Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงงานปลูกพืชไร้ดิน

โครงงานปลูกพืชไร้ดิน

Published by janza55120, 2021-10-04 12:14:28

Description: ผักสลัด

Search

Read the Text Version

โครงงานรายวชิ า IS รหสั วชิ า (IS30201) ผู้จัดทา นางสาว วราภรณ์ นาทนั ใจ เลขที่ 2 นาย ภูริชพล ปันโย เลขที่ 10 นางสาว ภทั รพร ทิปกะ เลขที่ 13 นาย กอ้ งภพ ตนั กรุ ะ เลขท่ี 32 นางสาว ศิรินญา ชูโรจน์ เลขท่ี 36 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 5/3 เสนอ คุณครู ดารงค์ คนั ธเรศย์ โรงเรียนปัว อาเภอปัว จงั หวดั น่าน สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษาน่านเขต 37

ชื่อโครงงาน “การปลกู พืชไร้ดนิ (Hydroponic)” ผ้จู ดั ทา นางสาว วราภรณ์ นาทนั ใจ เลขที่ 2 นาย ภูริชพล ปันโย เลขที่ 10 นางสาว ภทั รพร ทปิ กะ เลขท่ี 13 นาย ก้องภพ ตนั กรุ ะ เลขที่ 32 นางสาว ศิรินญา ชูโรจน์ เลขท่ี 36 รายวิชา IS (IS30201) ปี การศึกษา 2564 ท่ีปรึกษาโครงงาน คณุ ครู ดารงค์ คนั ธเรศย์

ก บทคดั ย่อ ปัจจุบนั สารพิษในผกั มีค่อนขา้ งมาก หากเรารับประทานผกั ท่ีมีสารพิษอยู่ ก็อาจจะก่อให้เกิดสาร ตกคา้ ง จนเกิดโรคต่าง ๆ ได้ ดงั น้นั ผูค้ นจึงตอ้ งการที่จะปลูกผกั ที่ปลอดสารพิษไวร้ ับประทาน เพ่ือลดสาร ตกค้างในร่างกาย ผูจ้ ัดทาจึงได้นาวิธีการปลูกพืชผกั โดยไม่ใช่ดินด้วยวิธี ไฮโดรโปนิกส์ จึงได้จัดทา โครงงานปลูกพืชไร้ดินข้ึน เพ่ือให้ผคู้ นสามารถปลูกผกั ไฮโดรโปนิกส์ไวร้ ับประทานเองอย่างปลอดภยั ไร้ สารตกคา้ ง และสามารถปลกู พชื ผกั โดยนาไปจาหน่ายเพือ่ หารายไดส้ ู่ครอบครัวและชุมชน

ข กติ ติกรรมประกาศ โครงงานน้ีสาเร็จลุล่วงได้ดว้ ยความกรุณาจาก คุณครู ดารงค์ คนั ธเรศย์ ท่ีปรึกษาโครงงาน ท่ีได้ เสนอแนะ แนวคิด ตลอดจนแกไ้ ขขอ้ บกพร้องต่าง ๆ มาโดยตลอด จนโครงงานเล่มน้ีเสร็จสมบูรณ์ ผูจ้ ดั ทา จึงขอกราบขอบพระคุณเป็นอยา่ งสูง ขอกราบขอบพระคุณพ่อ คุณแม่ และผปู้ กครอง ท่ีใหค้ าปรึกษาในเรื่องตา่ ง ๆ รวมท้งั เป็นกาลงั ใจที่ดี เสมอมา สุดทา้ ยขอขอบคุณเพ่ือน ๆ ท่ีช่วยให้คาแนะนาดี ๆ เกี่ยวกบั การสืบคน้ ขอ้ มูล และมีส่วนร่วมในการ ลงมือปฏิบตั ิการเก่ียวกบั โครงงานชิ้นน้ี

สารบัญ ค บทคดั ยอ่ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบญั ค บทท่ี 1 บทนา 1-3 บทที่ 2 เอกสารที่เก่ียวขอ้ ง 4-10 บทท่ี 3 วธิ ีการดาเนินงาน 11-13 บทท่ี 4 ผลการดาเนินงาน 14 บทท่ี 5 สรุปผลการดาเนินงาน 15 บรรณานุกรม 16

1 บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคญั ของโครงงาน ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรมมาแต่โบราณ การปลูกพืชในสมยั ก่อนจะใชว้ ิธีการปลูกพืชในดิน ซ่ึง การปลูกพชื ในดินกเ็ ป็นวธิ ีที่นิยมปฏิบตั ิกนั ทว่ั ไป ท้งั น้ีเพราะเป็นวิธีที่งา่ ย ประหยดั คา่ ใชจ้ ่ายและไม่ตอ้ งดูแล รักษาเป็นพิเศษ แต่ก็พบปัญหามากเช่นกนั ซ่ึงไดแ้ ก่ 1.ปัญหาสภาพอากาศ เช่น ในฤดูแลง้ พ้ืนดินจะแหง้ และขาดความอุดมสมบูรณ์ ทาใหเ้ ป็นอุปสรรค ในการเพาะปลกู เพราะการปลกู พชื วธิ ีน้ีใชด้ ินเป็นองคป์ ระกอบหลกั 2.ความเส่ียงในผลผลิต สมยั ก่อนการเพาะปลูกน้นั จะทาเพอื่ บริโภคในครัวเรือน ส่วนที่เหลือก็นาไป แลกเปลี่ยนกับเคร่ืองอุปโภค บริโภคแทนการใช้เงินซ้ือ การเพาะปลูกระบบน้ีจึงเป็ นการเพาะปลูกแบบ พอเพยี ง จึงไม่ค่อยมีปัญหาเร่ืองศตั รูพืช แตป่ ัจจุบนั จุดประสงคข์ องการปลูกเปล่ียนมาเป็นเพื่อการคา้ และใช้ ระบบการปลูกแบบขยายวงกวา้ งซ่ึงมีความยากลาบากในการป้องกนั ปัญหาจากศตั รูพืช ดงั น้นั จึงมีการนายา ฆา่ แมลงเขา้ มาใช้ เพ่ือใหผ้ ลผลิตท่ีไดม้ ีความสวยงาม และเมื่อนาออกสู่ตลาดจะขายไดร้ าคาดี แตก่ ารทาเช่นน้ี ส่งผลเสียต่อสุขภาพของผบู้ ริโภคเป็นอย่างมาก เพราะเม่ือรับประทานเขา้ ไปเป็นเวลานาน สารพิษเหล่าน้ีก็ จะสะสมและตกคา้ งอยใู นร่างกาย 3.ขอ้ จากดั ของสถานที่ ข้ึนชื่อวา่ การปลูกพืชในดินก็จะตอ้ งปลูกในสถานท่ีท่ีเป็นดิน ทาให้ผูท้ ่ีอาศยั อยใู่ นพ้นื ท่ีท่ีจากดั เช่น แฟลต หรือ อาคารชุด ไม่สามารถเพาะปลกู ได้ จากปัญหาขา้ งตน้ น้ีทาใหม้ ีผนู้ าวิธีการปลูกพืชแบบใหม่เขา้ มาใชเ้ พ่ือลดปัญหาขา้ งตน้ ซ่ึงวิธีการท่ีวา่ น้ีก็คือ “การปลกู พชื แบบไร้ดิน (Soilless Culture)” ปัจจุบนั การปลูกพืชดว้ ยวิธีไฮโดรโปนิกส์มีเทคนิคท่ีคิดคน้ ใหม่ๆหลากหลายรูปแบบ มิไดจ้ ากดั อยู่เฉพาะ การปลูกพืชในน้า (water culture) เท่าน้นั บางกรณีมีการใชว้ สั ดุปลูก (substrate) ทดแทนดินท้งั หมดและ รดด้วยสารละลายธาตุอาหารพืช ซ่ึงเรามักเรียกว่า ซับส์เทรต คัลเจอร์ (substrate culture)หรือมีเดีย คลั เจอร์ (media culture) หรือแอกกรีเกตไฮโดรโปนิกส์ (aggregate hydroponics) เทคนิคดงั กล่าวนิยมเรียกว่า

2 การปลูกโดยไม่ใชด้ ิน หรือ การปลูกพืชไร้ดิน (soilless culture) ซ่ึงเป็นท่ีน่าสังเกตวา่ เทคนิคการปลูกพชื ใน น้าก็ดี หรือ การปลูกพืชด้วยวิธีไฮโดรโปนิกส์รูปแบบอ่ืนๆ ก็ดี บางคร้ังก็อาจเรียกรวมๆ ว่า soilless culture แทนคาวา่ hydroponics ก็ได้ ไฮโดรโปนิกส์ มีประโยชน์หลกั ๆ 2 ประการดว้ ยกนั ประการแรกคือช่วยให้มีสิ่งแวดลอ้ มที่ควบคมุ ไดม้ ากข้ึนสาหรับการเติบโตของพชื แทนที่จะเป็นการใชด้ ินอยา่ งเดิม ทาใหก้ าจดั ตวั แปรที่ไม่ทราบออกไป จากการทดลองไดจ้ านวนมาก ประการท่ีสองก็คือ พืชหลายชนิดจะใหผ้ ลผลิตไดม้ ากในเวลาที่นอ้ ยกว่าเดิม และในบางคร้ังกม็ ีคณุ ภาพที่ดีกวา่ เดิมดว้ ย ซ่ึงในสภาพแวดลอ้ มและสภาพการเศรษฐศาสตร์หน่ึงๆ การปลูก พชื แบบไฮโดรโปนิกส์จะใหผ้ ลกาไรแก่เกษตรกรมากข้นึ และดว้ ยการปลูกที่ไม่ใชด้ ินจึงทาใหพ้ ืชไมม่ ีโรคที่ เกิดในดิน ไม่มีวชั พืช ไม่ตอ้ งจดั การดิน และยงั สามารถปลูกพืชใกลก้ นั มากได้ ดว้ ยเหตุน้ีพืชจึงใหผ้ ลผลิต ในปริมาณที่มากกวา่ เดิมขณะท่ีใชพ้ ้ืนท่ีจากดั นอกจากน้ียงั มีการใชน้ ้านอ้ ยมากเพราะมีการใชภ้ าชนะ หรือ ระบบวนน้าแบบปิ ด เพ่ือหมุนเวียนน้า เม่ือเทียบกบั การเกษตรแบบเดิมแลว้ นบั วา่ ใชน้ ้าเพียงส่วนนอ้ ยนิด เทา่ น้นั ดว้ ยคุณภาพที่กล่าวมาขา้ งตน้ ทาให้ไฮโดรโปนิกส์มีประโยชน์กบั การปลูกพืชท่ีไมใ้ ช่วิธีการแบบเดิมๆ นักเขียนนิยายวิทยาศาสตร์ได้เสนอมานานแลว้ ว่า ไฮโดรโปนิกส์น้ันจะทาให้สถานีอวกาศ หรือ ยาน อวกาศ สามารถปลูกพืชไร้ดินไดเ้ อง และคุณสมบตั ิดงั กล่าวน้ีทาให้ไฮโดรโปนิกส์เหมาะอยา่ งยงิ่ สาหรับผทู้ ี่ ตอ้ งการปลูกพชื โดยการการควบคมุ ปัจจยั ท่ีเก่ียวขอ้ งไดม้ ากที่สุด และมีความหนาแน่นสูงสุด การปลกู พืชไร้ ดินเป็ นการนาสารละบายธาตุอาหารมาละลายโดยใช้ธาตุอาหารท่ีเหมาะสมต่อควา มต้องการของพืช เช่นเดียวกบั การปลูกพชื ในดิน แต่ตา่ งกนั ตรงพชื ท่ีปลกู ในดินจะตอ้ งอาศยั จุลินทรียม์ าเปล่ียนเป็นรูปของธาตุ อาหารซ่ึงบางคร้ังหากในดินมีธาตุโลหะหนกั เช่นดีบุก ตะกวั่ แคดเมียม ซ่ึงเป็นพิษต่อผบู้ ริโภค จุลินทรียก์ ็ เปล่ียนให้พืชสามารถดูดธาตุท่ีเป็นพิษเขา้ ไปได้ แต่ในขณะที่การปลูกพืชไร้ดินเราสามารถควบคุมธาตุที่มี ความจาเป็นเฉพาะการเจริญเติบโตของพชื และความปลอดภยั ต่อผบู้ ริโภคเท่าน้นั ผจู้ ดั ทาโครงการเห็นวา่ การปลูกผกั แบบไร้ดิน เป็นนวตั กรรมใหม่ท่ีจะทาใหก้ ารเกษตรของบา้ นเราสามารถ กา้ วไกลไปไดอ้ ีก อีกท้งั ยงั สามรถทาไดโ้ ดยไม่ตอ้ งมีพ้ืนท่ีท่ีกวา้ งขวางมากนกั และเป็นอีกหน่ึงทางเลือกของ ผูส้ นใจที่จะทาการเกษตรในแนวน้ี ท้งั เป็ นการช่วยเหลือผู้ บริโภคในอีกทางหน่ึงดว้ ย เพราะในปัจจุบนั ผบู้ ริโภคส่วนใหญ่หนั มาใหค้ วามสาคญั กบั การรับประทานพืชผกั ท่ีปลอดสารพิษกนั มาข้นึ อีกท้งั ยงั เป็นการ ลดปัญหาส่ิงแวดลอ้ มและปัญหาต่อสุขภาพตอ่ เกษตรกรและผบู้ ริโภคดว้ ย

3 วัตถุประสงค์ของการทาโครงงาน 1.เพอ่ื ใหผ้ ทู้ ี่ตอ้ งการปลกู ผกั ไฮโดรโปนิกส์ไวร้ ับประทาน มีพ้ืนท่ีในการปลูกผกั ไวร้ ับประทาน 2.เพื่อใหผ้ คู้ นไดร้ ับประทานผกั ที่ปลอดสารพษิ ไดอ้ ยา่ งปลอดภยั 3.เพือ่ นาเทคนิคการปลกู พืชไร้ดินไปตอ่ ยอดเพื่อหารายไดเ้ ขา้ สู่ครอบครัวและชุมชน สมมตฐิ านของการศึกษา พชื สามารถเจริญเติบโตไดโ้ ดยไมใ่ ชด้ ินในการเพาะปลูก ขอบเขตของการทาโครงงาน การศึกษาการทาสวนผกั ไฮโดรโปนิกส์อเนกประสงคใ์ นคร้ังน้ี ทาการทดลองปลูกเฉพาะผกั ท่ีมีอยู่ ในประเทศไทยเท่าน้นั การทาสวนผกั ไฮโดรโปนิกส์ กาหนดใชเ้ วลาในการศึกษาระหวา่ งเดือน มิถุนายน-กรกฎาคม โรงเรียนปัว ตาบลปัว จงั หวดั น่าน ผลที่คาดว่าจะได้รับ สามารถนาไปใชก้ บั คนที่ไม่มีเวลาและไม่มีพ้ืนที่ท่ีเหมาะแก่การเพาะปลกู และสามารถนาไปต่อยอดไดโ้ ดย การนาไปดดั แปลงใชก้ บั โรงงาน โดมขนาดใหญ่ท่ีปลูกผกั เพื่อช่วยใหเ้ กษตรกรไม่ ตอ้ งเสียเวลาในการดูแล และทาใหเ้ กษตรกรมีเวลามากข้นึ

4 บทที่ 2 เอกสารท่ีเกย่ี วข้อง การปลกู พชื ไร้ดิน (Soilless Culture) เป็นการปลกู พืชในสารละลายธาตอุ าหารพืช (Water culture หรือ Hydroponics) เป็นการปลูกพืช โดยใหร้ ากแช่ในสารละลายธาตอุ าหารพชื และบางส่วนสัมผสั อากาศ (Aeroponics) หรือเป็นการปลกู พชื บนวสั ดุ ท่ีไม่ใช่ดินและรดดว้ ยสารละลายธาตอุ าหารพืชหรือน้าป๋ ุย (Substrats) ระบบไฮโดรโปนกิ ส์ที่น่าสนใจ 1. ระบบ NFT (Nutrient Film Technique) เป็นการปลูกพชื โดยใหร้ ากสัมผสั กบั สารอาหาร โดยสาร อาหาร จะไหลเป็นแผน่ ฟิ ลมบ์ างๆ หนา 1-3 มิลลิเมตร และสารละลายธาตอุ าหารจะมีการไหลหมุนเวยี นกลบั มา ใช้ อีกคร้ัง 2. ระบบ DFT (Deep Flow Technique) เป็นการปลกู พชื โดยใหร้ ากสมั ผสั กบั สารอาหารในน้าลึก 3- 5 เซนติเมตร โดยจะปลกู ในราง ในภาชนะ หรือในถาดปลกู กไ็ ด้ 3. ระบบ DRFT (Dynamic Root Floating Technique) จะคลา้ ยกบั ระบบDFT เป็นการปลูกพชื โดยให้ ราก สัมผสั กบั สารอาหารในน้าลึก 3-5 เซนติเมตรและอากาศ ประเภทของผักสลดั ในอาหารลดน้าหนกั อยา่ งสลดั ผกั 1 จาน สามารถใส่อะไรลงไปไดห้ ลายอยา่ ง ท้งั ผกั ผลไม้ เน้ือสัตว์ ไขไ่ ก่ ขนมปังกรอบ หรือแมแ้ ตธ่ ญั พืชชนิดตา่ ง ๆ กส็ ามารถรับประทานคูก่ บั น้าสลดั อีกมากมายไดส้ บาย ๆ แตถ่ า้ จะคดั เฉพาะผกั ลว้ น ๆ หลายคนก็อาจจะอยากรู้วา่ คนทวั่ ไปเขานิยมรับประทานผกั ชนิดไหนกนั บา้ ง วนั น้ีกระปุกดอทคอมกเ็ ลยนาความรู้เรื่องผกั สลดั หลากหลายชนิดท่ีคนนิยมมาใหไ้ ดร้ ู้กนั ส่วนจะมีผกั ชนิด ไหนกนั บา้ ง ดงั น้ี ผกั กาดคอส ผกั กาดคอส (Cos Lettuce) มีชื่อเรียกมากมาย ท้งั ผกั กาดโรเมน (Romaine Lettuce) ผกั กรีนคอส เบบ้ี คอส บา้ งกเ็ รียกผกั กาดหวาน เป็ นผกั สลดั อนั ดบั ตน้ ๆ ท่ีนิยมรับประทานกนั ดว้ ยความที่ผกั กาดชนิดน้ีมี รสชาติขมเลก็ นอ้ ย แตม่ ีความกรอบและเบา เหมาะจะนาไปทาเป็นซีซาร์สลดั ไดส้ บาย ๆ นอกจากน้ีผกั กาด คอสยงั อดุ มไปดว้ ยวิตามินซี มีไฟเบอร์สูง โพรแทสเซียม และกรดโฟเลตก็สูงไม่แพก้ นั ดว้ ย

5 บัตเตอร์เฮด ผกั กาดหอมบตั เตอร์เฮด (Butter head Lettuce) เองก็เป็นผกั ที่นิยมกินเป็นสลดั ดว้ ยเช่นกนั เพราะมี รสชาติหวาน กรอบ อร่อย เหมาะจะกินคู่กบั เน้ือปลาทนู ่า และเน้ือสัตวช์ นิดอื่น ๆ อีกท้งั ผกั กาดหอมบตั เตอร์ เฮดยงั อุดมไปดว้ ยวิตามินเอ โพรแทสเซียม กรดโฟเลต แต่ขอ้ เสียกค็ อื เกบ็ ไดไ้ ม่เกิน 2 วนั ก็จะเห่ียวเน่าไมน่ ่า กิน ผกั กาดแก้ว แค่ชื่อผกั กาดแกว้ กบ็ ง่ บอกไดถ้ ึงความกรอบของผกั ชนิดน่ีแลว้ เนอะ แถมผกั กาดแกว้ เองกม็ ีความ หวานอยใู่ นตวั อีกดว้ ย เลยไม่น่าแปลกใจท่ีจะเป็นผกั อีกชนิดท่ีนิยมรับประทานเป็นสลดั ผกั ส่วนเร่ืองคุณคา่ อาหารก็ไม่ตอ้ งพูดถึง ผกั กาดแกว้ อดุ มไปดว้ ยไฟเบอร์ วิตามินเอ วติ ามินซี โพรแทสเซียม กรดโฟเลต และ สารอาหาร รวมท้งั แร่ธาตทุ ี่มีประโยชนก์ บั ร่างกายเราอีกมากมาย เรดคอรัล ผกั กาดคอรัล (Red Leaf Lettuce) บา้ งก็เรียกว่า เรดคอรัล หรือผกั กาดหอมใบแดง จะมีรสชาติไม่ แตกต่างจากผกั กาดหอมชนิดอ่ืนเท่าไร นอกจากอาจจะมีรสชาติท่ีหวาน และกรอบกวา่ รวมท้งั สีแดง ๆ ของ ผกั กาดชนิดน้ี อาจจะช่วยกระตุน้ น้ายอ่ ยของมนุษยไ์ ดด้ ีกวา่ ผกั กาดหอมสีเขยี วธรรมดา ซ่ึงผกั กาดหอมสีแดง เองกอ็ ุดมไปดว้ ยสารตา้ นอนุมูลอิสระ วิตามินเอ และกรดโฟเลตอีกดว้ ย ชิโครี ชิโครี (Chicory) มีรสชาติออกขมนิด ๆ แอบมีรสเผด็ ร้อนหน่อย ๆ ดว้ ย เลยเหมาะที่จะนาไปกินเป็น ผกั สลดั อีกท้งั ยงั อุดมไปดว้ ยวติ ามินเอ และวติ ามินซีที่สูงมากอีกดว้ ย เรดิชิโอ เรดิชิโอ (Radicchio) รูปร่างคลา้ ยหัวกะหล่าปลี มีสีแดงอมม่วง มีรสขมเลก็ นอ้ ย ท่ีถึงแมจ้ ะหาซ้ือได้ ยาก แต่ก็ยงั มีขายตามซูเปอร์มาเกต็ ช้นั นาทวั่ ไป และถึงแมจ้ ะเป็นผกั ท่ีขาดแคลนคลอโรฟิ ล แต่ก็ยงั มีวิตามิน ซี และธาตุเหลก็ ท่ีสูงมาก ๆ ทดแทนกนั ไดอ้ ยู่ เรดโอ๊ดและกรีนโอ๊ด ผกั เรดโอ๊คและกรีนโอ๊ค (Red Oak, Green Oak) มีท้งั สีแดงและสีเขียว ลกั ษณะใบหยกั โคง้ มน มีรส หวานกรอบ และมีกากใยอาหารสูง ช่วยลา้ งผนงั ลาไส้ ต้นอ่อนผกั เป็นการนาเอาตน้ อ่อน หรือยอดอ่อนของผกั หลาย ๆ ชนิดมารวมกนั โดยส่วนมากจะเป็นผกั ตระกูล ผกั กาดมากกว่า และจะผสมผสานผกั หลาย ๆ สี เพื่อให้ไดค้ ุณค่าทางสารอาหารอย่างครบถว้ น เหมาะจะกิน กบั สลดั ทกุ แบบทุกสไตล์

6 การเจริญเติบโตของผกั สลดั การปลูกผกั สลดั ไฮโดรโปนิกส์เบ้ืองตน้ โดยทวั่ ไปผกั สลดั จะมีอายกุ ารปลกู ประมาณ 6 สัปดาห์ (42 วนั สามารถกินได้ ผกั มีน้าหนกั ไดท้ ี่ มีรสชาติอร่อย หากเกิน 50 วนั ผกั จะแก่ทาใหม้ ีรสชาติขม ไมอ่ ร่อย) การดแู ลผักสลดั การเติมน้าสะอาดลงในถงั ดาหนา้ โตะ๊ ปลูก วนั ละ 2 คร้ัง คือในช่วงเวลา 11.00 น. และ 14.00 น. ใน ทกุ ๆ วนั การเติมน้าน้นั จะเป็นการเติมท่ีสูญเสียหายไปจากถงั น้าวนในแตล่ ะโต๊ะ ซ่ึงพืชผกั นาไปใช้ ระเหยไปกบั อากาศ ส่วนการเติมป๋ ุย A B และธาตอุ าหารเสริม จะเติมในช่วงเวลาเยน็ ของทกุ วนั เพราะป๋ ยุ ที่ผสมลงไปจะ เกิดการตกตะกอนถา้ น้าในถงั มีความร้อนสูง เน่ืองจากถา้ น้าป๋ ุยในถงั ร้อนจะส่งผลใหน้ ้าป๋ ยุ ซ่ึงเป็นสารละลาย ที่เติมลงไปจะตกตะกอน ส่วนหน่ึงกต็ อ้ งไม่ใหถ้ งั น้าป๋ ยุ ท่ีทุกโต๊ะปลกู จะตอ้ งมี ไม่ร้อน ความร้อนของน้าท่ี หมุนเวียนในรางมนั จะส่งผลต่อผกั ทาใหผ้ กั ไม่โต เกิดโรครากเน่า อยา่ งการเติมน้าป๋ ยุ จะข้ึนอยกู่ บั สภาพแวดลอ้ มประกอบ อยา่ งหนา้ ร้อน ท่ีตน้ ผกั จะคายน้ามาก ซ่ึงทาใหน้ ้าป๋ ยุ ในถงั ถูกพืชใชไ้ ปและระเหย หายจากถงั ดาไป ราวๆ 10–15 เซนติเมตร เลย ดงั น้นั ในแต่ละวนั ตอ้ งเติมน้าลงไปทดแทนในถงั อีกอยา่ งเพื่อ ไม่ใหส้ ่งผลต่อระดบั น้าในรางปลกู ที่จะหมนุ เวยี นผา่ นรากผกั ไมใ่ หล้ ดต่าลงจากระดบั ที่เหมาะสม ในเร่ือง ของการช่วยลดความร้อนภายในโรงเรือนน้นั นอกจากมีการใชซ้ าแรนช่วยพรางแสงและที่สาคญั คือ ระบบ น้าแบบพ่นหมอก ซ่ึงเป็นการช่วยลดความร้อนในโรงเรือนและช่วยลดการคายน้าของผกั สลดั ไดเ้ ป็นอยา่ งดี การควบคมุ ค่า EC โดยทว่ั ไป ในระบบ Hydroponics การวดั ความเขม้ ขน้ ของสารละลายในถงั สารละลาย จะวดั เป็นค่า EC (Electrical Conductivity) โดยมีหน่วยเป็น mS/cm ซ่ึงคา่ จะอยใู่ นช่วงระหวา่ ง 1-4 mS/cm การตอบสนอง ของผลผลิต ต่อค่า EC คอื เมื่อคา่ EC ต่า ผลผลิตกจ็ ะต่า และเม่ือเพม่ิ ค่า EC ถึงระดบั หน่ึง จะไดค้ า่ ผลผลิต สูงสุด และเมื่อเพ่มิ คา่ EC ตอ่ ไป ผลผลิตจะไมเ่ พิ่ม หลงั จากน้นั ถา้ เพม่ิ ค่า EC ต่อไปอีก ผลผลิตจะลดลง ดงั น้นั โจทยข์ องพวกเราคือ การหาคา่ EC ที่เหมาะสมกบั พืชที่เราปลูกใหไ้ ด้ คณุ วรรณนิภา อธิบายวา่ สาหรับการปลกู ผกั สลดั จะคอยตรวจวดั คา่ EC ใหอ้ ยูร่ ะหวา่ ง 1-1.8 mS/cm โดย เครื่อง EC meter ปรับลดโดยการเพิ่มน้า และปรับค่า EC เพ่ิมโดยการเพ่มิ ป๋ ุย กรณีไม่มีเคร่ืองวดั สามารถ ประมาณการเติมสารอาหาร A และ B ควบคมุ ค่า pH อยู่ระหวา่ ง 5.2-6.8 โดยเคร่ือง pH meter หรือ pH Drop test ปรับลดโดยการใชก้ รดฟอสฟอริก หรือกรดไนตริก (pH down) และปรับค่า pH เพมิ่ โดยการเติม

7 โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ (pH up) ปริมาณ 2-3 หยด ถา้ คา่ EC สูงมากเกินไป จะทาใหผ้ กั สลดั มีรสขมได้ การปลกู ผกั ไฮโดรโปนิกส์จาเป็นตอ้ งศึกษาเร่ืองน้ีเพิม่ เติมใหเ้ ขา้ ใจ ซ่ึงหาความรู้เพ่มิ ไดจ้ ากโลกออนไลน์ โรคและแมลงศัตรู ส่วนใหญ่ก็เป็นไปตามช่วงจงั หวะหรือฤดูกาล เช่น หนา้ หนาว ก็จะเจอหนอนกินใบมากกวา่ ปกติ ก็ ตอ้ งหมน่ั เดินตรวจแปลงทกุ วนั จบั ทาลายทิ้งไป ส่วนหนา้ ฝน ก็ตอ้ งดูเร่ืองโรคเช้ือราและเพล้ียไฟ โดยท่ีสวน จะใชส้ ารชีวภาพ ชีวภณั ฑ์ ท่ีช่วยป้องกนั กาจดั โรคและแมลง เน่ืองจากผกั สลดั เป็นพชื อายคุ ่อนขา้ งส้นั เพยี ง 45 วนั หลงั การเร่ิมเพาะเมลด็ ก็สามารถเกบ็ จาหน่ายไดแ้ ลว้ จึงไม่มีการใชส้ ารป้องกนั กาจดั โรคและแมลงเลย เช่น เรื่องโรคเช้ือราก็จะใชเ้ ช้ือไตรโคเดอร์มา ท่ีขอรับไดจ้ ากกรมพฒั นาที่ดิน จากน้นั ก็นามาขยายเช้ือเพื่อให้ มีใชอ้ ยา่ งตอ่ เนื่อง แมลงศัตรูใช้สารชีวภณั ฑ์ เชื้อแบคทีเรียบาซิลลสั ทูริงเยนซีส สามารถป้องกนั และกาจดั แมลงศตั รูพืช อาทิ หนอนใยผกั หนอนคืบกะหล่า หนอนกระทูผ้ กั หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนผีเส้ือขาว หนอนคบื ละหุ่ง หนอนประกบใบ สม้ หนอนกินใบชมพู่ หนอนร่าน หนอนแกว้ ส้ม หนอนไหมป่ า หนอนกระทูห้ อม (หนอนหนงั เหนียว) ฯลฯ หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนกระทูผ้ กั หนอนกินใบ หนอนแปะใบองุ่น หนอนกอขา้ ว หนอนบงุ้ เลก็ กินใบ มะพร้าวและปาลม์ น้ามนั หนอนคบื ตา่ งๆ เชื้อราบวิ เวอเรีย เป็นจุลินทรียท์ ี่ทาใหเ้ กิดโรคกบั แมลง ซ่ึงสามารถทาลายแมลงไดห้ ลายชนิด ไดแ้ ก่ แมลงจาพวกเพล้ียตา่ งๆ หนอนผีเส้ือ ดว้ ง และแมลงวนั หรือยงุ เช้ือราบิวเวอเรียสามารถนามาใชใ้ นการ กาจดั แมลงศตั รูพชื ที่สาคญั ในพชื เศรษฐกิจหลายชนิด เช่น แมลงศตั รูพชื เป้าหมายในขา้ ว ไดแ้ ก่ เพล้ีย กระโดดสีน้าตาล เพล้ียจกั จนั่ เพล้ียไฟ บวั่ หนอนห่อใบ ในมะม่วง ไดแ้ ก่ เพล้ียจกั จนั่ ท่ีทาลายช่อมะมว่ ง แมลงค่อมทอง ในพชื ตระกลู สม้ ไดแ้ ก่ เพล้ียอ่อนส้ม เพล้ียไก่แจ้ เพล้ียไฟ ไรแดง ในพืชผกั ไดแ้ ก่ เพล้ียออ่ น เพล้ียไฟ ไรขาว แมลงหวขี่ าว หนอน เป็นตน้ ขอ้ หา้ มโดยเด็ดขาด ในการใชเ้ ช้ือราบิวเวอเรียคอื หา้ มผสมกบั สารเคมีกาจดั โรคพชื เช่น โรคเช้ือรา หรือ สารเคมีกาจดั แมลงศตั รูพชื และเนื่องจากเช้ือชีวภณั ฑค์ ่อนขา้ งอ่อนแอต่อแสงแดดและอุณหภูมิสูง จึงควรใช้ ในช่วงเวลาเยน็ ถึงค่า อีกวธิ ีท่ีช่วยไดด้ ี คอื ปลูกแปลงผกั ทว่ั ไป เช่น คะนา้ ผกั กาดขาว กวางตงุ้ เพือ่ ลอ่ หลอก ใหแ้ มลงหรือหนอนไปกินท่ีเราปลกู ลงดินไวใ้ กลๆ้ ซ่ึงที่ปฏิบตั ิมาค่อนขา้ งไดผ้ ลดี

8 การเกบ็ เกย่ี วผกั สลดั หลงั จากผกั สลดั อายุได้ 45 วนั หลงั จากเพาะเมล็ด ก็จะเริ่มทยอยเก็บเก่ียวขายได้ หรือเก็บออกขาย ท้งั หมดหรือชะลอการขายเล้ียงต่อบนโต๊ะปลูกไดน้ านนบั สัปดาห์ (น้าหนกั ผกั ก็ดีตาม) การเก็บผกั ออกจาก โต๊ะปลูกก็จะดึงข้ึนมาพร้อมราก โดยไม่ตดั รากออก แต่ตอนแพก็ ใส่ถุงจะตอ้ งมว้ นรากขดเป็ นวงกลมให้ เรียบร้อย ตอ้ งระมดั ระวงั ไม่ใหใ้ บผกั หกั ช้า สภาพแวดล้อมท่ปี ลูก มีการถ่ายเทอากาศท่ีดี ถา้ อุณหภูมิอากาศสูงความช้ืนต่าพืชจะคายน้ามากเกินไปพืชจะเห่ียวเฉา ช่วง ท่ีมีอากาศร้อนควรจะพรางแสง หรือให้น้าทางใบโดยใชส้ เปรยน์ ้าฉีดก็จะช่วยไม่ให้ใบเฉาได้ ฝน ในระยะ ตน้ อ่อนฝนจะชะวสั ดุปลูกทาความเสียหายกบั รากพืชไดค้ วรมีท่ีกนั ฝนในระยะน้ี ฝ่ ุน จะจบั ใบทาให้การ สังเคราะห์แสงแลคายน้าไดไ้ ม่ดีและใบไม่สวย การใชส้ เปรยน์ ้าฉีดจะไดป้ ระโยชน์ท้งั สองทาง คือลดการ คายน้าและลา้ งใบพชื ปัจจยั ด้านสิ่งแวดล้อม 1.แสง ตามธรรมชาติพืชจะใชแ้ สงอาทิตยเ์ ป็ นแหล่งพลงั งาน เพ่ือทาให้เกิดกระบวนการสังเคราะห์แสงที่ ใบหรือส่วนที่มีสีเขียว โดยมีคลอโรฟิ ลล์ (Chlorophyll) ซ่ึงเป็นรงควตั ถุสีเขยี วชนิดหน่ึงที่มีหนา้ ที่เป็นตวั รับ แสงเพ่ือเปล่ียนก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) และน้า (H2O) เป็นกลูโคส (C6H12O6) และก๊าซออกซิเจน (O2) พืชท่ีปลูกในบา้ นหรือเรือนทดลอง อาจใช้แสงสว่างจากไฟฟ้าทดแทนแสงอาทิตยไ์ ด้แต่ก็เป็ นการ สิ้นเปลืองและไม่สมบรู ณ์เมื่อเปรียบเทียบกบั แสงธรรมชาติ 2.อากาศ พืชจาเป็นตอ้ งใชก้ ๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ที่มีอยปู่ ระมาณ 0.033 เปอร์เซ็นต์ ในบรรยากาศ ในการผลิตกลูโคส (C6H12O6) ซ่ึงเป็ นสารอินทรียเ์ ร่ิมตน้ เหตุการณ์ที่พืชจะขาดคาร์บอนไดออกไซด์ เป็ นไปไดย้ าก เนื่องจากมีแหล่งคาร์บอนไดออกไซด์อย่างเหลือเฟื อ เช่น การเผาไหมเ้ ช้ือเพลิงจากโรงงาน และรถยนต์ ตลอดจนการผลิตไฟฟ้า เป็ นตน้ ส่วนก๊าซออกซิเจน (O2) พืชตอ้ งการเพื่อใช้ในกระบวนการ หายใจ(Respiration) เพ่ือเปลี่ยนพลงั งานแสงอาทิตยซ์ ่ึงถูกเกบ็ ไวใ้ นรูปพลงั งานเคมี ในรูปของน้าตาลกลูโคส และสามารถให้เป็ นพลงั งานเพื่อใช้ในการขบั เคล่ือนกระบวนการเมตาโบลิซึม (Metabolism) ต่างๆ การ หายใจของส่วนเหนือดินของพืชมกั ไม่มีปัญหา เพราะในบรรยากาศมีออกซิเจนเป็ นองคป์ ระกอบอยถู่ ึง 20

9 เปอร์เซ็นต์ สาหรับรากพืชมกั จะขาดออกซิเจน โดยเฉพาะการปลูกพืชไร้ดินด้วยเทคนิคการปลูกด้วย สารละลาย (Water Culture หรือ Liquid Culture) จาเป็ นตอ้ งให้ออกซิเจนในจานวนที่เพียงพอต่อความ ตอ้ งการของพืช การให้ออกซิเจนแก่รากพืชจะใหใ้ นรูปของฟองอากาศท่ีแทรกอย่ใู นสารละลายธาตุอาหาร พชื ซ่ึงใหโ้ ดยใชเ้ ครื่องสูบลม หรือการใชร้ ะบบน้าหมนุ เวียน 3.น้า คุณภาพน้าเป็นเร่ืองสาคญั มากเรื่องหน่ึง การปลูกพืชเพียงเล็กนอ้ ยเพื่อการทดลองจะไม่มีปัญหาแต่ การปลูกเป็นการคา้ จะตอ้ งพจิ ารณาเร่ืองของน้าก่อนอ่ืน หากใชน้ ้าคุณภาพไม่ดีท้งั องคป์ ระกอบทางเคมีและ ความสะอาด จะก่อใหเ้ กิดความลม้ เหลว น้าเป็นตวั ประกอบที่สาคญั โดยจะถูกนาไปใช้ 2 ทาง คือ 1.ใชเ้ ป็นองคป์ ระกอบของพืช พชื มีน้าเป็นองคป์ ระกอบประมาณ 90-95 เปอร์เซ็นตโ์ ดยน้าหนกั พืช ใชน้ ้าเพอ่ื ก่อใหเ้ กิดกิจกรรมท่ีมีประโยชน์ 2.ใชเ้ ป็ นตวั ทาละลายธาตุอาหารพืชให้อยู่ในรูปไอออนหรือสารละลายธาตุอาหารพืชโมเลกุลเลก็ เพื่อให้รากดูดกินเข้าไป ปกติน้าประปาถือว่าใช้ได้ แต่สาหรับการทดลอง มกั ใช้น้ากลั่นหรือ น้าประปาท่ีทิ้งให้คลอรีนหมดไป แหล่งของน้าท่ีดีสุด สาหรับการปลูกพืชไร้ดินเชิงพาณิชย์ คือ น้าฝนหรือน้าจากคลองชลประทาน 4.สารละลายธาตอุ าหาร ธาตุอาหารที่พชื ตอ้ งการในการเจริญเติบโตและให้ผลผลิต มีท้งั หมด 16 ธาตุ ซ่ึง 3 ธาตุ คอื คาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน ไดจ้ ากน้าและอากาศ และอีก 13 ธาตุ ไดจ้ ากการดูดกินผ่านทางราก ท้งั 13 ธาตุ แบง่ ออกเป็น 2 กลมุ่ ตามปริมาณที่พชื ตอ้ งการ คือ ธาตอุ าหารท่ีพชื ตอ้ งการเป็นปริมาณมากและธาตุอาหารท่ี พชื ตอ้ งการเป็นปริมาณนอ้ ย ความนยิ มการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ โดยเฉพาะผกั สดปลอดสารพิษ ทาใหผ้ กั เป็นสินคา้ ที่ขายดีมาก มีมูลคา่ ตลาดสูง ซ่ึงการปลูกพชื ผกั ไฮโดรโปนิกส์ เป็นอีกทางเลือกหน่ึงของการปลูกผกั ปลอดสารพษิ ปลกู ไมต่ อ้ งเสียเวลารดน้า พรวนดินใน แปลงผกั ใหเ้ หน่ือย เพราะแปลงปลูกผกั ไร้ดินไดถ้ ูกติดต้งั อุปกรณ์ดูแลแปลงผกั แบบอตั โนมตั ิ เช่น ทุกๆ 1

10 ชว่ั โมง (หรือปรับตามสภาพอากาศ) ระบบสปริงเกลอร์แบบพ่นหมอกจะฉีดพ่นละอองน้าในแปลงผกั เพอื่ ลดอณุ หภมู ิความร้อนในแปลงผกั ลดการคายน้า เน่ืองจากผกั ไฮโดรโปนิกส์เก็บเกี่ยวผลผลิตไดเ้ ร็ว และใหผ้ ลผลิตสม่าเสมอ ซ่ึงเกษตรกรสามารถ วางแผนการปลูก กาหนดปริมาณสินคา้ ใหเ้ ป็นไปตามความตอ้ งการของตลาดไดต้ ลอดเวลา หากประสงคจ์ ะ ลงทุนทาแปลงปลกู ผกั ไร้ดินขนาดใหญ่ ตอ้ งใช้เงินทุนหลกั แสนข้ึนไป ก็สามารถคนื ทุนไดใ้ นระยะเวลาอนั ไมน่ านนกั อุปกรณ์ตา่ งๆ ก็มีอายกุ ารใชง้ านคอ่ นขา้ งนานหลายปี ราคากลางผกั สลดั ขึน้ อย่กู บั สภาพอากาศหรือฤดกู าล ผกั สลดั เหล่าน้ีชอบอากาศเยน็ หรืออุณหภมู ิที่ไม่สูงมากจนเกินไป หากเป็นช่วงปลายปี จะมีผลผลิต เยอะ ผกั จะเจริญเติบโตดี น้าหนกั ผกั ดี ซ่ึงน้าหนกั ผกั อาจจะเพ่มิ ข้นึ มาถึงหน่ึงเทา่ ตวั เลยทีเดียว ต่อ 1 โต๊ะ ปลกู ราคาอาจจะตกลงมานิดหน่ึง ซ่ึงเป็นเร่ืองธรรมดาที่มีผกั ออกสู่ตลาดมาก แต่หากเป็นช่วงหนา้ ร้อน ผกั สลดั เหลา่ น้ีจะโตชา้ มีออกตลาดนอ้ ย ราคากจ็ ะเพม่ิ สูงข้นึ “หนา้ ร้อนแพง หนา้ ฝนกลางๆ หนา้ หนาวถูก” แต่ส่วนหน่ึงท่ีเราไมไ่ ดเ้ ป็นฟาร์มขนาดใหญ่ ก็จะเนน้ วางแผนขายใหก้ บั พอ่ คา้ ท่ีมารับประจา และขายปลีก ใหก้ บั ลูกคา้ ในพ้ืนท่ี ทาใหร้ าคายงั คงยนื พ้นื ประมาณกิโลกรัมละ 80-100 บาท ซ่ึงเป็นราคาท่ีเกษตรกรอยา่ ง ตนเองก็สามารถอยไู่ ด้ มีรายไดห้ มนุ เวียนต่อเดือน 20,000-25,000 บาท ใชแ้ รงงานเพียงคนในครอบครัว

11 บทที่ 3 วธิ ีการดาเนินงาน วัสดุอปุ กรณ์ 1.เมลด็ ผกั สลดั 2.สารละลายธาตุอาหาร 3. กระถางท่ีใชป้ ลกู

12 4.ภาชนะรองรับสาร 5.ฟองน้าสาหรับปลกู 6.แผน่ โฟมสาหรับปิ ด

13 ข้นั ตอนการดาเนินงาน 1.ข้นั ตอนเร่ิมตน้ ของการปลูกผกั ไร้ดินแลว้ จะเร่ิมตน้ ที่การเพาะเมลด็ เตรียมภาชนะสาหรับใส่น้าเทน้าลงไป ประมาณ 1 ส่วน 2 ของฟองน้าที่ใช้ 2. แลว้ นาฟองน้าวางลงไปใหใ้ นถาดน้ากรดใหช้ ุ่มน้า 3. กดฟองน้าจนชุ่ม หลงั จากน้นั ก็เตรียมเมลด็ พนั ธุ์ที่ตอ้ งการเพราะนามาใส่ลงบนฟองน้าท่ีเตรียมไว้ 4. นามาใส่ลงบนฟองน้าท่ีเตรียมไว้ สาหรับเมลด็ พนั ธผ์ กั โดยทว่ั ไปเราสามารถใชเ้ มลด็ ได้ 2-3 เมด็ ต่อ 1 ช่อง 5. หลงั จากผา่ นไป 5 ถึง 7 วนั หรือ 1 สปั ดาห์ ตน้ กลา้ ในฟองน้ากจ็ ะงอกสูงข้นึ มาแลว้ ทาการตดั ฟองน้า ออกเป็นตน้ และใส่ในถว้ ยเพราะท่ีเตรียมไว้ 6. ต่อไปเป็นการเตรียมสารละลายสาหรับกลา้ ผกั เตรียมน้าสะอาด 2 ลิตรผสมแมป่ ๋ ุยธาตุ A 7. ปริมาตร 2 มิลลิลิตรต่อน้าสะอาด 2 ลิตการผสมแมป่ ๋ ุยธาตุ A และ B น้นั มีขอ้ พึงระวงั คอื แมป่ ๋ ยุ เป็นธาตุ เขม้ ขน้ สารละลายผสมพร้อมกนั อาจตกตะกอนไดด้ งั น้นั เราจะทาการผสมแต่ละแมป่ ๋ ยุ ก่อน 8. เราทาการผสมแม่ป๋ ุย A แลว้ คนทิง้ ไวป้ ระมาณ 5-10นาที 9. หลงั จาก 10 นาทีผา่ นไปเราเตรียมแม่ป๋ ุยธาตุอาหาร B มีปริมาตร 2 ซีซี หรือ 2 ml เทา่ กนั ใส่ลงไปใน สารละลายธาตอุ าหาร A คนใหท้ วั่ 10. นากลา้ ผกั วางลงในถาดสารละลายที่เตรียมไวโ้ ดยพิจารณาวา่ 1ส่วน2 ของฟองน้าแผน่ เเตะสารละลายท่ี เตรียมดว้ ยและเพื่อใหร้ ากพชื ไดร้ ับสารละลายเพยี งพอสาหรับตวั อยา่ งชุดน้ีถา้ หากรากผกั เราโตแลว้ อายุ 3 สัปดาห์ การดูแลเหมือนการปลกู ผกั บนดินโดยทว่ั ไปตอ้ งไดร้ ับแสงแดดพอเพยี งและสารละลายธาตอุ าหาร ตอ้ งดูแลละดบั ปริมาณน้าอยสู่ ม่าเสมอรวมท้งั ค่าการนาไฟฟ้าของสารละลายและค่าความเป็นกรดเป็นด่าง ของสารละลาย 10. หลงั จากผกั อายุ 1 เดือน เราควรปรับเพ่ิมปริมาณธาตุอาหารในสารละลายโดยการเพ่มิ ปริมาตรป๋ ยุ A และ B อยา่ งละ 5 มิลลิลิตรตอ่ น้า 1 ลิตร สาหรับการสาธิตปลกู ผกั ไร้ดินน้าน่ิงในคร้ังน้ีเป็นแบบพอเพียงตน้ ทุนต่า ไมม่ ีการปรับอากาศลูกคา้ สามารถนาไปประยกุ ตใ์ ชไ้ ดท้ ี่พกั สะอาดบริโภคครัวเรือน

14 บทท่ี 4 ผลการดาเนินงาน ตน้ ผกั สลดั เจริญเติบโตไดด้ ี สามารถนาไปใชก้ บั คนที่ไม่มีเวลาและไม่มีพ้นื ที่ท่ีเหมาะแก่การ เพาะปลูก และสามารถนาไปตอ่ ยอดไดโ้ ดยการนาไปดดั แปลงใชก้ บั โรงงาน โดมขนาดใหญท่ ่ีปลูกผกั เพ่อื ช่วยใหเ้ กษตรกรไม่ ตอ้ งเสียเวลาในการดูแล และทาใหเ้ กษตรกรมีเวลามากข้ึน แผนการกาหนดเวลาปฏบิ ัติ เวลา การดาเนินงาน สัปดาห์ที่ 1 นาเมลด็ พืชไปเพราะในภาชนะที่เตรียม ให้รากออก สัปดาหท์ ่ี 2 ทาการผสมป่ ุยอิทรีย์ A และ B แลว้ ทาการนาเมลด็ พืชที่เพาะได้ 1สัปดาห์มาใชน้ ้าที่ผสมป๋ ุย สปั ดาหท์ ่ี 3 เพ่มิ ประมารป๋ ุยเคมีไปเร่ือยๆ สัปดาหท์ ี่ 4 ทาการเก็บผลผลิตไปใชป้ ระโยชน์ต่อไป

15 บทท่ี 5 สรุปผลการดาเนินงาน จากการทดลองสามารถสรุปไดว้ ่าผกั ท่ีปลูกโดยวิธีไฮโดรโปนิกส์มีการเจริญเติบโตที่ดีเทียบเท่ากบั การปลูกในดินเพาะปลูกโดยวิธีไฮโดรโปนิกส์ไดร้ ับสารอาหาร A,B เป็นธาตุอาหารในการเจริญเติบโตและ คนท่ีมีพ้ืนท่ีจากดั สามารถปลูกวธิ ีน้ีไดเ้ พราะวธิ ีน้ีมีประสิทธิภาพเทียบเทา่ กบั การปลกู ในดินท่ีใชส้ ารเคมี สรุปผลการศึกษาและอภปิ รายผลในการหาอตั ราส่วนคร้ังนีส้ รุปได้ดังนี้ 1. ปริมาณธาตอุ าหา A และ B อยา่ งละ 1.5 ซีซี 2. น้าเปล่า 500 มิลลิลิตร ประโยชน์ทไ่ี ด้รับ 1.ไดร้ ู้จกั การปลูกผกั ไฮโดรโปนิกส์ 2.ประหยดั พ้ืนที่ในการปลูกสาหรับผทู้ ่ีมีพ้ืนท่ีนอ้ ย 3.ลดปริมาณสารเคมีตกคา้ งในผกั ข้อเสนอแนะ การปลูกผกั โดยวิธีไฮโดรโปนิกส์ จะตอ้ งมีวสั ดุอุปกรณ์ที่ครบเพ่ือความสะดวกในการปลูกผกั ไฮโดรโปนิกส์ซ่ึงจะทาให้ผลงานท่ีออกมามีความน่าเช่ือถือ เตรียมธาตุอาหาร AและB ในอตั ราส่วนท่ี เหมาะสม ใหพ้ ชื ที่ปลูกไดร้ ับสารอาหารอยา่ งครบถว้ น

16 บรรณานุกรม อา้ งอิง ออนไลน,์ 2564 จาก URL https://www.sentangsedtee.com/farming-trendy/article_34846 https://cooking.kapook.com/view77074.html https://sites.google.com/site/karplukphak7862/bth-thi5 https://www.okmd.or.th/upload/pdf/2560/KC/vegetables-hydroponics.pdf

17

ภาคผนวก




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook