยภาพทางด้านการคิดแก้ปัญหา และการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ มีการเชื่อมโยงความรู้ กบั กระบวนการเรยี นรู้ และการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ท่สี ่งเสริมใหผ้ ู้เรียนพัฒนาความคดิ ท้งั ความคิดเป็นเหตุเป็น ผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์วิจารณ์ มีทักษะที่สำคัญทั้งทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะใน ศตวรรษที่ 21 ในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาอย่าง เป็นระบบ สามารถตัดสินใจ โดยใช้ข้อมูลหลากหลายและประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้เมื่อผู้เรียนได้รับการ ฝึกฝนตามกระบวนการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เช่น การปฏิบัติการทดลอง การฝึกให้ นักเรียนรจู้ กั สรา้ งแบบจำลองดว้ ยตนเอง การสอนด้วยกระบวนการกลุ่ม การสอนด้วยเกม การสอนด้วยส่ือมัล ติมิเดีย การสอนนอกห้องเรยี น การสาธิต การจำลองสถานการณ์ การสร้างสิ่งประดิษฐ์ การสร้างแหล่งเรียนรู้ ออนไลน์ เปน็ ต้น เพอ่ื ใหเ้ กดิ ประสิทธิภาพสูงสุดในการพฒั นาผู้เรยี น โดยใช้เทคนคิ และทกั ษะการสอนท่ีสำคัญ คือ บูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู้ การสอนแบบเผชิญสถานการณ์จริง การสร้าง ความตระหนัก การมีส่วนร่วม การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพอ่ื การประกนั คณุ ภาพการศึกษา โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์)ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 5/1 ปกี ารศึกษา 2565
32 การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้โดยใช้ทักษะการคิดและการแก้ปัญหา เป็นต้น ซึ่งสรุปเทคนิคและทักษะการสอนท่ี เหมาะสมนั้นจะต้องมอี งคป์ ระกอบ ดังนี้ - จะต้องตอบสนองพฤติกรรมของผเู้ รียน โดยใช้เทคนิคการเสรมิ แรงทเ่ี หมาะสม - จะตอ้ งเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงออกท้ังด้านความคิดและการกระทำ นักเรยี นเห็นคุณค่าและเกิด ความภมู ิใจในตนเอง และตอ้ งรับฟังความคิดเหน็ ของผเู้ รยี นอยา่ งเข้าใจ - จะต้องมีการฝึกให้รู้จักการทำงานเป็นระบบกลุ่ม เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์ ใช้ความคิดร่วมกัน ยอมรับความ คิดเห็นคนอื่น มีจิตอาสา รู้จักการทำงานร่วมกับคนอื่นและ แกไ้ ขปญั หาร่วมกนั - จะตอ้ งมีเทคนิควธิ ีการสอนที่ไม่ทำให้เกิดความเบื่อ หน่าย เช่น การปรับวิธีเรียน เปลี่ยนวิธีสอน ตามความ เหมาะสมของผู้เรียนและรายวิชา ทั้งนี้ เพื่อให้นักเรียนเกิด ความรู้ เจตคติ และทกั ษะตามท่ีหลักสูตรกำหนดไว้ จากการจัดการเรยี นการสอนโดยใช้เทคนิคตา่ ง ๆ ท่ี ผ่านมาสามารถนำไปประยุกต์ใช้เพื่อบริหารจัดการเรียนรู้ บูรณาการแบบครบวงจรร่วมกับรายวิชาอื่น ๆ ในระดับช้ัน ประถมศึกษาปีท่ี 5/1 และบูรณาการร่วมกับฝ่ายกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน และกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ มีการ นิเทศและติดตามการจัดกิจกรรมบูรณาการอย่างเป็นระบบ ส่งผลให้ครูจัดการเรียนการสอนบรรลุตามจุดหมายของ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ พร้อมทั้งสามารถขับเคลื่อนรูปแบบการบูรณาการให้เหมาะสมกับ รายวิชาที่สอน บริบทและความต้องการของชุมชน/ผู้เรียน อีกทั้งมีการประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ซึ่งมี ฐานข้อมูลจากการนำลงสูช่ ั้นเรยี น มีการนิเทศการสอน ซึ่งเปน็ ผลดีทั้งทางตรงและทางอ้อมในการบริหารจัดการ เรียนการสอนอยา่ งมปี ระสิทธผิ ล ผลดีจึงเกดิ ขน้ึ กับผู้เรียนทำให้การจดั การเรียนรเู้ ป็นไปอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา เพื่อการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา โรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์)ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 5/1 ปีการศกึ ษา 2565
33 2. ใชส้ ่ือ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ที่ เออื้ ตอ่ การเรยี นรู้ ในห้องเรียนมีอุปกรณ์สำหรับการเรียนรู้ที่สอดคล้อง และครบตามตัวชี้วัด และมีเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพสูงให้ นักเรียนได้เรียนรู้เพิ่มเติมในระดับที่สูงขึ้น ภายในห้องมีความ กว้างขวาง และไดม้ กี ารออกแบบบรรยากาศในห้องเรียนให้น่า เรียน โทนสีห้องชมพูอ่อน มีผ้าม่านปรับแสงมีการจัดหาโต๊ะ หน้ากว้างสำหรับทำการทดลองและเรียนรู้ที่เหมาะสมกับ จำนวนนกั เรยี นในแตล่ ะกลมุ่ มีเกา้ อี้ทีม่ ีความแขง็ แรง สามารถ นั่งเรียนและทำการทดลองได้อย่างสะดวกสบาย มีความสูง เหมาะสมกับผู้เรียน ผนังโดยรอบมีการตกแต่งมุมความรู้เพื่อ เป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เพิ่มเติม นอกจากน้ี ห้องปฏิบัติการฯ มีสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยเช่น คอมพิวเตอร์ ความเรว็ สงู มีมมุ สบื คน้ ความรู้ทางอินเตอรเ์ น็ตความเร็วสูงให้ นักเรียนได้สืบค้นหาคำตอบและสรา้ งองค์ความรู้ มีแสงสวา่ งที่ เพียงพอ มีระบบเครื่องเสียงที่ทันสมัย และพัดลมปรับ อณุ หภมู ิหอ้ งให้น่าเรียนอยเู่ สมอ การจัดสื่อและอปุ กรณ์จะเป็นไปตามหน่วยการเรียนรู้ นั้น ข้าพเจ้ามีการจัดหาสื่อมาใช้ โดยยึดหลักการเชื่อมโยงจาก รปู ธรรมไปสู่นามธรรม มีการสาธิตและการทำการทดลอง การ ฝึกปฏิบัติจริงด้วยตนเอง หรือการใชส้ ื่อวีดีโอจาก YouTube การใช้เพลง การ์ตูน เกม กิจกรรมต่าง ๆ ตลอดจน การใช้คำถามกระตุน้ ให้ผ้เู รยี นเกดิ กระบวนการคดิ ขณะทำกจิ กรรมอยู่เสมอ จัดแหล่งความรู้สอดคล้องกับกิจกรรม และความสนใจของผู้เรียน ข้าพเจ้าได้สร้างช่อง YouTube เพ่ือ การเรียนรู้เป็นแหล่งให้นักเรียนได้นำผลงานมาใช้ในการนำเสนอผลงาน ให้ผู้เรียนได้ใช้เป็นสื่อในการติดตาม ข้อมลู ขา่ วสาร ความเคลื่อนไหวของเทคโนโลยีสารสนเทศ ทม่ี ีการพฒั นาอยูต่ ลอดเวลา มีการขยายผลการเรียนรู้ด้วยการใช้กลุ่มเครือข่ายสังคมออนไลน์ ให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการ จัดการเรียนรู้ เช่น การแจ้งข้อมูลข่าวสาร ประชาสัมพันธ์ การแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนรู้ การติดตาม ความคบื หน้าและการส่งงานผา่ นระบบออนไลน์ นอกจากนี้เพื่อให้ผู้เรียนตระหนักในการเรียนรู้ในศตวรรษที่21 ครูผู้สอนได้มีการใช้โปรแกรม Education App แอพพลิเคชัน สำหรับใช้ในการให้คะแนนและติดตามการทำงานของผู้เรียนผ่านมือถือ เพื่อให เปน็ การเชอ่ื มการเรยี นรู้ ระหวา่ ง ครู นักเรยี น และผู้ปกครอง รายงานผลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษา เพือ่ การประกนั คุณภาพการศกึ ษา โรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์)ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 5/1 ปีการศึกษา 2565
34 3. มกี ารบริหารจัดการช้ันเรียนเชงิ บวก ในการปกครองชั้นเรยี น ถอื เป็นพืน้ ฐานของการอยู่ร่วมกัน ของคนในสังคม ดังนั้น จะต้องมีกฎเกณฑ์ ระเบียบ แบบแผน ร่วมกัน ทั้งนี้เพื่อความเป็นระเบียบเรียบรอ้ ย และเกิดความสุขใน การอยู่ร่วมกันในสังคมนั้น ๆ ครูนอกจากการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนบรรลุตามจุดประสงค์การเรยี นรู้ที่กำหนดแลว้ ยังมีหน้าที่สำคัญคือการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ทั้งทางด้าน วชิ าการ ความเปน็ อยู่ สภาพครอบครัว เศรษฐกิจ และพฤตกิ รรม สอนให้รู้จักกฎกติกามารยาทที่ถูกต้องเหมาะสม โดยถือว่า นักเรียนก็คือลูกหลานของเรา รักและปรารถนาดีต่อผู้เรียนโดย เท่าเทียมกัน มีการจัดระเบียบในชั้นเรียน เช่น การทำงานกลุ่ม การใช้โทรศัพท์ในห้องเรียน การเข้า-ออกห้องเรียน การวาง รองเท้าหนา้ หอ้ งเรยี น การแตง่ กาย การรักษาความสะอาด ความ รับผิดชอบการจัดป้ายนิเทศในห้องเรียน มารยาทในห้องเรียน เป็นต้น เพื่อให้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ ข้าพเจ้าได้วิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคลเพื่อจัดแบ่ง นักเรียนตามกลุ่มความสามารถ แล้วเลือกสื่อและนวัตกรรมท่ี เหมาะสมกับผู้เรียน เพื่อให้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเกิด ประสิทธิภาพสูงสุด อีกท้ังยังชว่ ยเหลือในดา้ นการศึกษาค้นคว้าหา ความรู้เพิ่มเติมทั้งจากการสืบค้นผ่านทางอินเทอร์เน็ต การศึกษา ข้อมูลจาก ห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ มีการสะท้อนผลการ ทำงาน และผลงานของนักเรียนเพ่ือพัฒนาตลอดจนการให้กำลังใจ และเสริมแรง กับผู้เรียนเปน็ ระยะ ครูและนักเรียนมีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน ครู ไม่ได้มี หน้าที่เพียงแค่สอน แต่ครูเป็นทุกอย่างของนักเรียน ไม่ใช่จบแค่ ในห้องเรียน อย่ทู ่ีไหนก็เป็นครูผูห้ วังดีและคอยแนะนำพร่ำสอนใน สงิ่ ทีด่ ีงามถูกต้องตลอดเวลา ครจู ึงตอ้ งใหค้ วามรัก ความปรารถนา ดีและเป็นกันเองกับนักเรียน เติมเต็มส่วนทีข่ าด สร้างแรงบันดาล ใจให้กับนักเรียน การให้ความเป็นกันเองแต่ทำให้นักเรียนเกรงใจ รายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพอื่ การประกนั คุณภาพการศึกษา โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 5/1 ปกี ารศึกษา 2565
35 มากกว่ากลัว ซึ่งหมายความว่าครูกับนักเรียนจะต้อง สัมพันธภาพที่ดีต่อกัน โดยอาจใช้วิธีต่าง ๆ เช่น ครูต้องรู้จัก ข้อมูลนักเรียนรายบุคคล การจัดตั้ง Line กลุ่มห้องเรียน เพื่อสื่อสารข้อมูลข่าวสารให้สะดวกรวดเร็ว ครูต้องให้ความ สนใจไถ่ถามถึงความเป็นอยูต่ ลอดเวลา ครตู ้องอุทิศเวลาของ ตนแก่นักเรียนนอกเหนือจากเวลาราชการและนอกเวลาเรียน เป็นผู้คอยแนะนำให้คำปรึกษาทั้งด้านวิชาการและความ ประพฤติแก่นักเรียน มอบทุนการศึกษาให้กบั ศิษย์ผู้ประพฤติ ดีแต่ยากจน แนะแนวการศึกษาต่อ แนะแนวการจัดทำ แฟ้มผลงานและการสอบสัมภาษณ์ ในระดับชั้นท่ีสูงขึ้น ให้ คำแนะนำการใช้ชวี ิต และส่งเสริมสนบั สนนุ ให้ศิษย์ได้พัฒนา ตนเองทั้งด้านสังคม อารมณ์ และสติปัญญา ตลอดจนมุ่ง ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมให้ศิษย์เต็มศักยภาพทุกคนอย่าง ทั่วถึง ยกย่องชมเชยแก่ศิษย์ตามโอกาสอันควรตลอดมา ตลอดจนมีกิจกรรมที่ดี ๆ อันแสดงออกถึงความรักความ ผูกพันและความเคารพร่วมกัน เช่น พิธีไหว้ครู กิจกรรมพี่ น้องสัมพันธ์ การนำนักเรียนจัดกิจกรรมความดี กิจกรรมรัก การออม กิจกรรมจิตอาสา นำนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมงาน ประเพณีของชุมชน การจัดกิจกรรมวันขึ้นปีใหม่ การออก เยย่ี มบ้านนักเรยี น เป็นต้น ความสัมพันธ์อันดีระหว่างครูกับนักเรยี นไม่ไดส้ ้นิ สดุ ในช่วงระยะเวลาของการเป็นนักเรียนในโรงเรียนแต่เม่ือ นักเรียนจบการศกึ ษาจากโรงเรยี นไปแลว้ ความเปน็ ครกู ับศิษย์ไม่ได้จบตามไปด้วย ทำใหศ้ ิษยเ์ กา่ รุ่นแล้วรุ่นเล่า ได้หวนกลับมาเยี่ยมครู เข้ามาแนะแนวการศึกษาต่อให้กับรุ่นน้อง กลับมาจัดกิจกรรมติวความรู้ให้กับรุ่นน้อง เป็นสมาชิกของสมาคมศิษย์โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์)เป็นต้น จึงเป็นที่ประจักษ์ชัดว่านักเรียนกับ ครมู คี วามผกู พนั ที่ดีต่อกนั ไมม่ ีทส่ี ิน้ สุด 4. ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รียนอยา่ งเปน็ ระบบ และนำผลมาพัฒนาผเู้ รยี น 4.1 มีการศึกษาเครื่องมือวัดผลประเมินผลด้านการจัดการชั้นเรียนอย่างเหมาะสม วัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ได้อย่างหลากหลาย และนำผลไปใช้ในการพัฒนานักเรียนในการจัดกระบวนการจัดการ เรียนรู้ สิ่งที่ทำให้ครูผู้สอนทราบว่า การจัดการเรียนรู้ของตนเอง ประสบความสำเร็จหรือไม่ เพียงใด สิ่งนั้น คือ ครูต้องมีการวัดผลและประเมินผลนักเรียนด้วยวิธีการที่หลากหลายอย่างต่อเนื่อง และประเมินจากสภาพจริง ขา้ พเจา้ ขอนำเสนอวธิ ีการทีป่ ฏิบัติในการวดั ผลและประเมินผลนกั เรยี น ดงั นี้ รายงานผลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษา เพ่อื การประกนั คุณภาพการศึกษา โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์)ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5/1 ปกี ารศึกษา 2565
36 1) ศึกษาวิธีการวัดและประเมินผลที่หลากหลาย รูปแบบ นำความรู้ความเขา้ ใจไปดำเนนิ การ ไดถ้ กู ต้อง กำหนด รายละเอียดการวัดผลและประเมินผลให้ครอบคลุมทั้งด้าน ความรู้ ทกั ษะ และเจตคติ 2) กำหนดวิธีการวัดและประเมินผล ออกแบบ สร้างเครื่องมือวัดผลในรูปแบบต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับ มาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชว้ี ดั และกิจกรรมการเรียนรู้ 3) ออกแบบ สร้างเครื่องมือ และวิธีการวัดและ ประเมนิ ผล 4) นำผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนานักเรียน ต่อไป 5) รายงานผลต่อนกั เรียน ผปู้ กครอง และผู้บรหิ าร อยา่ งถกู ต้อง สมำ่ เสมอ 4.2 ใช้วธิ ีการวดั และประเมินผลอย่างหลากหลาย 1) มีการศึกษาเครื่องมือวัดผลประเมินผล ด้าน การจดั ชัน้ เรยี นอยา่ งเหมาะสม การศึกษาเครื่องมือวัดผลและการประเมนิ ผล ด้านการจัดการชั้นเรียนนั้น ได้วิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษา การจัดทำตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางของหลักสูตร การจัดทำหน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญและบูรณาการ และศึกษาจากงานวิจัยต่าง ๆ นำมาวิเคราะห์เพื่อหารปู แบบจดั ทำเครือ่ งมือวัดประเมินผล การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของนักเรียนร่วมกันกับ ครูผสู้ อนในรายวิชาเดียวกนั เช่น การประเมินช้ินงาน ผลงาน การทำงานเป็นทีม การทำแบบฝึกหัด ประเมินพฤติกรรม ประเมินความรู้ และทักษะต่าง ๆเป็นต้น โดยมีการ ประเมินผลตามสภาพจริง และใช้เครื่องมือที่เหมาะสม เช่น แบบสังเกต แบบสอบถาม แบบตรวจเช็ครายการ แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน แบบประเมินความพึง พอใจ เปน็ ตน้ โดยมขี ั้นตอนดังน้ี รายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพอ่ื การประกนั คุณภาพการศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์)ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 5/1 ปกี ารศกึ ษา 2565
37 1.1) ศึกษาหลกั สูตรของโรงเรียน ศกึ ษาเอกสารประกอบ หลกั สูตรและวิเคราะห์หลักสูตร 1.2) ออกแบบหนว่ ยการเรียนรูแ้ ละจดั ทำแผนการเรียนรู้ อย่างชัดเจน ซึ่งในแผนการจัดการเรียนรู้นอกจากจะกำหนด มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดแล้ว จะกำหนดจุดประสงค์การ เรียนรู้ที่ครอบคลุมทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านพุทธิพิสัย ด้านจิตพิสัยและ ดา้ นทักษะพสิ ยั 1.3) ระบุเทคนิควิธีการในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ระบุใช้สื่อ/นวัตกรรมที่ใช้ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะสม สอดคลอ้ งกบั เนอ้ื หาสาระและผเู้ รยี น 1.4) กำหนดวิธีการวัดและประเมินผลพร้อมเครื่องมือ การวดั และประเมนิ ผลไว้อยา่ งชัดเจน 1.5) จากนั้นนำแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้จัดกิจกรรม การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ ใช้สื่อ/นวัตกรรมอย่าง หลากหลายประกอบการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ รวมท้ังออกแบบและ สร้างเครอ่ื งมือวดั และประเมินผลการเรียนรใู้ ห้ครอบคลุมตามตัวชี้วัด และมาตรฐานการเรยี นรู้ 2) ใชว้ ิธีการวัดและประเมินผลอยา่ งหลากหลาย ได้มีการกำหนดรูปแบบการวัดและประเมินผล ใน รายวิชาท่รี บั ผดิ ชอบด้วยวธิ ีการท่หี ลากหลายวัดผลโดยยดึ ระเบยี บว่า ด้วยการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ยึดความแตกต่าง ระหว่างบุคคล การ วัดผลระหว่างเรียน หลังเรยี น โดยประเมินจากสภาพจรงิ การสังเกต พฤติกรรม การปฏิบัติ การตรวจผลงาน การจัดทำรายงานสรุป บทเรียน เพื่อหาจุดอ่อนที่ควรแก้ไข นำผลไปปรับปรุงพัฒนาการ เรียนรอู้ ย่างต่อเนื่อง ทำให้นกั เรียนมผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นสงู ขึ้น ทั้งนี้ ข้าพเจ้ามีการวัดและประเมินผลฃคือ การประเมินการปฏิบัติ (Authentic Assessment) และการประเมินสภาพจริง (Performance Assessment) โดยผ่านการปฏิบัติของผู้เรียน โดยการวัดและ ประเมนิ ผลดว้ ยวธิ ีการดังกล่าวต้องวัดและประเมินไดค้ รอบคลุม ครบถ้วนพฤติกรรมของผเู้ รยี นทั้ง 3 ดา้ น ดังน้ี ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) การประเมินความรู้ในรายวิชา เป็นการให้ผู้เรียนได้รับ ความรู้ ความเข้าใจและสามารถประยุกต์ใช้ ทั้งเนื้อหาด้านทฤษฎีและปฏิบัติ ซึ่งความรู้ในเนื้อหาสาระนี้สามารถ ประเมินโดยการใชแ้ บบทดสอบ รายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพ่อื การประกนั คณุ ภาพการศึกษา โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์)ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 5/1 ปีการศกึ ษา 2565
38 ดา้ นจติ พิสยั (Affective Domain) เปน็ การประเมินการแสดงออกของผู้เรียนท้ังหมด ตลอดจน การทำงานร่วมกันและคณุ ลกั ษณะต่างๆ ซ่งึ สามารถประเมนิ ด้วยวิธีการสังเกตไดอ้ ยา่ งชดั เจน ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) การประเมินทักษะในรายวิชาตามทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละทักษะทสี่ ำคญั ของนักเรยี นในศตวรรษที่ 21 4.3 นำผลการประเมินมาพัฒนาการจดั การชั้นเรียน ข้าพเจ้ามีวิธีการประเมินผลการจัดกิจกรรมการ จัดการเรียนการสอนของตนเองเปน็ ประจำทุกปี โดยการจดั ทำเป็น รายงานผลการปฏิบัติงานตนเอง และนำผลจากการประเมินการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนมาพัฒนารูปแบบการสอนใหม่ ๆ เช่น การใช้สื่อทีท่ ันสมัย การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการร่วมกับ รายวิชาอื่น ๆ ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/1 การจัดการเรียน นอกห้องเรียน การให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้าแหล่งเรียนรู้ใหม่ ๆ เพิ่มเติม และการจัดทำสื่อประกอบการสอนเพิ่มเติม นอกจากน้ี ได้นำเทคโนโลยีสารสนเทศใช้เป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อน กิจกรรมการเรียรู้ของนักเรียนในทกุ ๆด้าน เพื่อเสริมสร้างให้ผู้เรียน สามารถเลือกใช้เป็นเครื่องมือสำคัญอีกชิ้นหนึ่งในการสร้างองค์ ความรู้ด้วยตนเอง และนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อ เสรมิ สร้างคุณลักษณะนกั เรียนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ รู้คดิ รู้ ทำ มีเหตุผล สร้างภูมคิ ุ้มกนั ทด่ี ี มคี วามพอเพยี ง ท่ีขับเคล่อื นด้วยคณุ ธรรมนำความรู้ 5. มกี ารแลกเปลีย่ นเรยี นรู้และให้ข้อมูลปอ้ นกลบั เพ่ือปรบั ปรงุ และพัฒนาการจัดการเรียนรู้ 5.1 เผยแพร่ผลการพฒั นาการจดั การชนั้ เรยี น จากผลการพฒั นาตนเองทำใหข้ ้าพเจ้าเกิดองคค์ วามรู้ทีเ่ ปน็ กระบวนการ สามารออกแบบการพัฒนา ผู้เรียนอย่างมรี ะบบและขัน้ ตอนตามหลักวชิ าการ กล่าวคือ เริ่มตั้งแตก่ ารวเิ คราะห์หลักสตู ร ออกแบบหน่วยการ เรียนรู้ จัดทำแผนการเรียนรู้ การใช้สื่อ/นวัตกรรม ตลอดจนการวัดและประเมินผลอย่างมีประสิทธิภาพตาม สภาพจรงิ และจัดทำวจิ ยั ชั้นเรียนซึง่ ไดเ้ ผยแพร่ ดงั น้ี 1) เผยแพรเ่ ปน็ เอกสารให้กับครใู นโรงเรียน โรงเรยี นในศูนยเ์ ครอื ข่าย และโรงเรยี นอน่ื ๆ 2) เผยแพร่ผา่ นส่อื ออนไลน์ Facebook นางสาวลดั ดา สาคเรศ กลุ่มเราชาวพลวงพรหม กลุ่มครดู า ,YouTube หอ้ งเรียนครดู า 3) เผยแพรใ่ นการประชมุ สัมมนา ครใู นโรงเรยี น 4) เผยแพรใ่ นการรจดั นิทรรศการและนำเสนอผลงาน กิจกรรม Open House Online รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา เพ่อื การประกนั คุณภาพการศึกษา โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5/1 ปีการศกึ ษา 2565
39 2. ผลการดำเนินงาน จากการดำเนินงาน/โครงการ/กิจกรรมอย่างหลากหลาย เพื่อพัฒนาให้ครู การจัดการเรียนการสอน ท่ี เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ส่งผลใหผ้ ลการประเมินคุณภาพมาตรฐานที่ 3 อยู่ในระดับดีเลิศ นักเรียนเกดิ ความรูค้ วาม เข้าใจตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน สามารถนำความรู้ที่ได้เรียนรู้ในห้องเรียนไปต่อยอดขยาย ความรู้ของตนเองได้ สามารถนำความรู้ไปอธิบายธรรมชาติและปรากฏการณ์รอบตัว ของตนเอง ได้อย่าง เหมาะสม มีความรู้ความเข้าใจความเป็นมาของชุมชนและสังคมโดยอาศัยทักษะการเรียนรู้ที่ตนเองได้ผ่านการ เรียนรู้ จนส่งผลให้นักเรยี นในประจำชั้นประสบผลสำเร็จ ตามความถนัดและความสนใจของตนเอง คิดเป็นร้อย ละ 95.24 นักเรียนมีผลสำเร็จในด้านความรู้ มีด้านทักษะนักเรียนมีความสามารถในการสื่อสารนำเสนอ ตลอดจนมคี ุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ นักเรียนมีจติ อาสา เปน็ นักเรยี นดศี รพี ลวงพรหม ของโรงเรยี น 3. ขอ้ เสนอแนะเพิม่ เตมิ โรงเรียนควรกำหนดแผนพัฒนาความรู้และทักษะท่ีจำเป็นตามหลักสูตร อยา่ งตอ่ เนื่องพัฒนาการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการจัดการเรียนรู้ การรายงานผลการพัฒนา นักเรียนอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง โรงเรียนควรกำหนดแผนพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างมีสติสมเหตุผลอย่างต่อเนื่องพัฒนาการนิเทศ กำกับ ติดตา ม และ ประเมินผลโรงเรียนควรจัดโครงการเสริมสร้างการมีส่วนร่วม/พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น พ้นื ฐาน ผูป้ กครองนักเรียน รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา เพอ่ื การประกันคุณภาพการศกึ ษา โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์)ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 5/1 ปกี ารศึกษา 2565
40 สรุปผลการประเมนิ ในภาพรวม ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาอยู่ในระดับ 5 คือ ยอดเย่ยี ม จากผลการดำเนินงาน โครงการ และกิจกรรมต่างๆ ส่งผลให้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 5/1 โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) จัดการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประสบผลสำเรจ็ ตามที่ตั้งเป้าหมายไว้ในแต่ละมาตรฐาน จากผลการประเมินสรุปได้ว่าอยู่ในระดับยอดเยี่ยม ทั้งนี้ เพราะ มาตรฐานที่ 1 ผลการจัดการศึกษา อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัด การศึกษา อยใู่ นระดบั ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ อยู่ ในระดับยอดเยี่ยม ทั้งนี้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/1 โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุง ราษฎร์) การจดั กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รียนอยา่ งหลากหลายท่ีเป็นไปตามปัญหาและความต้องการพัฒนาตาม สภาพของผู้เรียน สอดคลอ้ งกับจดุ เน้นของโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) และสภาพของชุมชนท้องถิ่น จนเกิดการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนอยู่ในระดับยอดเยี่ยม พัฒนาการของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุ่มสาระ การเรียนรู้ต่าง ๆ สูงขึ้น มีผลคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบปลายปี สูงขึ้น ในกลุ่มสาระการเรียนภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และเกินค่าเป้าหมายของคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 2 กลุ่มสาระการเรียน ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาษาอังกฤษ เป็นผู้เรียนมีความสามารถในการอ่านและ เขียน การสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ความสามารถในการคิดคำนวณ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารได้ดี และมีความประพฤติด้านคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะตามที่สถานศึกษา กำหนดปรากฏอย่างชัดเจน ดังที่ปรากฏผลการประเมินในมาตรฐานที่ 1 ในด้านกระบวนการบริหารจัดการของ ผบู้ รหิ ารสถานศึกษามีผลการประเมินรายมาตรฐานอยู่ในระดับยอดเยี่ยม ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญ มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีเลิศ วิเคราะห์ ออกแบบและจัดการเรียนรู้เป็นไปตามความ ต้องการของหลักสตู ร และบริบทของสถานศึกษา พัฒนากจิ กรรมการเรยี นรู้ ใชส้ อื่ การเรยี นรู้ ตดิ ตาม ตรวจสอบ และช่วยเหลือนักเรียนเพื่อพัฒนาและแก้ปัญหารายบุคคล และการประเมินผลจากสภาพจริงทุกขั้นตอน และ ดำเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาเป็นอย่างดี และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีความมั่นใจต่อระบบการ บรหิ ารและการจัดการของสถานศกึ ษาในระดบั สงู สืบไป รายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพ่ือการประกนั คณุ ภาพการศึกษา โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 5/1 ปีการศึกษา 2565
41 แบบประเมินมาตรฐานการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน เพอื่ การประกนั คุณภาพภายใน รายห้องเรียน รายงานผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพื่อการประกนั คุณภาพการศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 5/1 ปกี ารศกึ ษา 2565
42 แบบประเมนิ มาตรฐานการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานเพอื่ การประกันคุณภาพภายใน ระดบั ช้ันท่ี ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 5/1 ช่ือโรงเรียน บา้ นพลวง(พรหมบารุงราษฎร์) ตาบล บา้ นพลวง อาเภอ ปราสาท จังหวดั สุรินทร์ สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษา สุรินทร์ เขต 3 ปีการศกึ ษา 2565 มาตราฐานการศกึ ษาชั้นพืน้ ฐาน คะแนน 45 มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู้ รียน ตวั บง่ ชี้ที่ 1.1 ผลสมั ฤทธท์ิ างวิชาการของผเู้ รียน(25 คะแนน ) 25 1.มีความสามารถในการอา่ น การเขียน การสอื่ สาร และการคดิ คานวณ(4 คะแนน) 4 2. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลย่ี นความคิดเห็นและแกป้ ญั หา(4 คะแนน) 4 3. มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม(4 คะแนน) 4 4. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร(4 คะแนน) 4 5. มีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา(4 คะแนน) 4 6. มีความรู้ ทกั ษะพนื้ ฐาน และเจตคตทิ ด่ี ตี อ่ งานอาชีพ(5 คะแนน) 5 ตวั บง่ ช้ีท่ี 2.1 คณุ ลกั ษะทพี่ งึ ประสงคข์ องผเู้ รียน ( 20 คะแนน) 20 1. การมีคณุ ลกั ษณะและคา่ นยิ มทดี่ ตี ามทส่ี ถานศกึ ษากาหนด(5 คะแนน) 5 5 2. ความภูมิใจในทอ้ งถนิ่ และความเปน็ ไทย(5 คะแนน) 3. การยอมรับทจี่ ะอย่รู ่วมกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย(5 คะแนน) 5 4. สขุ ภาวะทางร่างกายและจติ สงั คม(5 คะแนน) 5 ระดบั คุณภาพ ระดบั คะแนน ความหมาย 5 ยอดเยี่ยม 4 ดเี ลศิ 3 ดี 2 ปำนกลำง 1 กำลงั พฒั นำ รายงานผลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษา เพื่อการประกนั คุณภาพการศึกษา โรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์)ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 5/1 ปีการศกึ ษา 2565
เลขท่ี ช่ือ - สกลุ ข้อมูลนักเรียน 43 1 เดก็ ชำยวีระพงษ์ บุญทวี ระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 5/1 2 เดก็ ชำยธนกฤต สำยบุตร์ เลขประจาตวั วันเดอื นปเี กดิ เลขประชาชน อายุ ป/ี เดอื น 3 เดก็ ชำยจิรเมธ ชำตสิ ม 4396 16/7/51 1329400093956 14 9 4 เดก็ ชำยปรินทร์ ดอกศรีจันทร์ 4530 25/8/53 1329400124657 12 7 5 เดก็ ชำยสงกรำนต์ เอกตำแสง 4619 14/8/54 1329400139344 11 8 6 เดก็ ชำยพชั รพล ศรีเครือดำ 4621 24/5/54 1329400135993 11 10 7 เดก็ ชำยอนุวรรตน์ สำมนำม 4625 6/4/54 1329400134211 12 0 8 เดก็ ชำยธรี โชติ สุปูนทน 4626 15/3/55 1329400151069 11 1 9 เดก็ ชำยธนโชติ เปรียบวำรี 4627 13/12/54 1200901641185 11 4 10 เดก็ หญิงบุญหลง ไชยมงคล 4738 13/12/54 1329400146405 11 4 11 เดก็ หญิงฉันทพชิ ญำ ธรรมบุตร 4818 22/1/55 1329400148408 11 2 12 เดก็ หญิงธำรำวดี สำรำญสขุ 4612 5/1/53 1100704176758 13 3 13 เดก็ หญิงศริ ำพร สำรำญสุข 4629 5/11/54 1329400144259 11 5 14 เดก็ หญิงกญั ญำวีร์ กองนคร 4630 13/5/55 1329400153665 10 11 15 เดก็ หญิงอรวรรณ คมุ้ จันอัด 4631 13/8/54 1318600062298 11 8 16 เดก็ หญิงอลิษำ วอระศรี 4632 19/10/54 1329400143121 11 5 17 เดก็ หญิงสริ ำลกั ษณ์ น่ำชม 4634 30/6/54 1329400137406 11 9 18 เดก็ หญิงนภัสสร สำรเงนิ 4635 6/9/54 1329400140750 11 7 19 เดก็ ชำยพสิ ิษฐ์ เป็นเรียบร้อย 4636 3/5/55 1329400153185 10 11 4749 29/8/54 1329400140318 11 7 4986 11/5/55 1329400153533 10 11 รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา เพอ่ื การประกันคุณภาพการศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 5/1 ปกี ารศึกษา 2565
44 มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน แบบประเมินมาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐานเพ่อื การประกนั คุณภาพภายใน ตัวบง่ ช้ีท่ี 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวชิ าการของผู้เรยี น(25 คะแนน ) 1.มีความสามารถในการอา่ น การเขียน การส่ือสาร และการคิดคานวณ(4 คะแนน) โรงเรยี น บา้ นพลวง(พรหมบารุงราษฎร)์ ระดับ ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 5/1 ปกี ารศึกษา 2565 3. ผเู้ รียนมคี วามสามารถใน 4. ผเู้ รียนมคี วามสามารถใน 5. ผเู้ รียนมคี วามสามารถใน 1. ผู้ เรียน มี ผลการค วามสามารถใน ก าร ท่ี ช่ือ - สกลุ รวมเฉล่ีย ประเมนิอ่านได้เหมาะสมต าม 2. ผู้ เรียน มี ดา้ นการสอื่ สารภาษาไทย ดา้ นการสอื่ สารภาษาองั กฤษ ดา้ นการคดิ คานวณเหมาะสม คะแนนราย ค วามสามารถใน ก าร ตัวชว้ี ัด เขียน ได้ เห มาะสมต าม เหมาะสมตามระดบั ชนั้ เหมาะสมตามระดบั ชนั้ ตามระดบั ชน้ั ระดั บ ชั้น ระดั บ ชั้น 1 เดก็ ชำยวรี ะพงษ์ บญุ ทวี 5 5 5 5 5 5 4 ผ่าน/ไม่ผ่าน 1 1 1 1 1 1.00 0.80 ไม่ผำ่ น 2 เดก็ ชำยธนกฤต สำยบุตร์ 4 3 4 4 3 3.60 2.88 ผำ่ น 3 เดก็ ชำยจิรเมธ ชำตสิ ม 4 3 4 3 3 3.40 2.72 ผำ่ น 4 เดก็ ชำยปรนิ ทร์ ดอกศรจี ันทร์ 5 5 5 5 5 5.00 4.00 ผำ่ น 5 เดก็ ชำยสงกรำนต์ เอกตำแสง 3 3 3 3 3 3.00 2.40 ผำ่ น 6 เดก็ ชำยพชั รพล ศรเี ครอื ดำ 3 3 3 3 3 3.00 2.40 ผำ่ น 7 เดก็ ชำยอนวุ รรตน์ สำมนำม 5 4 5 4 5 4.60 3.68 ผำ่ น 8 เดก็ ชำยธรี โชติ สปุ นู ทน 5 4 5 4 4 4.40 3.52 ผำ่ น 9 เดก็ ชำยธนโชติ เปรยี บวำรี 5 5 5 4 5 4.80 3.84 ผำ่ น 10 เดก็ หญิงบญุ หลง ไชยมงคล 4 4 4 3 3 3.60 2.88 ผำ่ น 11 เดก็ หญิงฉนั ทพชิ ญำ ธรรมบตุ ร 5 5 5 4 5 4.80 3.84 ผำ่ น 12 เดก็ หญิงธำรำวดี สำรำญสขุ 5 5 5 4 5 4.80 3.84 ผำ่ น 13 เดก็ หญิงศริ ำพร สำรำญสขุ 3 3 3 3 3 3.00 2.40 ผำ่ น 14 เดก็ หญิงกญั ญำวรี ์ กองนคร 5 5 5 5 5 5.00 4.00 ผำ่ น 15 เดก็ หญิงอรวรรณ คมุ้ จันอดั 5 5 5 4 5 4.80 3.84 ผำ่ น 16 เดก็ หญิงอลษิ ำ วอระศรี 5 5 5 5 5 5.00 4.00 ผำ่ น 17 เดก็ หญิงสริ ำลกั ษณ์ นำ่ ชม 3 3 3 3 3 3.00 2.40 ผำ่ น 18 เดก็ หญิงนภัสสร สำรเงิน 3 3 4 3 3 3.20 2.56 ผำ่ น 19 เดก็ ชำยพสิ ษิ ฐ์ เปน็ เรยี บร้อย 5 3 5 3 3 3.80 3.04 ผำ่ น 19 จานวนนกั เรียนท่ีผ่านตัวช้ีวดั 18.00 คิดเปน็ รอ้ ยละ 94.74 คะแนนรายตัวชี้วัด 3.79 แปลผล ยอดเยย่ี ม รายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพื่อการประกนั คุณภาพการศึกษา โรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์)ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 5/1 ปีการศกึ ษา 2565
Search