Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore CH103-part Periodic table

CH103-part Periodic table

Description: CH103-part Periodic table

Search

Read the Text Version

- โลหะทางดานซา ยของตารางธาตเุ ปน ตัวรีดวิ ซท่ี ดีมาก เสียอเิ ลก็ ตรอนไดง า ย และโลหะหนัก เปน ตัวรดี วิ ซท ี่ดขี น้ึ - อโลหะเปนตัวออกซไิ ดซท ่ีดมี ากรบั อเิ ล็กตรอน ไดดี สอดคลอ งกับคา IE, EN

แนวโนมของสมบตั ทิ างเคมี การเขาทาํ ปฏกิ ริ ิยา • โลหะหมู 1A : พันธะโลหะไมแข็งแรง พลังงานไอออไนเซชันตํา่ ที่สุด ไวตอการเกิดปฏิกริ ิยาทส่ี ุด • ในหมเู ดียวกัน โลหะหนักจะวองไวกวา (ขนาดอะตอมใหญ เสยี e- ไดงา ย) • อโลหะท่วี องไวท่ีสุด คือ ฟลูออรีน เนื่องจากมีคาอิเลก็ โตรเนกาติวติ ี สูงที่สุด พนั ธะ F-F ออ น (รบั e- ไดง าย)

หมู อุณหภมู ิหอง IA 6Li + N2 2Li3N เผาจนรอ นแดง IIA 3Be + N2 Be3N2 เมือ่ ใหความรอน IIIA 2Al + N2 2AlN IVA Sn + N2 / F วอ งไวมาก Li อโลหะ โลหะ I ววอ องงไวไวมมากาก Cs

• อโลหะสามารถทาํ ปฏิกิรยิ ากบั อโลหะดวยกันเกดิ เปน สารประกอบโคเวเลนตไ ด • ปฏิกิริยามกั เกดิ เมอ่ื ใหค วามรอ นจํานวนหน่ึงเพอ่ื ทําลายพนั ธะโคเวเลนตทมี่ อี ยเู ดิม 2H2(g) เผาไหม 2H2O(l) N2(g) + 3H2(g) อณุ หภมู ิ, ความดันสูง 2NH3(g)

แนวโนมความเปนกรด-เบสของสารประกอบ ออกไซดและไฮดรอกไซด ออกไซด ไดแ ก สารประกอบระหวา งธาตุหนึ่ง ๆ กับ ออกซิเจน โดยท่อี อกซิเจนมีเลขออกซิเดชันเปน -2 เชน Na2O B2O3 , P2O5 ไฮดรอกไซด ไดแก สารประกอบที่มีหมู –OH โดยเฉพาะ กรณที ีธ่ าตกุ อพันธะดวยเปนโลหะ สูตรทว่ั ไปเปน M(OH)n หมู –OH มีประจเุ ปน -1

• พันธะระหวาง M ใด ๆ กับ O ในสารประกอบออกไซดและ ไฮดรอกไซดเปน พันธะไอออนิกหรือโคเวเลนตก ไ็ ด ขน้ึ กบั ความแตกตา งของคา อเิ ล็กโตรเนกาตวิ ติ ขี องธาตุ ท้งั สอง • ออกไซดและไฮดรอกไซดของธาตทุ างซายมือมฤี ทธ์ิเปน เบส เมื่อเลอ่ื นมาทางขวา ความเปนเบสจะลดลง จนเปนกรดในท่ีสุด • ในหมูเดียวกนั ออกไซดและไฮดรอกไซดข องธาตหุ นักจะเปน เบสมากข้ึนตามแนวดง่ิ (ให e- ไดง าย)

IA เปนโคเวเลนตม ากขนึ้ VIIA เปน ไอออนกิ โคเวเลนต แนวโนมของออกไซด เก่ียวกับพันธะ มากขึน้ ไอออนกิ ก้ํากงึ่ แนวโนมของออกไซด เปน เบสมากข้นึIA เปน กรดมากข้นึ VIIA เกี่ยวกับความเปนกรด-เบส เบส กรด แอมโฟเทอริก

• กรณีที่ธาตุหนึ่งมเี ลขออกซิเดชันไดหลายคา ความเปน กรดจะแรง ขน้ึ ตามลาํ ดบั ของเลขออกซิเดชันจากต่ําไปสูง (รับ e- ไดงาย) +1 +3 +5 +7 HOCl < HClO2 < HClO3 < HClO4 +4 +6 H2SO3 < H2SO4 กรดออน กรดแก

ไฮไดรด หมายถึง สารประกอบระหวา งธาตุหนึ่ง กับไฮโดรเจน แบงได 3 ชนดิ ตามลกั ษณะของพันธะ 1. ไฮไดรดไอออนิก มีพันธะระหวา ง M+ กบั H- (ไอออนไฮไดรด) ไดแ ก ไฮไดรดของธาตุกลุม s เกือบทงั้ หมด 2. ไฮไดรดเ มตาลกิ มีอะตอมของไฮโดรเจนแทรกอยูในผลกึ บางที เรียกวา interstitial hydride ไดแก ไฮไดรดของธาตุแทรนซิชัน รวมท้ังกลมุ แลนทาไนดและแอกทไิ นด 3. ไฮไดรดโคเวเลนต มีพันธะโคเวเลนตระหวา งธาตุ M กบั ไฮโดรเจน ซึ่งสวนมากมีเลขออกซเิ ดชันเปน +1 ไดแ ก ไฮไดรด ของธาตุกลุม p เกอื บทง้ั หมด

สารประกอบไฮไดรดไ อออนกิ • มีสมบตั ิเปนเบส เนือ่ งจาก H - สามารถใหใ ชค อู เิ ล็กตรอนรวมกนั ได • ความเปนเบสของไฮไดรดจะลดลงจากซา ยไปขวา แตเ พ่มิ ขน้ึ จาก บนลงลา ง สารประกอบไฮไดรดโ คเวเลนต • ธาตหุ นักย่งิ เปนกรดแรงขน้ึ ตามปจ จัย 3 ประการคอื – อิเลก็ โตรเนกาตวิ ิตี – ความแข็งแรงของพนั ธะ M-H ซึ่งเปลย่ี นตามขนาดของ M – พันธะไฮโดรเจนระหวา งโมเลกลุ ของไฮไดรด

• ธาตใุ นคาบเดียวกนั อเิ ลก็ โตรเนกาตวิ ิตมี ีความสาํ คญั มาก เพราะขนาดของธาตุ ใกลเคยี งกนั ความเปนกรดเรยี งตามแนวโนม ของอเิ ล็กโตรเนกาตวิ ิตี • ธาตใุ นหมเู ดยี วกนั ขนาดของ M และพนั ธะไฮโดรเจนมีความสาํ คญั เชน HF นา จะเปนกรดทแ่ี รง แตพันธะไฮโดรเจนท่เี ปน ระเบียบและความ แข็งแรงของ H-F ทาํ ใหเ ปน เพยี งกรดออ น เม่อื เทียบกบั HBr และ HI ทีพ่ นั ธะไมแขง็ แรงและไมม ีพนั ธะไฮโดรเจน H F

H (1S1) ไฮโดรเจนควรอยูท ี่ไหนในตารางธาตุ ? H H+ + e- หมู 1A ? H + e- H- หมู 7A ? H+ เปนกรด สวน H- เปน เบส ไฮโดรเจนควรจดั แยกเปนประเภทของมนั เอง

ธาตุใน Group 1A (ns1, n ไมตํ่ากวา 2) M M+1 + 1e- low ionization energy 2M(s) + 2H2O(l) 2MOH(aq) + H2(g) 4M(s) + O2(g) ทําปฏิกริ ยิ ากับนํา้ ไดไฮดรอกไซดเบส 2M2O(s) เกิดออกไซดไดงาย Li2O Na2O2 Increasing reactivity KO2 RbO2 CsO2



Group 2A Elements (ns2, n ไมต่ํากวา 2) M M+2 + 2e- Be(s) + 2H2O(l) No Reaction Mg(s) + 2H2O(g) Mg(OH)2(aq) + H2(g) M(s) + 2H2O(l) M(OH)2(aq) + H2(g) M = Ca, Sr, or Ba Increasing reactivity



Group 3A Elements (ns2np1, n ไมต ่ํากวา 2) B เปน ก่ึงโลหะ 4Al(s) + 3O2(g) 2Al2O3(s) 2Al(s) + 6H+(aq) 2Al3+(aq) + 3H2(g)



Group 4A Elements (ns2np2, n ไมต่ํากวา 2) ตวั อยางออกไซด: CO2, CO, SiO2 (oxidation No. 4 เสถียรกวา 2) (oxidation No. 4 และ 2 เสถียร Sn(s) + 2H+(g) Sn2+(s) + H2 (g) พอๆกนั ) Pb(s) + 2H+(aq) Pb2+(aq) + H2(g) (oxidation No. 2 เสถียรกวา 4)



Group 5A Elements (ns2np3, n ไมต ่าํ กวา 2) ตวั อยา งออกไซด: N2O, NO2, N2O4, N2O5, P4O6, P4O10 N2O5(s) + H2O(l) 2 HNO3(aq) P4O10(s) + 6H2O(l) 4 H3PO4(aq)



Group 6A Elements (ns2np4, n ไมต ่าํ กวา 2) ตวั อยางออกไซด: SO2, SO3 SO3(s) + H2O(l) H2SO4(aq)



Group 7A Elements (ns2np5, n ไมต ํา่ กวา 2) X + 1e- X-1 X2(g) + H2(g) 2HX(g) Increasing reactivity



Group 8A Elements (ns2np6, n ไมต ่ํากวา 2)





สมบัติของสารประกอบออกไซด Na2O(s) + H2O(l) 2 NaOH(aq) MgO(s) + 2 HCl(aq) MgCl2(aq) + H2O(l) Al2O3(s) + 6 HCl(aq) 2 AlCl3(aq) + 3 H2O(l) Al2O3(s) + 2 NaOH(aq) + 3 H2O(l) 2 NaAl(OH)4(aq) SiO2(s) + 2 NaOH(aq) 2 Na2SiO3(aq) + H2O(l) P4O10 (s), SO3(g), Cl2O7 + H2O ?

สมบัตขิ องสารประกอบออกไซด Na2O MgO Al2O3 SiO2 P4O10 SO3 Cl2O7 แอมโฟ กรด กรด-เบส เบส เทรกิ ชนดิ สารประ ไอออนิก โคแวเลนต กอบ รางแห 3 มติ ิ โมเลกลุ โครงสราง (จoุดCห) ลอมเหลว1275 2800 2045 1610 580 16.8 -91.5 จุดเดือด(oC) ? 3600 2980 2230 ? 44.8 82

ประโยชนของตารางธาตุ -ทํานายสมบตั ิของธาตอุ น่ื ทไ่ี มท ราบ -ใชศกึ ษาเก่ียวกบั โครงสรางอะตอม - สามารถระบุสมบัติทค่ี ลายคลึงหรือสมบัตทิ ่แี ตกตา งของ สารประกอบของธาตตุ า งๆได

ตารางธาตใุ นอนาคต ในป ค.ศ.1969 แกลน ที ซีบรอค (Gland T. Xebork) ทาํ นายตําแหนงของธาตใุ นอนาคตถงึ ลําดับท่ี 168 เชน ทํานาย พบจรงิ ธาตุที่ 104 Hega-hafnium Rutherfordium ธาตทุ ่ี 105 Ega-tantalum Hafnium สําหรับธาตุท่ี 122 ถงึ 153 รวม 32 ธาตุไดนํามาจัดแยกไวอ ีกอนกุ รม หน่ึงตางหาก โดยมตี ําแหนง อยูใตอ นกุ รมแอกติไนด เรยี กช่ือวา super actinide

แกลน ที ซีบรอค (Gland T. Xebork) ยังไดศึกษาและพฒั นาทฤษฎีที่เกี่ยวของกับธาตุ สรปุ ไดดงั นี้ “ธาตใุ นจกั รวาลมีความเปนระเบยี บผสมผสานกลมกลนื กันและสามารถ ววิ ฒั นาการไดจ ากธาตุท่มี ีเลขเชิงอะตอมนอยๆไปสธู าตุท่ีมเี ลขเชิงอะตอม มากขึน้ เรื่อยๆและสามารถเขียนเปนสมการใชท ํานายน้ําหนักเชิงอะตอม” ของธาตุไดด งั น้ี นา้ํ หนกั เชงิ อะตอม = 2.6143 x เลขเชิงอะตอม - 9.2123


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook