Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารเตรียมสอบกลางภาคภาษาไทย ม.1 ปี 64

เอกสารเตรียมสอบกลางภาคภาษาไทย ม.1 ปี 64

Published by 0 ชุติมา ใจปลื้ม, 2021-08-11 09:20:08

Description: เอกสารเตรียมสอบกลางภาคภาษาไทย ม.1 ปี 64

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๒๑๑๐๑ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๑ โด ย ค รูชุติมา ใจป ล้ืม ๑หน่วยท่ี ภาษามีพลัง ๔๕คะแนนเต็ม ๔๖ ๒๕ ๑๔ ๕๓ ๒๘ ๕๔ ๓๓ ๗๕ ๑๔๑ ๒๑ ค ะ แ น น ท่ี ไ ด้ ช่ือ.............................นามส กุล.............................. ช้ัน......................... เล ขท่ี...................... โรงเ รียน............................... เรยี นออนไลนเ์ ปิด Google Meet กรอกรหัส dqy-ckea-siy

เอกสารประกอบการเรยี น เร่ือง เสยี งพยญั ชนะ เสียงในภาษา หมายถึง เสียงท่ีมนุษย์เปล่งออกมาเพ่อื สอื่ ความหมายระหวา่ งกัน ซง่ึ การทีเ่ สยี งในภาษา จะเกดิ ข้นึ ไดน้ ้ัน ก็ต้องอาศัยอวัยวะต่าง ๆ ทที่ าใหเ้ กดิ เสยี ง สาหรบั อวัยวะทที่ าให้เกิดเสียง ได้แก่ รมิ ฝีปาก ปมุ่ เหงือก ฟัน ลิน้ เพดานปาก ลน้ิ ไก่ กลอ่ งเสยี ง หลอดลม และปอด เสียงในภาษาไทย มี ๓ ชนดิ คือ เสยี งพยัญชนะ เสยี งสระ และเสยี งวรรณยุกต์ ๑. เสยี งพยัญชนะ หรอื เสียงแปร คือ เสียงท่เี ปล่งออกมาจากลาคอ แลว้ กระทบกับอวยั วะสว่ นใด ส่วนหนง่ึ ในปาก เชน่ คอ ปมุ่ เหงือก ฟัน ริมฝปี าก ซง่ึ ทาให้เกิดเป็นเสียงตา่ ง ๆ กัน โดยเสียงพยญั ชนะแบง่ เปน็ 2 ส่วน คอื เสียงพยญั ชนะต้น และเสยี งพยัญชนะทา้ ย เสียงพยญั ชนะ หรอื เสยี งแปร มลี ักษณะและหนา้ ที่ ดงั นี้ (๑) เป็นเสียงที่เกิดจาก ลมบริเวณเสน้ เสยี ง ผ่านมาทางชอ่ งระหวา่ งเสน้ เสยี ง แลว้ กระทบอวัยวะตา่ งๆ ในชอ่ งปาก ท่เี รียกวา่ ฐานกรณ์ เชน่ ริมฝีปาก รมิ ฝีปากกับฟนั ฟันกบั ป่มุ เหงอื ก (๒) พยัญชนะไม่สามารถออกเสียงตามลาพังได้ ต้องอาศัยเสยี งสระช่วย จงึ จะสามารถออกเสยี งได้ เชน่ ใช้ สระออ ออกเสียง กอ ขอ คอ งอ (๓) เสียงพยัญชนะสามารถปรากฏที่ตน้ คา โดยนาหนา้ เสียงสระ เรียกวา่ พยัญชนะตน้ และปรากฏ หลงั คา โดยอยู่หลังเสียงสระ เรียกวา่ พยญั ชนะสะกด เสียงพยัญชนะตน้ พยญั ชนะตน้ แบ่งออกเปน็ ๒ ชนดิ คือ ๑) พยญั ชนะเด่ียว แบง่ เปน็ พยัญชนะต้นเดี่ยว ๔๔ รปู ๒๑ เสียง และพยัญชนะท้าย ๘ เสียง ท่ี เสยี ง พยญั ชนะต้น ตัวอยา่ งคา พยัญชนะสะกด ตัวอย่างคา พยัญชนะ กขคฆ มาก สุข นาค เมฆ กา ง กาง ๑ /ก/ ก ขา (ฃวด) คาด (ฅน) ฆา่ ๒ /ค/ ขฃคฅฆ งา ย กาย ๓ /ง/ ง จา้ จชซศสษฎฏ ๔ /จ/ จ ฉาน ชาน ฌาน ฐฒดตถทธ กาจ คช กา๊ ซ อากาศ ๕ /ช/ ฉชฌ ซาน ศาล พรรษา สาน ประภาษ โอกาส กฎ ๖ /ซ/ ซศสษ ญาณ ยาน ปรากฏ อฐิ วโิ รฒ แดด ๗ /ย/ ญย ฎกี า ดี บัณฑติ พรต รถ เวท อาวธุ ๘ /ด/ ฎดฑ กฏุ ิ ตา ๙ /ต/ ฏต ฐาน มณโฑ เฒ่า ถงุ ๑๐ / ท / ฐ ฑ ฒ ถ ท ธ ท่าน เธอ

ท่ี เสียง พยญั ชนะตน้ ตวั อยา่ งคา พยัญชนะสะกด ตวั อยา่ งคา พยัญชนะ ๑๑ / น / น ณ นาน เณร นณญรลฬ นูน คณู ราญ การ กาล กาฬ ๑๒ / บ / บ บิน บปพฟภ กบั บาป ภาพ กราฟ ลาภ ๑๓ / ป / ป ปา ๑๔ / พ / ผพภ ผา พา ภา ม ตาม ๑๕ / ฟ / ฝฟ ฝา ฟา้ ๑๖ / ม / ม มา ว แก้ว ๑๗ / ร / ร รา ๑๘ / ล / ลฬ ลา กีฬา ๑๙ / ว / ว แวว ๒๐ / อ / อ อาย ๒๑ / ฮ / หฮ ให้ ฮูก คาเป็น คือ คาไม่มีตัวสะกดประสมสระเสยี งยาว และสะกดดว้ ย น ม ย ว ง คาตาย คอื คาไมม่ ีตวั สะกดประสมสระเสียงส้ัน และสะกดด้วย ก บ ด ๒) พยัญชนะประสม คือพยญั ชนะ ๒ ตัวที่ประสมกบั สระตัวเดยี วกนั แบง่ ออกเป็น ๒ พวก คอื ๒.๑ อกั ษรควบ คอื พยญั ชนะซ่งึ ควบกับ ร ล ว และประสมสระเดียวกันแบง่ เป็น ๒ ชนิด คอื ๒.๑.๑ อกั ษรควบแท้ คอื อกั ษรควบซ่ึงออกเสียงพยัญชนะตัวหนา้ กบั พยญั ชนะตัวหลงั ควบกลา้ พรอ้ มกันสนทิ จนเกอื บเปน็ เสียงเดียวกนั มีทัง้ ส้ิน ๑๕ รปู ไดแ้ ก่ กร กล กว คร ขร คล ขล คว ขว ปร ปล พร พล ผล ตร *(บทช่วยจาคอื ก่อนคา่ ไปพบเต่ีย) บทชว่ ยจา ก่อน คา่ ไป พบ เตี่ย เสยี งพยัญชนะต้น /ก/ /ค/ /ป/ /พ/ /ต/ รปู ตัวควบ = เสียง กร = /กร/ คร,ขร = /คร/ ปร = /ปร/ พร = /พร/ ตร = /ตร/ ร = /ร/ กล = /กล/ คล,ขล = /คล/ ปล = /ปล/ พล,ผล = /พล/ - ล = /ล/ กว = /กว/ คว,ขว = /คว/ - ว = /ว/ - - หมายเหตุ ทร ท่ีใช้เปน็ ตวั ควบในภาษาไทยแท้ จะเปน็ อักษรควบไมแ่ ท้ สว่ นคาทอ่ี อกเสยี ง ควบแท้มัก มาจากภาษาสันสกฤต เช่น อนิ ทรา จันทรา จันทรุปราคา จันทรคราส อน่ึง ตัวอกั ษรควบแทท้ ี่ไทยไมม่ ใี ช้ แต่ไดร้ บั อิทธพิ ลมาจากภาษาอังกฤษ และนามาใชม้ ี ๖ เสียง คอื บร เช่น เบรก บร่ันดี บรอนซ์, บล เช่น เบลม บลู บลอ็ ก, ฟร เชน่ ฟรายด์ ฟรี ฟรักโทส, ฟล เช่น ฟลูออรีน แฟลต ฟลุก ฟลตุ , ดร เช่น ดรัมเมเยอร์ ดรีม ดราฟต์, ทร เช่น แทรก็ เตอร์ ทรมั เปต็ เป็นต้น บทช่วยจา = เสียงพยญั ชนะตน้ บ้าน = /บ/ ฟา้ = /ฟ/ ดู = /ด/ เทา = /ท/ ดร = /ดร/ ทร = /ทร/ ร = /ร/ บร = /บร/ ฟร = /ฟร/ ล = /ล/ บล = /บล/ ฟล = /ฟล/

๒.๑.๒ อกั ษรควบไม่แท้ คอื อกั ษร ๒ ตวั ท่ีควบกลา้ กนั ไดแ้ ก่ ตัว ร แต่ออกเสยี งเฉพะตวั หน้า แต่ ไมอ่ อกเสียง ร หรอื บางตัวออกเสียงเปลีย่ นไปเป็นพยัญชนะอนื่ เช่น เศรา้ จริง ไซร้ ปราศรัย สร้อย เสรจ็ เสรมิ สรา้ ง สระ ทรง ทราย และ จรงิ ๒.๒ อักษรนา คือ พยญั ชนะ ๒ ตัวประสมดว้ ยสระเดยี วกนั ซงึ่ มีวธิ กี ารออกเสียงดงั นี้ ๒.๒.๑ อักษรนาไมอ่ อกเสยี งตวั นา ออกเสียงกลืนกบั เสยี งตวั นา ไดแ้ ก่ อ นา ย มีอยู่ ๔ คา คือ อยา่ อยู่ อยา่ ง อยาก และ ห นา อักษรตา่ เดี่ยว ได้แก่ ง ญ น ม ย ร ล ว จะออกเสียงเพียงพยางคเ์ ดียว แต่มี อิทธิพลจากเสยี ง ห เช่น หงาย หงอน หญ้า ใหญ่ หนา้ หนู หมา หย่า แหย่ หรหู รา หรอก ไหล หวาน ฯลฯ อกั ษรนา ตวั ควบ = เสยี ง ๑) อ นา ย อย = /ย/ ๒) ห นา หง = /ง/ หญ = /ย/ หน = /น/ หย = /ย/ หร = /ร/ หว = /ว/ หม = /ม/ หล = /ล/ ๒.๒.๒ อกั ษรนาออกเสียงตัวนา คาท่อี ่านออกเสียงพยางค์หน้ากง่ึ เสยี ง และพยางคต์ ามอ่านเสียง สงู ตามพยางคห์ น้า มี ๒ แบบ ได้แก่ ๑) อักษรสงู นา อักษรต่าเดี่ยว จะออกเสยี งพยางค์ต้นเป็น สระอะ ครึง่ เสยี ง ออกเสียงพยางค์ หลังตามทป่ี ระสมอยู่ ออกเสียงวรรณยุกตผ์ ันเสยี งสงู ตามตัวหนา้ เช่น ขนม (ขะ-หนม) ขนง (ขะ-หนง) เขนย (ขะ-เหนย) ขนา (ขะ-หนา) สมอง (สะ-หมอง) สมาน (สะ-หมาน) สนอง (สะ-หนอง) สยาย (สะ-หยาย) ขยบั (ขะ-หยบั ) ขยนั (ขะ-หยนั ) ฝรง่ั (ฝะ-หรงั่ ) ถลอก (ถะ-หลอก) เถลงิ (ถะ-เหลงิ ) ผวา (ผะ-หวา) ผยอง (ผะ-หย อง) ถนน (ถะ-หนน) สนิท (สะ-หนิด) ๒) อักษรกลาง นา อักษรตา่ เดย่ี ว ออกเสยี งเช่นเดยี วกบั ขอ้ ก เชน่ ตนุ (ตะ-หนุ) โตนด (ตะ- โหนด) จมกู (จะขหมูก) ตลาด (ตะ-หลาด) ตลก (ตะ-หลก) ตลอด (ตะ-หลอด) จรวด (จะ-หรวด) ปรอท (ปะ- หรอด) หมายเหตุ อักษรต่าเด่ียว คอื อกั ษรตา่ ที่ ไม่มี อักษรสูงซึง่ มีเสยี งเดยี วกันรวมอยดู่ ว้ ย อกั ษรต่าคู่ คือ อักษรต่า ที่ มี อักษรสูงซ่งึ มเี สียงเดยี วกนั รวมอยูด่ ว้ ย ลักษณะทีค่ วรสังเกตอีกอยา่ งคอื รูปพยัญชนะบางรปู ไมอ่ อกเสียง เช่น ๑. พยญั ชนะทม่ี เี ครือ่ งหมายทณั ฑฆาต กากับ เชน่ สงฆ์ วิทย์ ๒. ร หรอื ห ซึ่งนาหน้าพยญั ชนะสะกดในบางคา เชน่ สามารถ พรหม ๓. พยญั ชนะซง่ึ ตามหลังพยญั ชนะสะกดในบางคา เช่น พุทธ สุภัทร จักร ๔. ร ซ่งึ เป็นสว่ นหนึ่งของอักษรควบไม่แท้ เช่น จริง โทรม ๕. ห หรือ อ ซ่ึงนาอักษรต่าเดยี่ ว เช่น หลาย อยาก ๖. คาบางคามีเสยี งพยัญชนะ แต่ไม่ปรากฏรปู พยัญชนะ เช่น ดา มเี สียง ม สะกด แตไ่ มป่ รากฏรปู รายการอ้างองิ กาญจนา นาคสกลุ . (2541). ระบบเสียงภาษาไทย. กรงุ เทพฯ : จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . ฟองจนั ทร์ สขุ ยิง่ และคณะ. (๒๕๕๑). หนังสือเรยี นรายวชิ าพ้ืนฐานภาษาไทย หลักภาษาและการใช้ภาษา ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๑. พิมพ์ครั้งท่ี ๗. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทศั น์

เอกสารประกอบการเรยี น เร่ือง เสยี งสระ เสียงในภาษา หมายถึง เสียงท่มี นุษย์เปล่งออกมาเพอ่ื สื่อความหมายระหวา่ งกัน ซงึ่ การทเ่ี สียงในภาษา จะเกิดข้ึนไดน้ ้ัน ก็ตอ้ งอาศัยอวัยวะต่าง ๆ ทีท่ าใหเ้ กิดเสยี ง สาหรบั อวยั วะทท่ี าให้เกิดเสยี ง ได้แก่ รมิ ฝีปาก ปุ่ม เหงือก ฟัน ลิ้น เพดานปาก ล้นิ ไก่ กลอ่ งเสียง หลอดลม และปอด เสียงในภาษาไทย มี ๓ ชนิด คอื เสียงพยญั ชนะ เสยี งสระ และเสียงวรรณยกุ ต์ สระในภาษาไทยมที ้ังหมด ๓๒ รูป ๒๔ เสียง เสียงสระ หรือเสยี งแท้ คอื เสยี งท่ีเปลง่ ออกมาจากลาคอโดยตรง ไม่ถูกสกัดกัน้ ดว้ ยอวัยวะสว่ นใดใน ปาก แล้วเกิดเสยี งกอ้ งกังวาน และออกเสยี งได้ยาวนาน มที ้งั หมด ๒๔ เสียง ซึง่ เสยี งสระในภาษาไทยแบ่งเป็น ๑. สระเดีย่ ว มจี านวน ๑๘ เสียง โดยสระเด่ยี ว แบง่ ออกเป็น สระเสยี งสัน้ (รัสสระ) ได้แก่ อะ อิ อึ อุ เอะ แอะ โอะ เอาะ เออะ สระเสียงยาว (ทีฆสระ) ได้แก่ อา อี อื อู เอ แอ โอ ออ เออ ๒. สระประสม มจี านวน ๖ เสยี ง โดยสระประสม บทช่วยจา (เฮยี เบื่ออัว๊ ) แบ่งออกเปน็ สระเสียงสนั้ (รัสสระ) ได้แก่ เอยี ะ เกดิ จากการประสมของ สระอิ + สระอะ เออื ะ เกิดจากการประสมของ สระอึ + สระอะ อัวะ เกดิ จากการประสมของ สระอุ + สระอะ สระเสยี งยาว (ทีฆสระ) ได้แก่ เอีย เกิดจากการประสมของ สระอี + สระอา เอือ เกิดจากการประสมของ สระอื + สระอา อวั เกิดจากการประสมของ สระอู + สระอา เพอื่ ใหง้ ่ายตอ่ ความเข้าใจ และจะได้จางา่ ยเลยจบั เอาสระเดีย่ วและสระประสมทั้งหมด มาเขียนในรปู ของตารางได้ดงั ตอ่ ไปนี้ ชนิด สระเสยี งส้นั (รัสสระ) สระเสยี งยาว (ทฆี สระ) สระเด่ียว (๑๘ เสียง) อะ อา อี อิ อื อู อึ เอ แอ อุ โอ ออ เอะ เออ แอะ สระเสียงยาว (ทฆี สระ) โอะ เอยี (อ+ี อา) เออื (อ+ื อา) เอาะ อัว (อ+ู อา) เออะ ชนดิ สระเสียงสนั้ (รสั สระ) สระประสม (๖ เสยี ง) เอียะ (อิ+อะ) เออื ะ (อ+ึ อะ) อัวะ (อุ+อะ)

จาก การทสี่ ระเดยี่ วมี ๑๘ เสียง เมอ่ื รวมกบั สระประสมอกี ๖ เสยี ง ก็จะพบวา่ มแี ค่เพยี ง ๒๖ เสยี ง รปู สระอกี ๘ รปู ทีไ่ มร่ วมอย่ใู นเสียงข้างตน้ ซึ่งสาเหตทุ มี่ ันไมถ่ ูกรวมอยู่ด้วยกเ็ พราะ สระเหลา่ นีม้ ีเสียงซา้ กบั เสียงแท้นนั่ เอง แถมยงั มีเสยี งพยญั ชนะประสมอยดู่ ว้ ย ๓. สระเกิน ได้แก่ สระ ๘ รูป “อา ไอ ใอ เอา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ” ซง่ึ สระเกนิ ทงั้ ๘ รูปน้ี เกดิ จาก เสียงสระประสมกบั เสยี งพยัญชนะ อา = อะ + ม (เกิดจากเสียงสระอะ ผสมกับเสียงพยญั ชนะ ม.ม้า) ไอ = อะ + ย (เกิดจากเสยี งสระไอ ผสมกบั เสยี งพยัญชนะ ย.ยกั ษ์) ใอ = อะ + ย (เกิดจากเสียงสระใอ ผสมกับเสยี งพยญั ชนะ ย.ยักษ)์ เอา = อะ + ว (เกิดจากเสียงสระเอา ผสมกับเสยี งพยัญชนะ ว.แหวน) ฤ = ร + อึ (เกิดจากเสยี งพยญั ชนะ ร.เรือ ผสมกบั เสยี งสระอึ) ฤๅ = ร + อื (เกิดจากเสียงพยญั ชนะ ร.เรอื ผสมกับเสียงสระอี) ฦ = ล + อึ (เกดิ จากเสยี งพยัญชนะ ล.ลิง ผสมกับเสยี งสระอ)ึ ฦๅ = ล + อื (เกิดจากเสยี งพยัญชนะ ล.ลงิ ผสมกับเสยี งสระอ)ี สระลดรูป – สระเปลี่ยนรูป สระในภาษาไทย เม่อื นาไปประสมกบั พยัญชนะเพื่อให้เกดิ พยางคห์ รอื คา จะมีวธิ ีใช้ ๓ แบบ คอื ๑. นาสระไปใช้ได้ทันที เช่น จะ พา ไป เท่ียว สวน เงาะ ๒. เปลี่ยนรูปเมื่อมตี ัวสะกด ไดแ้ ก่ ะ เปลย่ี นเป็น ั เชน่ ฟัก , เ-ะ เปลยี่ นเป็น เ-็ เชน่ เปน็ , เ-อ เปลีย่ นเปน็ เ-ิ เชน่ เงนิ ๓. ลดรูปเมอ่ื มีตวั สะกด ได้แก่ โ-ะ ลดหายไป เช่น บด , ออ ลดหายไป เช่น พร รายการอ้างอิง กาญจนา นาคสกลุ . (2541). ระบบเสียงภาษาไทย. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั . ฟองจันทร์ สขุ ยิ่ง และคณะ. (๒๕๕๑). หนังสอื เรยี นรายวิชาพืน้ ฐานภาษาไทย หลักภาษาและการใช้ภาษา ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี ๑. พมิ พ์ครง้ั ที่ ๗. กรงุ เทพฯ : อกั ษรเจรญิ ทศั น์.

เอกสารประกอบการเรยี น เรือ่ ง เสยี งวรรณยกุ ต์ เสียงในภาษา หมายถึง เสียงท่มี นุษย์เปลง่ ออกมาเพ่ือสื่อความหมายระหวา่ งกนั ซึ่งการท่เี สียงในภาษา จะเกิดขึน้ ไดน้ ัน้ ก็ตอ้ งอาศัยอวัยวะตา่ ง ๆ ทีท่ าให้เกิดเสียง สาหรบั อวัยวะที่ทาให้เกิดเสยี ง ได้แก่ รมิ ฝีปาก ปมุ่ เหงอื ก ฟัน ลน้ิ เพดานปาก ลนิ้ ไก่ กล่องเสยี ง หลอดลม และปอด เสียงในภาษาไทย มี ๓ ชนิด คอื เสียงพยัญชนะ เสียงสระ และเสียงวรรณยกุ ต์ เสยี งวรรณยกุ ต์ หรอื เสยี งดนตรี คือ เสียงสระหรอื เสียงพยญั ชนะ ซึง่ เปล่งเสยี งแลว้ เสยี งจะมีระดับ สงู -ต่า เหมือนเสียงดนตรี ลักษณะของเสียงดนตรี หรือเสยี งวรรณยกุ ต์ ๑. เป็นเสียงท่ีมีระดับเสียงสูงต่า เหมอื นเสียงดนตรี ๒. เสียงวรรณยกุ ต์ ทาใหค้ ามีความหมายแตกตา่ งกนั ไป เชน่ เสอื เสื่อ เสือ้ ๓. เสียงวรรณยกุ ตม์ ี ๔ รปู คือ รปู เรยี กว่า ไม้เอก รปู เรียกว่า ไมโ้ ท รปู เรยี กวา่ ไมต้ รี รูป เรียกว่า ไม้จัตวา และมี ๕ เสยี ง คอื เสียงสามัญ เสียงเอก เสยี งโท เสยี งตรี เสยี งจตั วา อักษร ๓ หมู่ หรือไตรยางค์ ๑. อักษรกลาง (๙ ตวั ) คือ ก จ ด ฎ ต ฏ บ ป อ (ไก่จิกเดก็ ตายเฎก็ ฏายบนปากโอง่ ) ๒. อกั ษรสงู (๑๑ ตัว) คอื ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห (ผีฝากถงุ ขา้ วสารใหฉ้ นั ) ๓. อักษรตา่ (อักษรท่ีเหลือ ๒๔ ตวั ) แบ่งเปน็ ๒ ส่วน ก. อกั ษรตา่ เดยี่ ว (๑๐ ตัว) คอื ง ญ ณ น ม ย ร ล ว ฬ (งู่ใหญ่นอนอยู่ ณ ริมวัดโมฬโี ลก) ข. อกั ษรต่าคู่ (๑๔ ตัว) คอื ค ฅ ฆ ช ซ ฌ ฑ ฒ ท ธ พ ฟ ภ ฮ (อักษรต่าท่ีคกู่ บั อกั ษรสูง เชน่ ข- ค ฅ ฆ, ฉ-ช ฌ,ส ศ ษ-ซ , ถ-ฑ ฒ ท ธ, ผ-พ ภ, ฝ-ฟ, ห-ฮ) หน่วยเสียงวรรณยุกต์คงระดับ คือ เสียงสามญั (เสียงต่อเน่ืองคงท่ีแลว้ ลดลงเลก็ น้อย) เสียงเอก (เสียง ระดับกลางแล้วลดต่าลง) และเสียงตรี (เสียงระดับกลางแลว้ เพม่ิ สูงขนึ้ ) หนว่ ยเสยี งวรรณยุกตเ์ ปลยี่ นระดบั คอื เสียงโท (เสยี งระดบั สงู สงู ขึน้ แลว้ ลดตา่ รวดเรว็ ) และเสยี ง จัตวา (เสียงระดบั ต่า ลดลง แลว้ สูงขนึ้ รวดเร็ว) คาเปน็ คาตาย ๑. คาเปน็ คอื คาทีไ่ ม่มตี วั สะกดประสมสระเสียงยาว เชน่ ตา ปี แม่ หรือ คาท่ปี ระสมสระและสะกดด้วย น ม ย ว ง เชน่ ฉนั สวย รา ไป เขา ๒. คาตาย คอื คาท่ีไม่มีตวั สะกดประสมสระเสียงสัน้ หรอื คาที่ประสมสระและสะกดด้วย ก บ ด เช่น ตบ ปดั ฝาก การผันเสียงวรรณยกุ ต์ ๑. การผนั อักษรกลาง ๑.1 คาเป็น พ้นื เสียงเป็นเสยี งสามัญ ผันเสยี งวรรณยุกตไ์ ด้ครบ 5 เสยี ง โดยรูปและเสยี งวรรณยุกต์ ตรงกนั ๑.2 คาตาย พื้นเสยี งเปน็ เสยี งเอก ผันเสยี งวรรณยุกตไ์ ด้ 4 เสียง โดยรปู และเสยี งวรรณยกุ ตท์ เี่ หลอื ตรงกนั ๒. การผนั อักษรสูง ๒.1 คาเป็น พนื้ เสยี งเปน็ เสียงจตั วา ผันเสยี งวรรณยุกตไ์ ด้ 3 เสียง ผนั ไม้เอกเป็นเสียงเอก ไมโ้ ทเป็นเสยี งโท ๒.2 คาตาย พ้นื เสยี งเปน็ เสยี งเอก ผนั เสียงวรรณยุกต์ได้ 2 เสยี ง ผนั ดว้ ยไม้โทเปน็ เสียงโท

3. การผนั อักษรตา่ 3.1 คาเป็น พนื้ เสยี งเป็นเสียงสามัญ ผันเสียงวรรณยุกตไ์ ด้ 3 เสยี ง ผนั ไม้เอกเปน็ เสียงโท ไม้โทเปน็ เสียงตรี 3.2 คาตาย (สระเสยี งสั้น) พ้นื เสียงเป็นเสียงตรี ผนั เสยี งวรรณยกุ ตไ์ ด้ 3 เสยี ง ผันไม้เอกเปน็ เสียงโท ไมจ้ ัตวาเป็นเสยี งจตั วา 3.3 คาตาย (สระเสียงยาว) พื้นเสยี งเป็นเสียงโท ผันเสยี งวรรณยกุ ต์ได้ 3 เสียง ผนั ดว้ ยไมโ้ ทเปน็ เสยี งตรี ไม้จัตวาเป็นเสยี งจตั วา เม่อื นาเสียงวรรณยกุ ต์ท่ีผันไดข้ องอกั ษรสูงและอกั ษรตา่ คู่ ซง่ึ มีแนวเสียงเดยี วกนั มาเรียงเสยี งใหเ้ ขา้ ระดับกนั แล้ว จะไดเ้ สียงวรรณยกุ ต์ครบ 5 เสียง สาหรบั อักษรตา่ เดยี่ ว สามารถผนั เสยี งวรรณยกุ ตใ์ ห้ครบ 5 เสยี งได้โดยใช้ ห นา หรอื อกั ษรกลางนา กจ็ ะสามารถผันเสยี ง ตรี และจัตวาได้ โดยผันตามเสียงของอกั ษรตัวท่ีนา

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๒๑๑๐๑ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๑ โด ย ค รูชุติมา ใจป ล้ืม ๒หน่วยท่ี วิถีงามความพอเพียง คะ แนน เ ต็ม ๑ ๐ ๑ ๐ ๑ ๕ ๑ ๐ ๙๖ ๕๖ ค ะ แ น น ท่ี ไ ด้ ช่ือ.............................นามส กุล.............................. ช้ัน......................... เล ขท่ี...................... โรงเ รียน............................... เรียนออนไลนเ์ ปิด Google Meet กรอกรหสั dqy-ckea-siy

เอกสารประกอบการเรยี น เรอื่ ง คาเชื่อม คาเชือ่ ม หมายถึง คาท่ีใช้เชอื่ มคา วลี หรือประโยคเขา้ ดว้ ยกนั ตามหลักไวยากรณ์ดัง้ เดิม คาเชื่อม ในภาษาไทยมอี ย่ดู ว้ ยกัน 3 ชนดิ คอื คาสนั ธาน คาบพุ บท และคาประพนั ธสรรพนาม ๑. คาสนั ธาน คาสันธาน คือ คาท่ีทาหน้าที่เชื่อมคากับคา เชื่อมประโยคกับประโยค เชื่อมข้อความกับข้อความ ให้ สละสลวย มี ๔ ชนดิ คอื ๑) เช่ือมใจความที่คลอ้ ยตามกัน ได้แก่คาวา่ กบั และ แลว้ , ทง้ั …และ, ทง้ั …ก,็ ครน้ั …จึง, พอ…ก็ ตัวอยา่ งเชน่ พออ่านหนงั สอื เสร็จกเ็ ข้านอน (...อ่านหนังสอื เสร็จ + …เขา้ นอน) พอ่ และแม่ทางานเพอ่ื ลูก (พ่องานเพอื่ ลูก + แมท่ างานเพอ่ื ลกู ) ๒) เชือ่ มใจความทขี่ ดั แยง้ กนั ไดแ้ ก่คาว่า แต่ , แต่วา่ , ถึง…ก็ , กวา่ …ก็ เปน็ ตน้ ตวั อย่างเช่น เขาอยากมเี งินแต่ไมท่ างาน (เขาอยากมเี งนิ + เขาไม่ทางาน) กว่าตารวจจะมาคนรา้ ยก็หนไี ปแลว้ (ตารวจจะมา + คนร้ายหนีไปแลว้ ) ๓) เชอ่ื มใจความเป็นเหตุเปน็ ผลกนั ไดแ้ กค่ าว่า จึง , เพราะ…จึง , เพราะฉะน้ัน…จงึ เป็นตน้ ตวั อยา่ งเช่น เขาวง่ิ เร็วจงึ หกลม้ (เขาวิ่งเร็ว + เขาหกล้ม) เพราะฉนั กลวั รถติดจึงออกจากบา้ นแตเ่ ชา้ (ฉันกลวั รถติด + ฉนั ออกจากบ้านแตเ่ ช้า) ๔) เช่ือมใจความให้เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง ได้แก่คาว่า หรือ หรือไม่ก็ , ไม่เช่นนั้น , มิฉะน้ัน ตวั อย่างเช่น เธอหรือฉันจะกวาดบา้ น (เธอจะกวาดบ้าน + ฉนั จะกวาดบา้ น) เธอตอ้ งทางานมฉิ ะน้ันเธอจะถูกไล่ออก (เธอต้องทางาน + เธอจะถูกไลอ่ อก) ๕) เช่อื มใจความเปรยี บเทยี บ ได้แก่คาวา่ เหมอื น ดจุ ราว ราวกับ เป็นตน้ ตัวอยา่ งเช่น ลกู ชายมีความกล้าหาญเหมอื นพอ่ เธอเป็นคนจิตใจดีราวกบั นางฟา้ ๒. คาบพุ บท คาบพุ บท คือ คาท่เี ช่อื มคาหรอื กล่มุ คาให้สมั พันธก์ ันและเม่อื เช่ือมแลว้ ทาให้ทราบวา่ คา หรือกลุ่มคา ทเี่ ชอ่ื มกนั น้ันมีความสมั พนั ธก์ นั อยา่ งไร เป็นคาทีใ่ ช้หน้าคานาม คาสรรพนาม หรือคากริยาสภาวมาลา เพ่ือ แสดงความสัมพนั ธข์ องคาและประโยคท่อี ยูห่ ลงั คาบพุ บทว่ามคี วามเก่ยี วข้องกับคาหรือประโยคทอี่ ย่ขู า้ งหน้า อยา่ งไร คาบุพบทแบ่งออกเป็น ๒ ชนิด ๑. คาบพุ บทที่ไมม่ ีความสัมพันธก์ ับคาอืน่ สว่ นมากจะอยู่ตน้ ประโยค ใชเ้ ป็นการทักทาย มักใช้ใน คาประพนั ธ์ เชน่ คาว่า ดกู ่อน ข้าแต่ ดูกร คาเหล่านีใ้ ชน้ าหนา้ คาสรรพนามหรอื คานาม เชน่ ดูกอ่ น ภกิ ษทุ งั้ หลาย ขา้ แต่ทา่ นท้ังหลายโปรดฟงั ขา้ พเจา้ ๒. คาบุพบทท่แี สดงความสัมพันธ์ระหวา่ งคาต่อคา คอื ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งคานามกับคานาม คาสรรพนามกบั คานาม คานามกบั คากรยิ า คาสรรพนามกบั คาสรรพนาม คาสรรพนามกบั คากริยา คากริยา กบั คานาม คากริยากบั คาสรรพนาม คากริยากับคากรยิ า เพอ่ื บอกสถานการใหช้ ัดเจน ดังนี้ ๑. แสดงความสมั พันธ์เก่ยี วกับเครอ่ื งมอื เครอื่ งใช้ ได้แก่คาว่า ด้วย ทงั้ กบั โดย เพราะ เปน็ ต้น เชน่ ภาพน้ีเขยี นดว้ ยพู่กัน พอ่ เดินทางโดยเคร่อื งบิน เขาตกต่าเพราะปากแท้ ๆ นอ้ งใช้ช้อนกับสอ้ มกนิ ขา้ ว เปน็ ตน้

๒. แสดงความสัมพันธเ์ กีย่ วกับการให้หรอื การรบั ไดแ้ ก่คาว่า แก่ แด่ ต่อ เพอื่ สาหรับ เฉพาะ เปน็ ต้น เช่น แมใ่ ห้ขนมแก่หลาน ๆ (แก่ ใชก้ บั ผอู้ าวุโสนอ้ ยกวา่ ) ฉนั มอบของขวญั แด่คณุ ยา่ (แด่ ใชก้ ับผู้อาวโุ ส มากกว่า) ๓. แสดงความสัมพนั ธ์เกย่ี วกบั การจากไปหรือออกไป ไดแ้ กค่ าว่า จาก แต่ ตั้งแต่ เปน็ ต้น เชน่ รถทวั ร์นวี้ ่ิงจากกรุงเทพฯไปเชยี งใหม่ ประเพณลี อยกระทงมมี าต้งั แต่สมยั สโุ ขทยั เปน็ ตน้ ๔. แสดงความสมั พันธเ์ กยี่ วกบั การเปรียบเทียบ ไดแ้ กค่ าว่า กว่า เชน่ เขามคี วามอดทนกวา่ ฉัน เปน็ ต้น ๕. แสดงความสมั พนั ธเ์ กยี่ วกบั สถานท่ี ได้แกค่ าวา่ ใน นอก ใต้ บน ล่าง หนา้ ขา้ ง ใกล้ เหนอื ริม เยอ้ื ง สู่ ยงั ถึง ตาม เปน็ ต้น เชน่ คนในเมอื งตา่ งรบี เรง่ นกั เรียทน่ี ัง่ รมิ หน้าตา่ งทาข้อสอบปลวิ เป็นต้น ๖. แสดงความสัมพันธเ์ ก่ยี วกับเวลา ไดแ้ ก่คาวา่ ใน นอก หลงั ภายใน หลัง ณ จน เปน็ ต้น เช่น เขาเปดิ ไฟจนสวา่ ง นักเรยี นตอ้ งสอบภายในสิน้ เดือนน้ี เธอต้องทางานนอกเวลาราชการ เปน็ ต้น ๗. แสดงความสัมพันธ์การเปน็ เจ้าของ ไดแ้ กค่ าว่า ของ แหง่ เป็นต้น เช่น แหวนน้เี ปน็ ของฉนั เป็นต้น ๘. แสดงความสมั พนั ธ์เกย่ี วกบั เจตนาหรอื สิ่งท่ีมุ่งหวัง ได้แกค่ าวา่ เพ่ือ เชน่ เขาทาเพ่อื ลกู เป็นต้น ๙. แสดงความเก่ยี วขอ้ ง ไดแ้ กค่ าว่า แก่ เชน่ เขาเห็นแก่กิน เปน็ ต้น ตาแหนง่ ของคาบพุ บท เป็นคาท่ใี ช้นาหนา้ คาอืน่ หรอื ประโยค เพื่อใหร้ ้วู า่ คา หรือประโยคท่ีอยหู่ ลังคา บุพบท มคี วามสัมพนั ธก์ บั คาหรอื ประโยคข้างหน้า ดังนน้ั คาบพุ บทจะอยู่หน้าคาตา่ ง ๆ ดังน้ี ๑. นาหน้าคานาม เขาเขียนจดหมายดว้ ยปากกา เขาอยู่ทบี่ ้านของฉัน ๒. นาหนา้ คาสรรพนาม เขาอยู่กับฉนั ตลอดเวลา เขาแถลงตอ่ ท่านเมือ่ คนื นแ้ี ลว้ ๓. นาหน้าคากรยิ า เขาเห็นแก่กิน โต๊ะตวั น้ีจัดสาหรับอภิปรายคนื น้ี ๔. นาหน้าคาวเิ ศษณ์ เขาวิ่งมาโดยเร็ว เธอกลา่ วโดยซือ่ ๕. นาหน้าประโยค ครูลบกระดานเพอื่ ลอกโจทย์ขอ้ ใหม่ ๓. คาประพนั ธสรรพนาม / คาเชอื่ มอนปุ ระโยค คาประพันธสรรพนาม คือ สรรพนามที่ใช้เชื่อมประโยค สรรพนามนี้ใช้แทนนามหรือสรรพนามทอี่ ยู่ ขา้ งหน้าและตอ้ งการจะกล่าวซ้าอีกครัง้ หน่ึง นอกจากนยี้ งั ใช้เชอ่ื มประโยคสองประโยคเขา้ ด้วยกัน (สงั เกตคาว่า ที่ ซง่ึ อนั วา่ + ประโยคย่อย) ตัวอยา่ งเชน่ บา้ นท่ีทาสขี าวเปน็ บา้ นของเธอ (ประโยคความซ้อน) (ท่ี แทนบา้ น เช่อื มประโยคท่ี ๑ บา้ นทาสีขาว กบั ประโยคท่ี ๒ บา้ นเปน็ บ้านของเธอ) คาเช่อื มอนปุ ระโยค หมายถงึ คาท่ีนาหนา้ อนุประโยคแล้วทาหนา้ ที่รว่ มกนั เปน็ สว่ นประกอบส่วนใด ส่วนหน่ึงของประโยคหลกั คือ อาจเปน็ หน่วยประธาน หน่วยกรรม หน่วยเตมิ เตม็ หรอื เปน็ ส่วนขยายส่วนใด ส่วนหนงึ่ ของประโยคหลกั คาเช่ือมอนุประโยคมี ๓ ชนดิ ได้แก่ คาเช่อื มนามานปุ ระโยค คาเชอื่ มคุณานุ ประโยคและคาเช่อื มวิเศษณานุประโยค ๑. คาเช่ือมนามานปุ ระโยค ไดแ้ ก่ ที่ วา่ ทว่ี า่ ซ่งึ นาหนา้ นามานปุ ระโยค คอื อนุประโยคที่ทาหนา้ ที่ เป็นหน่วยประธาน หน่วยกรรมหรอื หน่วยเติมเต็มของประโยคซ้อน เชน่ ประโยค คาอธิบาย ท่ีเธอทาอย่างน้นั ดแี ล้ว ท่เี ธอทาอย่างนนั้ เป็นนามานปุ ระโยค ทาหน้าที่เป็นประธานของประโยคซอ้ น คาว่า ท่ี ทาหน้าที่เป็นคาเชอ่ื มนามานุประโยค เขาพดู วา่ เขาจะมา ว่าเขาจะมา เป็นนามานปุ ระโยค ทาหนา้ ทีเ่ ป็นกรรมของประโยคซอ้ น คาว่า ว่า เปน็ คาเชื่อมนามานปุ ระโยค

2. คาเชื่อมคณุ านปุ ระโยค ได้แก่ ที่ ซ่ึง อัน ซ่งึ นาหนา้ คณุ านปุ ระโยค คืออนุประโยคท่ีขยายนามวลี ในประโยคซ้อน เชน่ ประโยค คาอธิบาย เด็กท่ไี ด้รับรางวัลเปน็ ท่ไี ดร้ บั รางวลั เป็นคณุ านปุ ระโยค ทาหนา้ ท่ีขยายนามวลี เดก็ และร่วมกบั น้องฉนั นามวลี เด็กเป็นประธานของประโยคซอ้ น คาวา่ ท่ี เป็นคาเชื่อมคณุ านุประโยค เหตกุ ารณ์ซง่ึ ไมน่ ่า ซึง่ ไม่นา่ เกิดขึน้ เปน็ คุณานุประโยคทาหน้าท่ีขยายนามวลี เหตกุ ารณ์ และ เกดิ ขน้ึ ก็เกิดข้นึ ได้ ร่วมกบั นามวลี เหตุการณ์ เปน็ ประธานของประโยคซอ้ น คาว่า ซง่ึ เป็นคาเช่ือมคุณานปุ ระโยค เขาสนับสนุนโครงการ อนั จะเป็นประโยชนแ์ กเ่ ยาวชน เปน็ คุณานปุ ระโยค ทาหน้าท่ีขยายนามวลี อันจะเป็นประโยชนแ์ ก่ โครงการและรว่ มกบั นามวลี โครงการเป็นนามวลีเดียวกนั ทาหนา้ ท่ีเป็นกรรม เยาวชน ของกรยิ าวลีสนบั สนุน ในประโยครวม คาวา่ อัน เป็นคาเชอื่ มคุณานปุ ระโยค ๓. คาเชอ่ื มวิเศษณานปุ ระโยค คอื คาเชื่อมซงึ่ นาหนา้ วิเศษณานุประโยค คอื อนปุ ระโยคท่ีทาหน้าที่ ขยายกริยาวลีและทาหนา้ ทีเ่ ป็นส่วนหนง่ึ ของกรยิ าวลีในประโยคซอ้ น คาเชือ่ มวเิ ศษณานปุ ระโยคมี ๒ ประเภท คือ คาเช่อื มวเิ ศษณานุประโยคที่ปรากฏหลงั ประโยคหลกั กบั คาเชือ่ มวิเศษณานุประโยคทีป่ รากฏต้นประโยค ๓.๑ คาเชื่อมวิเศษณานุประโยคที่ปรากฏหลังประโยคหลกั เช่น เพราะ ถา้ จนกระทั่ง เม่อื ขณะท่ี ฯลฯ ในตวั อยา่ งต่อไปนี้ ประโยค คาอธบิ าย เขาไม่มาทางานเพราะ เพราะลูกไมส่ บาย เปน็ วเิ ศษณานปุ ระโยคทาหนา้ ท่ขี ยายกรยิ าวลี ไมม่ าทางาน ลกู ไม่สบาย วเิ ศษณานุประโยครว่ มกบั ไม่มาทางาน ทาหนา้ ทีเ่ ปน็ กรยิ าวลีของประโยคซอ้ น คาว่า เพราะ เปน็ คาเช่อื มวิเศษณานุประโยค เราจะไปชายหาดกันถา้ ถา้ ฝนไมต่ ก เปน็ วเิ ศษณานปุ ระโยค ทาหนา้ ท่ีขยายกริยาวลี จะไปชายหาดกัน ฝนไม่ตก วเิ ศษณานุประโยคร่วมกับ จะไปชายหาดกัน ทาหน้าทก่ี ริยาวลีของประโยคซ้อน คาว่า ถา้ เป็นคาเชื่อมวิเศษณานปุ ระโยค เธออยู่ทที่ างานจนเสรจ็ จนเสรจ็ งาน เป็นวิเศษณานุประโยค ทาหน้าท่ขี ยายกรยิ าวลี อย่ทู ท่ี างาน งาน วิเศษณานปุ ระโยครว่ มกบั อยทู่ ี่ทางาน ทาหนา้ ทีเ่ ปน็ กริยาวลีของประโยคซอ้ น คาวา่ จน เป็นคาเชอื่ มวิเศษณานปุ ระโยค ๓.๒ คาเช่อื มวิเศษณานุประโยคที่ปรากฏต้นประโยค เมอ่ื คาเช่อื มวเิ ศษณานุประโยคปรากฏต้น ประโยคมกั ปรากฏคาเชื่อมเสริม จึง เลย ถงึ ก็ ในประโยคหลัก ซ่งึ ปรากฏหลังวเิ ศษณานปุ ระโยค เช่น ประโยค คาอธบิ าย เพราะฝนตกแต่เช้ารถจึงตดิ หนัก คาวา่ เพราะ จน ถา้ เม่ือ เปน็ คาเชือ่ มวิเศษณานุประโยค จนถึงเมอื่ วานเขาก็ยังไมต่ ดิ ต่อมา สว่ น จงึ ก็ เปน็ คาเชอื่ มเสริม ถ้าเขาไมม่ าก็ให้คนอนื่ ทาแทนไดเ้ ลย เมื่อพดู กันไมร่ เู้ รือ่ งก็อยา่ พูดกันอกี เลย

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๒๑๑๐๑ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๑ โด ย ค รูชุติมา ใจป ล้ืม ๓หน่วยท่ี เพ่ือนกัน คะแนนเต็ม ๑๐ ๑๐ ๘๗ ๔๐ ๒๐ ๑๐ ๕๑ ๔๐ ๖๘ ค ะ แ น น ท่ีไ ด้ ช่ือ.............................นามส กุล.............................. ช้ัน......................... เล ขท่ี...................... โรงเ รียน............................... เรียนออนไลน์เปดิ Google Meet กรอกรหัส dqy-ckea-siy

เอกสารประกอบการเรยี น เรอ่ื ง คานาม คานาม คอื คาท่ีใชเ้ รยี กชอื่ คน สัตว์ สิง่ ของ สถานที่ อาคาร สภาพ และลักษณะทั้งสง่ิ มชี วี ติ และไม่มีชีวิต ทัง้ ทเ่ี ป็นรปู ธรรมและนามธรรม คานามแบ่งออกเป็น ๕ ชนิด คือ ๑) สามานยนาม หรือ คานามสามัญ คือ คานามสามัญที่ใช้เป็นชื่อท่ัวไป หรือเป็นคาเรียกสิ่งต่างๆ โดยทัว่ ไป ไมช่ ี้เฉพาะเจาะจง เช่น คน , รถ , หนังสือ, กล้วย เปน็ ตน้ สามานยนามบางคามคี ายอ่ ยเพอ่ื บอกชนิด ย่อย ๆ ของส่ิงต่างๆ เรียกว่า สามานยนามย่อย เช่น คนไทย , รถจักรยาน , หนังสือแบบเรียน , กล้วยหอม เปน็ ต้น ตัวอย่างเชน่ ดอกไม้อยู่ในแจกนั แมวชอบกนิ ปลา ๒) วิสามานยนาม หรอื คานามวสิ ามัญ คอื คานามทีเ่ ป็นชื่อเฉพาะของคน สตั ว์ สถานที่ หรอื เป็นคา เรยี กบคุ คล สถานท่เี พ่ือเจาะจงว่าเป็นคนไหน ส่ิงใด เชน่ ธรรมศาสตร์ , วัดมหาธาตุ , รามเกียรต์ิ เปน็ ตน้ ตัวอยา่ งเช่น นิดและนอ้ ยเปน็ พี่นอ้ งกัน ๓) ลักษณนาม หรือ คานามบอกลักษณะ คือ คานามที่ทาหน้าท่ีประกอบนามอ่ืน เพื่อบอกรูปร่าง ลกั ษณะ ขนาดหรอื ปริมาณของนามน้ันใหช้ ัดเจนข้นึ เช่น รูป , องค์ , กระบอก เปน็ ต้น *มักใชต้ ามหลังจานวน ตวั อยา่ งเชน่ คน ๖ คน น่ังรถ ๒ คนั ดินสอ ๑๒ แทง่ เรยี กวา่ ๑ โหล ๔) สมุหนาม หรือ คานามบอกหมวดหมู่ คือ คานามบอกหมวดหมู่ของสามานยนาม และวิสามา นยนามท่รี วมกนั มาก ๆ เชน่ ฝูงผึ้ง , โขลงชา้ ง , กองทหาร เปน็ ตน้ ตวั อย่างเชน่ กองยวุ กาชาดมาตัง้ คา่ ยอยทู่ ี่น่ี พวกเราไปตอ้ นรบั คณะรัฐมนตรี ๕) อาการนาม หรอื คานามบอกอาการ คือ คาเรยี กสิง่ ที่เปน็ นามธรรม จะมคี าว่า \"การ\" และ \"ความ\" นาหน้าคากรยิ าหรอื คาวิเศษณ์ เชน่ การกนิ , การนอน , การเรียน , ความสวย , ความคิด , ความดี เป็นตน้ ตัวอยา่ งเชน่ การวงิ่ เพ่อื สุขภาพไม่ต้องใช้ความเรว็ การเรยี นช่วยให้มีความรู้ ข้อสังเกต คาว่า \"การ\" และ \"ความ\" ถา้ นาหน้าคาชนดิ อ่ืนท่ไี ม่ใช่คากรยิ า หรอื วเิ ศษณจ์ ะไม่นบั ว่าเป็น อาการนาม เช่น การรถไฟ , การประปา , ความแพง่ เป็นต้น คาเหลา่ น้ีจัดเปน็ สามานยนาม หน้าที่ของคานาม ๑) ทาหนา้ ทเ่ี ป็นประธานของประโยค เชน่ แสงอาทติ ย์ให้ความอบอุน่ แก่ร่างกาย (พชื เปน็ ประธาน) ๒) ทาหนา้ ท่ีเป็นกรรมของประโยค เช่น วัวและควายกนิ พืชเปน็ อาหาร (พชื เป็นกรรมทถ่ี กู กนิ ) ๓) ทาหนา้ ที่ขยายส่วนตา่ ง ๆ ในประโยค เชน่ กระเปา๋ หนงั มรี าคาแพง (หนัง ขายประธาน กระเป๋า) ๔) ทาหนา้ ที่เป็นสว่ นเติมเตม็ ในประโยค (* โดยคานามน้นั อยู่หลงั คากรยิ า เปน็ คือ เหมอื น คล้าย เท่า) เชน่ สมชายเป็นนกั เรยี นทตี่ ง้ั ใจเรียนมาก ๕) ทาหนา้ ท่ีเปน็ คาเรียกขาน เช่น สมชาย...หยดุ รอเราหน่อยไดไ้ หม

เอกสารประกอบการเรียน เรอื่ ง คาสรรพนาม คาสรรพนาม คือ คาท่ใี ช้แทนนามในประโยคสื่อสาร เราใชค้ าสรรพนามเพื่อไม่ตอ้ งกล่าวคานามซ้า ๆ แบง่ เป็น ๗ ชนดิ คือ ๑) บุรุษสรรพนาม หรือ คาสรรพนามบอกบุรุษ คือ สรรพนามที่ใช้ในการพูด เป็นสรรพนามที่ใช้ใน การพูดจา สอ่ื สารกัน ระหว่างผูส้ ่งสาร (ผู้พดู ) ผรู้ ับสาร (ผฟู้ งั ) และผทู้ ่เี รากล่าวถงึ มี ๓ ชนิด ดังน้ี (๑) สรรพนามบุรุษที่ ๑ ใช้แทนผู้ส่งสาร (ผู้พูด) เช่น ฉัน ดิฉัน ผม ข้าพเจ้า เรา หนู เป็นต้น (๒) สรรพนามบุรุษที่ ๒ ใช้แทนผู้รับสาร (ผู้ท่ีพูดด้วย) เช่น ท่าน คุณ เธอ แก ใต้เท้า เป็นตน้ (๓) สรรพนามบรุ ษุ ที่ ๓ ใช้แทนผ้ทู ่ีกล่าวถึง เชน่ ท่าน เขา มนั เธอ แก เป็นต้น ๒) ประพันธสรรพนาม คอื สรรพนามทใี่ ชเ้ ชอ่ื มประโยค สรรพนามนใ้ี ชแ้ ทนนามหรือสรรพนามที่อยู่ ข้างหน้าและตอ้ งการจะกลา่ วซา้ อกี ครง้ั หน่งึ นอกจากนย้ี ังใชเ้ ชื่อมประโยคสองประโยคเขา้ ดว้ ยกัน ตัวอยา่ งเช่น บ้านท่ีทาสขี าวเปน็ บ้านของเธอ (ประโยคความซอ้ น) (ท่ี แทนบา้ น เช่อื มประโยคที่ ๑ บ้านทาสีขาว กบั ประโยคท่ี ๒ บ้านเปน็ บา้ นของเธอ) ๓) วิภาคสรรพนาม หรือ คาสรรพนามบอกความชี้ซ้า หรือ คาสรรพนามแยกฝ่าย เป็นสรรพนามที่ใช้ แทนนามท่ีอยูข่ ้างหนา้ เม่ือต้องการเอ่ยซ้า โดยที่ไม่ต้องเอ่ยนามนน้ั ซา้ อีก และเพื่อแสดงความหมายแยกเป็นส่วน ๆ ไดแ้ กค่ าว่า บ้าง ต่าง กัน ตัวอยา่ งเชน่ นักเรียนต่างแสดงความคิดเห็น ๔) นิยมสรรพนาม หรอื คาสรรพนามชเ้ี ฉพาะ เป็นสรรพนามที่ใชแ้ ทนคานามทก่ี ล่าวถงึ อยู่ เพ่ือระบุ ใหช้ ัดเจนยง่ิ ขนึ้ ได้แกค่ าวา่ น่ี น่ัน โน่น โนน้ (*ปรากฏในประโยคบอกเลา่ ) ตวั อย่างเช่น น่ีเปน็ หนังสือท่ีได้รับรางวัลซีไรต์ในปีน้ี นนั่ รถจกั รยานยนต์ของเธอ ๕) อนิยมสรรพนาม หรือ คาสรรพนามไม่ชี้เฉพาะ คือ สรรพนามที่ใช้แทนนามที่กล่าวถึง โดยไม่ช้ี เฉพาะเจาะจงและไม่ต้องการคาตอบ ได้แก่คาว่า ใคร อะไร ท่ีไหน ผู้ใด สิ่งใด ใคร ๆ อะไร ๆ ใด ๆ (*ปรากฏในประโยคบอกเลา่ ) ตัวอยา่ งเชน่ ใคร ๆ ก็พดู เช่นนั้น ไม่มีอะไรท่เี ราทาไม่ได้ ๖) ปฤจฉาสรรพนาม หรือ คาสรรพนามถาม คือ สรรพนามท่ีใช้แทนนามเป็นการถามท่ีต้องการ คาตอบ ได้แก่คาวา่ ใคร อะไร ไหน ผู้ใด (*ปรากฏในประโยคคาถาม) ตวั อยา่ งเช่น ใครหยบิ หนังสือบนโต๊ะไป อะไรวางอยูบ่ นเกา้ อี้ หนา้ ทีข่ องคาสรรพนาม ๑) ทาหนา้ ทีเ่ ปน็ ประธานของประโยค เช่น ใครมา ผมชอบกนิ โจ๊ก นั่นของฉนั นะ เปน็ ตน้ ๒) ทาหนา้ ทเ่ี ป็นกรรมของประโยค เชน่ เธอดูนี่สสิ วยไหม ครลู งโทษเขา เขารักใคร เปน็ ต้น ๓) ทาหน้าทเี่ ป็นส่วนเตมิ เต็ม เช่น เสื้อของเธอคือน่ี ลูกชายหน้าเหมอื นคณุ สีฟ้าเหมอื นอะไร เปน็ ต้น ๔) ทาหน้าที่ตามหลงั บุพบท เชน่ เธอเรยี นที่ไหน เขาไปกับใคร เป็นต้น ๕) ทาหน้าท่ีเป็นคาเรยี กขาน เช่น เธอ...รอเราหนอ่ ยไดไ้ หม คุณ...เดินหน้าอีกนิด เปน็ ตน้

เอกสารประกอบการเรียน เร่ือง ภาษาพดู ภาษาเขียน ภาษาพูด บางทีเรยี กวา่ ภาษาปาก หรือ ภาษาเฉพาะกลุ่ม เชน่ ภาษากลมุ่ วัยรนุ่ ภาษากลมุ่ มอเตอร์ไซค์ รบั จ้าง ภาษาพดู ไมเ่ คร่งครัดในหลักภาษาบางครงั้ ฟงั แล้วไม่สุภาพมักใชพ้ ดู ระหว่างผู้ สนทิ สนม หรอื ผ้ไู ดร้ ับ การศกึ ษาตา่ ในภาษาเขยี นบนั เทงิ คดหี รือเรือ่ งสน้ั ผู้แตง่ นาภาษาปากไปใช้เป็นภาษาพดู ของตวั ละคร ภาษาเขยี น มลี กั ษณะเครง่ ครดั ในหลักภาษา มีทงั้ ระดับเคร่งครัดมาก เรียกวา่ ภาษาแบบแผน เช่น การเขียนภาษาเปน็ ทางการ ระดบั เคร่งครัดไม่มากนกั เรยี กว่า ภาษากึง่ แบบแผน หรอื ภาษาไม่เปน็ ทางการ ในวรรณกรรมมีการใช้ภาษาเขียน 3 แบบ คอื ภาษาเขียนแบบจินตนาการ เชน่ ภาษาการประพนั ธท์ ั้ง ร้อยแก้วและร้อยกรอง เปน็ ต้น ภาษาเขียนแบบแสดงข้อเท็จจรงิ เชน่ การเขยี นบทความ สารคดี เปน็ ตน้ และ ภาษาเขยี นแบบประชาสัมพันธ์ เช่น การเขยี นคาโฆษณา หรือคาขวญั เป็นตน้ ตวั อยา่ ง เปรียบเทียบภาษาพดู และภาษาเขียน 1) ภาษาพดู เปน็ ภาษาเฉพาะกลมุ่ หรอื เฉพาะวยั มีการเปลี่ยนแปลงคาพูดอยูเ่ สมอ เชน่ ภาษาพดู ภาษาเขียน วัยโจ๋ เจง๋ แหว้ วยั รุ่น เยีย่ มมาก ผดิ หวงั เดี้ยง ม่วั นมิ่ โหลยโทย่ พลาดและเจบ็ ตัว ทาไมจ่ ริงจังและปดิ บงั แยม่ าก จบิ๊ จอ๊ ย ดิ้น เซง็ เลก็ นอ้ ย เตน้ รา เบื่อ หนา่ ย 2) ภาษาพดู มกั เปน็ ภาษาไทยแท้ คือ เปน็ ภาษาชาวบา้ น เข้าใจงา่ ย แตภ่ าษาเขยี นมักใชภ้ าษาบาลีและ ภาษาสันสกฤต เป็นภาษาแบบแผน หรือกงึ่ แบบแผน เช่น ภาษาพูด ภาษาเขยี น ในหลวง ผวั เมีย เมียนอ้ ย พระมหากษัตรยิ ์ สามภี รรยา อนภุ รรยา คอ่ ยยงั ชวั่ ดาราหนงั ววั ควาย อาการดขี ้นึ ดาราภาพยนตร์ โคกระบอื ปอด โดนสวด ตนี เปล่า หวาดกลวั ถูกดา่ เทา้ เปล่า 3) ภาษาพูดมักเปลย่ี นแปลงเสยี งสระและเสยี งพยญั ชนะ นยิ มตดั คาให้ส้ันลง แต่ภาษาเขียนตามรูปคาเดิม เช่น ภาษาพดู ภาษาเขียน เร่ดิ เพ่ ใชป่ ะ้ เลศิ พ่ี ใช่หรือเปล่า ตืน่ เตล้ ล์ ใช่มะ มหาลัย ตน่ื เตน้ ใช่ไหม มหาวิทยาลยั 4) ภาษาพดู ยืมคาภาษาต่างประเทศ เช่น ภาษาอังกฤษ และมกั ตัดคาให้ส้นั ลง รวมทง้ั ภาษาจีน เป็นตน้ ภาเขยี นใช้คาแปลภาษาไทยหรือทบั ศัพท์ เชน่ ภาษาพดู ภาษาเขยี น เวอ่ ร์ (over) แอ๊บ (abnomal) จอย (enjoy) เกินควร ผดิ ปกติ สนกุ เพลิดเพลิน ซี (xerox) กอ็ บ (copy) ดกิ (dictionary) ถา่ ยสาเนาเอกสาร สาเนาตน้ ฉบบั พจนานกุ รม เอ็น (entrance) ไท (necktie) กนุ ซอื (ภาษาจีน) สอบเข้ามหาวิทยาลยั เนกไท ทป่ี รกึ ษา รายการอ้างองิ อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธ์ุ. (2540). ภาษาในสังคมไทย. กรงุ เทพมหานคร: จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั .

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๒๑๑๐๑ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๑ โด ย ค รูชุติมา ใจป ล้ืม ๔หน่วยท่ี แต่งให้งามตามท่ีเหมาะ คะ แ น น เ ต็ม ๕ ๒ ๕ ๒ ๔ ๘ ค ะ แ น น ท่ีไ ด้ ช่ือ.............................นามส กุล.............................. ช้ัน......................... เล ขท่ี...................... โรงเ รียน............................... เรียนออนไลนเ์ ปิด Google Meet กรอกรหสั dqy-ckea-siy

เอกสารประกอบการเรยี น เร่อื ง คามูล คามลู คอื หนว่ ยคาท่ีเลก็ ทส่ี ุดในภาษาซึ่งมีความหมาย หรือ เสยี งทเ่ี ปล่งออกมาแล้วมีความหมาย รปู ลกั ษณ์คาไทย หมายถงึ ลกั ษณะของรูปคาที่ใช้กนั อยู่ในภาษา เปน็ ทงั้ คาไทยแทแ้ ละคาทีร่ บั มาจาก ภาษาอนื่ ซงึ่ เป็นแบบของคาท่ีคนไทยสรา้ งขึ้นใช้ในภาษา ประกอบดว้ ย คามูลพยางค์เดียว คามูลหลาย พยางค์ คาประสม คาซา้ คาซ้อน คาสมาสและคาสนธิ องค์ประกอบของคา คามีองคป์ ระกอบ ๒ สว่ น ได้แก่ เสียงและความหมาย เช่น คาวา่ บ้าน ออกเสียงวา่ “บ้าน” หมายถึง ส่งิ ปลกู สร้างสาหรบั เปน็ ที่อยู่อาศัย คามลู คือคาไทยแท้ หรือคาท่ีมาจากภาษาอื่น อาจเปน็ คาพยางค์เดยี ว หรอื หลายพยางคก์ ไ็ ด้ ๑) คามลู พยางคเ์ ดียว ไดแ้ ก่ คาพยางคเ์ ดยี ว อาจเปน็ คาไทยแทห้ รือคาที่มรี ากศัพทม์ าจาก ภาษาอ่นื ก็ได้ มีความหมายใช้ในภาษา เช่น คาไทย - ฉนั เด็ก วง่ิ ทอง ไก่ เล่น เทยี่ ว ไข่ ปู่ ยา่ ตา ยาย คาภาษาจนี - กก๊ เซ้ง อั๊ว ลอ้ื เจ๊ เต่ีย เซ้ง เขยี ม โจ๊ก คาภาษาองั กฤษ - กราฟ การ์ด เค้ก ฟรี เมตร โค้ก เทป ลิฟต์ กุก๊ บอล คาภาษาเขมร - เพ็ญ ขาล เฌอ จาร แข เนา ตรู กราน ๒) คามลู หลายพยางค์ ไดแ้ ก่ คามูลที่ออกเสียงตั้งแต่ ๒ พยางคข์ ึน้ ไป อาจจะเปน็ คาไทยแท้ หรอื คาทม่ี ีรูปศัพทม์ าจากภาษาอืน่ กไ็ ด้ ถา้ แยกพยางค์ออกแลว้ จะไมเ่ กิดความหมาย รวมกันจงึ จะเกิด ความหมาย เช่น คาภาษาบาลแี ละภาษาสนั สกฤต - อคั นี วตั ถุ เมตตา วทิ ยา นสิ ยั พิสดาร คาภาษาจนี - ซนิ แส กว๋ ยเต๋ียว โสหุย้ กุยเฮง แซยิด คาภาษาอังกฤษ - ออฟฟศิ เทนนิส บาสเกตบอล โปรแกรม คาภาษาชวา-มลายู - บุหลนั ตนุ าหงัน สาปั้น สะตาหมัน บุหรง คาภาษาเขมร - เขนย ขนง ฉบับ ฉนา ตังวาย เสด็จ บรรทม กบาล กระบอื ขจี ไถง ดังน้ัน คามูลจงึ มลี ักษณะอย่างใดอยา่ งหนง่ึ ดังนี้ ๑) ประกอบด้วยพยางคท์ ่ีไม่มคี วามหมาย เชน่ จงิ้ จก พยางค์ จ้ิง และ จก ต่างไม่มีความหมาย ๒) ประกอบด้วยพยางคท์ ีม่ ีความหมายเพียงบางพยางค์ เชน่ จปิ าถะ พยางค์ ปา มีความหมาย เพียงพยางค์เดยี ว ๓) ประกอบดว้ ยพยางคท์ ีม่ ีความหมาย แตค่ วามหมายของคานนั้ ไม่มีเค้าความหมายของแตล่ ะ พยางค์ เช่น นาที พยางค์ นา และ ที มีความหมายไม่เก่ยี วเน่อื งกับคา นาที

เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง คาประสม คาประสม คือ คาทีส่ รา้ งจากคามูลตง้ั แต่สองคาข้ึนไป เกดิ เป็นคาใหม่มีความหมายใหมแ่ ตย่ งั มีเค้าของ ความหมายเดิม สว่ นมากมักเปน็ การประสมคาระหว่างคาไทยกบั คาไทย แต่อาจมีคาประสมบางคาท่ปี ระสม ระหว่างคาไทยกบั คาภาษาอนื่ เช่น ๑) คาไทยประสมกบั คาไทย รถ + ไฟ เป็นคาใหม่คอื รถไฟ ไฟ + ฟา้ เปน็ คาใหม่คือ ไฟฟ้า ฝน + หลวง เปน็ คาใหม่คอื ฝนหลวง ขัน + หมาก เปน็ คาใหม่คือ ถือ + ท้าย เปน็ คาใหม่คอื ถอื ท้าย ดอก + เบี้ย เปน็ คาใหมค่ อื ดอกเบี้ย ขนั หมาก ปาก + แข็ง เป็นคาใหม่คอื ปากแข็ง ๒) คาประสมท่ีมาจากคาภาษาอน่ื ไดแ้ ก่ พล +เมอื ง เปน็ คาใหม่คอื พลเมือง เทพ + เจ้า เป็นคาใหม่คอื เทพเจ้า ราช + วัง เปน็ คาใหม่คือ ราชวัง เคมี+ ภัณฑ์ เปน็ คาใหมค่ อื เคมีภัณฑ์ รถ + เมล์ เปน็ คาใหม่คอื รถเมล์ ห้อง + โชว์ เปน็ คาใหม่คอื ห้องโชว์ ยงั มคี าประสมท่ขี ้นึ ต้นดว้ ย นกั เครื่อง ช่าง ชาว การ ความ เชน่ นกั นักโทษ = นัก + โทษ นกั เรียน = นัก + เรยี น นักขา่ ว = นัก + ข่าว เครอื่ ง เครื่องดนตรี = เคร่ือง + ดนตรี เครอื่ งซักผ้า = เครื่อง + ซัก + ผ้า เครอื่ งดดู ฝนุ่ = เครื่อง + ดดู + ฝนุ่ ช่าง ช่างประปา = ชา่ ง + ประปา ชาว ชาวนา = ชาว + นา ช่าง = ชา่ ง + ไฟ ชา่ งยนต์ = ช่าง + ยนต์ การ การเรยี น = การ + เรยี น ชาวไร่ = ชาว + ไร่ ชาวสวน = ชาว + สวน ความ ความดี = ความ + ดี การบ้าน = การ + บา้ น การเรือน = การ + เรือน ความงาม = ความ + งาม ความชวั่ = ความ + ชวั่ ลกั ษณะของคาประสม ๑. เกิดจากคามลู ตัง้ แต่สองคาขน้ึ ไปมาประสมกนั แล้วเกิดความหมายใหม่แต่ยงั มีเค้า ความหมายเดิม เชน่ - คาไทยประสมกับคาไทย เช่น ฝนหลวง ดาวเทยี ม สวนปา่ สวนงู ผู้สอ่ื ขา่ ว - คาไทยประสมกบั คาบาลี- สันสกฤต เชน่ มฤคมาศ ราชโองการ มหกรรมบันเทงิ พระราชดารสั - คาประสมที่มาจากภาษาองั กฤษ เชน่ เคมีภัณฑ์ โปรแกรมหนงั รถทวั ร์ เครอื่ งคอมพิวเตอร์ ๒. คามูลทีน่ ามาประสมกนั ทาหนา้ ทเ่ี ป็นคานาม คากริยา คาวิเศษณฯ์ ลฯ เช่น - คานาม เชน่ หัวใจ รถไฟ หัวหน้า ขนั หมาก - คากรยิ า เชน่ ดีใจ ตอ่ ว่า ยกเลิก ขดั คอ เดนิ เลน่ - คาวเิ ศษณ์ เชน่ ข้ีเกียจ หวั รั้น มอื ไว ใจงา่ ย ๓. คามลู ที่นามาประสมกันนัน้ คาท่ีมีความหมายหลกั จะอยู่ตน้ คาหลงั จะเปน็ คาขยาย เชน่ มา้ เรว็ ลูกน้าผลผลิต เรอื พว่ ง แมค่ รวั ๔. คาประสมทีย่ ่อจากใจความมาก ๆ เช่น ชาวเมือง ยอ่ มาจาก คนท่อี ยู่ในเมอื ง ช่างทอง ยอ่ มาจาก คนที่ ชานาญในการทอง คาประสมชนิดนีจ้ ะมีคาประกอบอยู่ข้างหนา้ คือ ชาว นกั ช่าง หมอ การ ความ ของ ผู้ท่ี เคร่อื ง เช่น

- นกั นักรอ้ ง นกั เขยี น นักเรียน นักสู้ - ชาว ชาวบา้ น ชาวเมือง ชาวนา ชาววงั - ช่าง ชา่ งไม้ ชา่ งเสริมสวย ช่างไฟฟา้ ช่างทาสี - หมอ หมอดู หมอความ หมอผี หมอนวด - การ การบา้ น การเมอื ง การไฟฟ้า การคลัง - ความ ความดี ความชั่ว ความสุข ความทกุ ข์ ความรู้ - ผู้ ผ้ใู หญ่ ผูด้ ี ผู้อานวยการ ผูน้ อ้ ย ผ้รู ้าย - เคร่ือง เครอ่ื งหมาย เครือ่ งบนิ เครื่องมอื เครอ่ื งเขยี น เคร่อื งครัว - ท่ี ที่นอน ทดี่ นิ ที่เขย่ี บหุ รี่ ทเี่ ที่ยว ทีพ่ ัก ๕. คามลู ทีน่ ามาประสมกันมาจากคานาม คาสรรพนาม คากรยิ า คาวิเศษณ์และคาบพุ บท ก็ได้เชน่ - คาตง้ั เป็นคานามหรอื สรรพนาม เช่น พอ่ ครวั แม่บา้ น พระคุณท่าน มดแดง ผูด้ ี บ้านนอก - คาต้ังเปน็ คากริยา เช่น ทอ่ งจา ต่นื เตน้ กินตัว เขา้ ใจ งอกงาม อวดดี ตกต่า - คาต้งั เป็นคาวิเศษณ์ เช่น ดาแดง ออ่ นหวาน สองใจ สามตา หลายใจ - คาตัง้ เป็นบพุ บท เช่น กลางบา้ น ข้างถนน ตอ่ หนา้ ๖. คาที่นามาประสมต้องเขียนตา่ งกนั เช่น พอ่ + มด พอ่ มด ๗. คาท่นี ามาประสมกันตอ้ งมีความหมายตา่ งกนั เชน่ เตา (นาม) + รีด (กรยิ า) เตารดี ๘. เมือ่ ประสมคาแล้วจะไดศ้ ัพท์ใหม่ มีความหมายใหมท่ ีค่ ล้ายเน้ือความเดิม เช่น ราว + ตาก + ผ้า = ราวตาก ผ้า หมายถึง ไมห้ รือเส้นราวเอาไว้ตากผ้า, รถ + ด่วน = รถดว่ น หมายถึง รถทวี่ ง่ิ ด้วยความเรว็ สงู เป็นพเิ ศษ วธิ ีสร้างคาประสม ๑. คานาม ประสมกบั คาวิเศษณ์ เชน่ มดแดง รถดว่ น นา้ แขง็ หวั ออ่ น ๒. คานาม ประสมกบั คากริยา เชน่ ผ้าไหวไ้ ม้เท้า ม้าน่ัง ของกนิ เลน่ ๓. คานาม ประสมกบั คานาม เช่น แกงไก่ นา้ ส้ม คนไข้ หีบเพลง ๔. คานาม ประสมกบั คาบพุ บท เชน่ คนกลาง เมืองนอก ความหลงั เครื่องใน ๕. คานาม ประสมกบั คากริยา เชน่ วิง่ เตน้ ต้มยา พมิ พด์ ดี วาดเขยี น ๖. คานาม ประสมกบั คาคุณศัพท์ เชน่ เสื้อยืด ส้นสงู แกงรอ้ น ช้นั ต่า ๗. คากริยา ประสมกบั คานาม เชน่ กินเส้น วางใจ ถอื ตัว นอนใจ ๘. คาวิเศษณ์ประสมกบั คานาม เชน่ ดีใจ หลายใจ แข็งข้อ ออ่ นใจ ๙. คาบพุ บท ประสมกับ คานาม เชน่ นอกใจ นอกคอก เหนอื หวั ใต้เท้า ๑๐. นอกจากนีย้ งั สามารถนาเอาคาภาษาตา่ งประเทศมาประสมกับคาไทยได้อีกด้วย เชน่ เหยอื กนา้ (อังกฤษกบั ไทย) รถเมล์ (บาลีกับอังกฤษ) พวงหรีด (ไทยกบั อังกฤษ) ตโู้ ชว์ (ไทยกบั องั กฤษ) ขอ้ สงั เกตคาประสม ๑. คาท่ีนามาประสมกนั ตอ้ งมีความหมายใหม่เกิดเป็นศพั ทใ์ หมข่ ึน้ มา ๒. คาทน่ี ามาประสมกันแล้วไม่มีความหมายใหม่ ไม่เกดิ ศพั ทใ์ หม่อย่างน้ีไม่เรยี กคาประสม อาจเปน็ วลีหรอื ประโยคกไ็ ด้ เช่น ก. หางเสือของเรอื ลานัน้ หลดุ แลว้ หางเสือเป็นคาประสมคือ สว่ นท้ายเรอื ข. หางเสือตัวนั้นถกู ตดั จนขาดแลว้ หางเสือไมเ่ ป็นคาประสม เพราะมีความหมายเหมอื นเดิมคอื หางของเสอื ค. พี่เลย้ี ง คนใหมม่ าทางานเป็นวันแรก พีเ่ ลี้ยงเป็นคาประสมเพราะเกิดศพั ท์ใหมม่ ีความหมายใหม่ว่า คนดูแล ง. พีเ่ ลยี้ งน้องเพราะคุณแมไ่ ปงานศพ พี่เล้ยี งนอ้ ง ไม่เปน็ คาประสม เพราะไม่เกิดศพั ท์ใหม่ แตเ่ ป็นประโยค

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๒๑๑๐๑ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๑ โด ย ค รูชุติมา ใจป ล้ืม ๕หน่วยท่ี นิราศภูเขาทอง คะแนนเต็ม ๒๐ ๓๐ ๑๐ ๑๐ ๑๕ ๑๐ ๑๐ ๑๖ ๑๖ ๑๕ ค ะ แ น น ท่ีไ ด้ ช่ือ.............................นามส กุล.............................. ช้ัน......................... เล ขท่ี...................... โรงเ รียน..... .......................... เรียนออนไลน์เปดิ Google Meet กรอกรหัส dqy-ckea-siy

เอกสารประกอบการเรยี น เรอื่ ง คณุ ค่าทางวรรณศลิ ป์ การเลน่ เสียง การเลน่ คา พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้ให้ความหมายว่า วรรณศิลป์ หมายถึง ศิลปะใน การประพนั ธห์ นงั สอื เช่น ลลิ ิตพระลอ เปน็ วรรณคดที ี่มวี รรณศิลป์สูงสง่ ภาษาวรรณศิลป์ หมายถึง ศิลปะการใช้ภาษาอันเกิดข้ึนจากการเรียบเรียงถ้อยคา โดยการเลือกใช้ ถ้อยคา สานวน โวหาร ทม่ี คี วามไพเราะงดงาม สละสลวยตามแบบวิธขี องภาษา เพ่อื ม่งุ การสือ่ ความหมายและ อารมณ์สะเทือนใจใหเ้ กดิ แก่ผ้อู า่ น วรรณคดโี บราณของไทยมีจุดมุง่ หมายหลักเพื่อการอ่านฟงั เสียงและการขับ ลานาประกอบการแสดงมหรสพ จะตอ้ งมที ง้ั ความไพเราะงดงามและเน้ือหาที่ส่อื ความหมาย เพ่ือความบันเทิง ใจและจรรโลงใจดว้ ย ซ่ึงกลวิธีการประพนั ธ์เบือ้ งต้นสามารถแบง่ ไดเ้ ป็น ๓ สว่ น ดงั นี้ ๑. การเล่นเสียง หมายถึง การสรรคาให้มีเสียงสัมผัสเป็นพิเศษกว่าปกติ เพื่อให้เกิดทานองเสียงที่ ไพเราะน่าฟังและเพื่ออวดฝีมือของกวี มีท้ังการเล่นเสียงพยัญชนะ การเล่นเสียงสระ และการเล่นเสียง วรรณยุกต์ ดงั ตัวอยา่ งต่อไปน้ี จิบจบั เจาเจ่าเจ้า รงั มา จอกจาบจ่ันจรรจา จ่าจา้ เค้าคอ้ ยค่อยคอยหา เหน็ โทษ ซอนซ่อนซอ้ นสริ้วหนา้ นิง่ เรา้ เอาขวญั (โคลงอักษรสามหมู่ ของพระศรมี โหสถ) ๑) การเล่นเสียงพยัญชนะ คือ การใช้สัมผัสพยัญชนะหลายพยางค์ติดๆ กัน ปกติจะเป็น เสยี งสัมผัส ๒-๓ เสียง เชน่ เล่นเสียงพยัญชนะ /จ/ ตดิ กัน ๕ เสียง คือ จบิ จับเจาเจา่ เจา้ และ ๗ เสียง คือ จอกจาบจนั่ จรรจา จ่าจ้า เล่นเสยี งพยญั ชนะ /ค/ ติดกนั ๔ เสียง คอื เค้าคอ้ ยคอ่ ยคอยหา เล่นเสยี งพยัญชนะ /ซ/ ตดิ กนั ๔ เสยี ง คือ ซอนซอ่ นซอ้ นสร้ิว ๒) การเลน่ เสียงสระ คือ การใช้สมั ผสั สระหลายพยางคต์ ิดๆ กันเป็นสัมผัสสระภายในวรรค เชน่ เลน่ เสยี งสระเอา คือ เจาเจา่ เจา้ เล่นเสียงสระออ แมเ่ กย คือ ค้อยค่อยคอย เลน่ เสยี งสระออ แมก่ น คอื ซอนซอ่ นซอ้ น ๓) การเล่นเสยี งวรรณยุกต์ คือ การใชค้ าทไี่ ลร่ ะดบั เสยี ง ๒ หรือ ๓ ระดับเปน็ ชุดๆ ไป เช่น เลน่ เสียงสามญั เอก โท คอื เจาเจ่าเจา้ , จาจ่าจ้า เล่นเสียงตรี โท สามญั คือ คอ้ ยคอ่ ยคอย เล่นเสยี งสามญั โท ตรี คือ ซอนซอ่ นซอ้ น ๒. การเล่นคา คือ การสรรคามาเรียงร้อยในคาประพันธ์โดยพลิกแพลงให้เกิดความหมายพิเศษและ แปลกออกไปจากที่ใช้กนั อยู่ ผ่านการเล่นคาพ้อง การเล่นคาซา้ และการเล่นคาเชงิ ถาม ๑) การเล่นคาพ้อง คอื การนาคาพอ้ งมาใชค้ กู่ ันใหเ้ กดิ ความหมายที่สมั พนั ธก์ ัน เชน่ เบญจวรรณจบั วลั ย์มาลี เหมือนวนั เจ้าวอนพใ่ี หต้ ามกวาง (บทละครเร่ืองรามเกียรต์ิ พระราชนพิ นธ์รชั กาลท่ี ๑) กวเี ล่นคาที่มีเสียง “วัน” ๓ คา คอื วรรณ วัลย์ และวัน โดยมีความหมายสมั พันธ์กนั อยา่ งกลมกลื เหน็ รอหักเหมอื นหน่ึงรกั พ่ีรอรา แตร่ อท่าร้งั ทกุ ขม์ าตามทาง (นิราศพระบาท ของสุนทรภ)ู่ กวีเล่นคาว่า “รอ” คาแรกหมายถึง หลักปักกันกระแสน้า คาที่สองในคาว่า “รอรา”หมายถึง หยุด และคาทส่ี ามในคาว่า “รอท่า” หมายถงึ คอย

๒) การเล่นคาซ้า คือ การนาคาคาเดียวมาใช้ซ้าๆ ในตาแหน่งใกล้ๆ กัน เพ่ือย้าความหมาย ของขอ้ ความใหห้ นักแน่นมากขึน้ เชน่ ...แต่แม่เท่ียวเซซังเสาะแสวงหาทุกแห่งห้องหิมเวศ ทั่วประเทศทุกราวป่า สุดนัยนาที่แม่ จะตามไปเล็งแล สุดโสตแล้วที่แม่จะซับทราบฟังสาเนียง สุดสุรเสียงท่ีแม่จะรา่ เรยี กพิไรรอ้ ง สุดฝีเท้า ทีแ่ ม่จะเยอ้ื งย่องยกย่างลงเหยยี บดนิ ก็สดุ สิน้ สดุ ปญั ญาสุดหาสดุ ค้นเหน็ สุดคิด... (มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มทั รี ของเจา้ พระยาพระคลัง (หน)) กวีเลน่ คาวา่ “สุด” ซ้ากนั เพื่อสือ่ ว่าพระนางมทั รีตามหาสองกมุ ารอยา่ งเต็มความสามารถแต่กไ็ ม่พบ ๓) การเล่นคาเชิงถาม คือ การเรียงถ้อยคาให้เป็นประโยคเชิงถาม แต่เจตนาท่ีแท้จริง ไม่ได้ถาม เพราะไม่ต้องการคาตอบ เพ่ือต้องการเน้นให้ข้อความมีนา้ หนักดึงดูดความสนใจและใหผ้ ู้ฟังคิดตาม บางทา่ นเรียกกลวธิ ีการประพนั ธ์นีว้ ่า การใชป้ ระโยคคาถามเชงิ วรรณศลิ ป์ เช่น ...โอเ้ จดียท์ ่ีสรา้ งยังรา้ งรกั เสียดายนักนกึ น่าน้าตากระเดน็ กระน้ีหรอื ชอ่ื เสียงเกียรติยศ จะมหิ มดลว่ งหน้าทนั ตาเห็น เป็นผู้ดีมีมากแล้วยากเยน็ คดิ ก็เปน็ อนิจจังเสยี ทั้งน้ัน (นริ าศภเู ขาทอง ของสนุ ทรภ)ู่ กวีใชค้ าเชงิ ถามว่า “กระนหี้ รอื ” เปน็ การกระต้นุ ใหผ้ ู้ฟังฉุกคิดว่า เมอื่ เปน็ เชน่ น้ีแลว้ มีหรือท่ีชื่อเสยี ง ของเราจะไม่สูญสลายไปเช่นเดยี วกับถาวรวตั ถทุ ง้ั หลาย ๓. การใช้โวหารภาพพจน์ คือ การใช้ถ้อยคาเพอ่ื สร้างจินตภาพ (ภาพในใจ) แก่ผู้อ่าน โดยการเรยี บ เรยี งถ้อยคาดว้ ยวธิ กี ารต่างๆ ใหพ้ เิ ศษกวา่ การเรียงลาดบั คาหรอื การใชค้ วามหมายของคาตามปกติ ดังน้ี ๑. อุปมา คือ การเปรียบเทียบว่าส่ิงหน่ึงเหมือนกับอีกส่ิงหน่ึง โดยนาลักษณะเด่น มาเปรยี บเทยี บกัน ซง่ึ มกั ปรากฏคาแสดงความเปรียบ ได้แก่ ดัง ดุจ ประดุจ ประหน่งึ ราวกบั เหมือน เสมือน เฉก เชน่ คล้าย ปาน เชน่ คณุ แมห่ นาหนักเพี้ยง พสธุ า คุณบิดรดุจอา- กาศกว้าง คุณพพ่ี า่ งศขิ รา เมรมุ าศ คุณพระอาจารยอ์ า้ ง อาจสสู้ าคร (โคลงโลกนิติ พระนพิ นธ์สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเดชาดศิ ร) กวีเปรียบพระคุณซง่ึ เป็นนามธรรมกับสงิ่ ท่ีเป็นรูปธรรม คือ พระคุณแม่เปรยี บกับแผ่นดนิ พระคณุ พ่อ เปรียบกับทอ้ งฟา้ พระคณุ พ่ีเปรยี บกับภเู ขา และพระคณุ ครเู ปรยี บกับท้องนา้ เพอื่ ส่ือความให้ผูอ้ ่านเข้าใจอย่าง ชัดเจนวา่ พระคุณของบคุ คลทงั้ ๔ น้นั ยิ่งใหญ่มาก ๒. อุปลักษณ์ คอื การเปรียบสิ่งหน่ึงเปน็ อีกสิ่งหนึ่งคลา้ ยอปุ มา แต่ไมใ่ ชค้ าแสดงความเปรียบ วา่ เหมือน คลา้ ย ดัง ฯลฯ อยา่ งอปุ มา แตจ่ ะใช้คาแสดงความเปรียบวา่ “เปน็ ” และ “คือ” เช่น โอ้เจ้าดวงสุริยนั จนั ทรทัง้ คู่ของแม่เอย่ แม่ไม่รู้เลยว่าเจา้ จะหนี พระมารดา ไปสพู่ าราใดไม่รู้ท่.ี .. (มหาเวสสนั ดรชาดก กัณฑม์ ทั รี สานวนของเจ้าพระยาพระคลัง (หน)) กวเี ปรยี บพระโอรสคอื ดวงอาทติ ย์และพระธดิ าคอื ดวงจันทร์ ซึ่งเปน็ การเน้นความสาคญั ของพระโอรส และพระธิดา ทีม่ ตี อ่ พระนางมัทรใี ห้หนักแน่นมากย่ิงข้นึ ๓. อติพจน์ คือ การกล่าวเกนิ จริง หรือเน้นความ กวีใช้อติพจน์เพื่อเนน้ อารมณ์ความรู้สกึ ของ ตวั ละคร หรอื เพอ่ื บอกใหท้ ราบว่าสงิ่ ท่กี ลา่ วถงึ น้นั มีปริมาณมาก เชน่ การบินไทยรกั คณุ เท่าฟา้ เป็นต้น เช่น “... สองขัตติยายุรยาตร ยังเกยราชหอทพั ขนุ คชขบั ช้างเทียบ ทวยหาญเพียบแผ่นภู ดมู หิมาดาดาษ...”

กวีเปรียบกองทัพของสมเด็จพระนเรศวรในเรื่องว่ายิ่งใหญ่เท่าผืนแผ่นดิน ซ่ึงเป็นการเปรียบเทียบท่ี มากกว่าความเป็นจริงมาก ๔. อวพจน์ คือ การกลา่ วน้อยกวา่ ความเป็นจรงิ เช่น มที องเทา่ หนวดกงุ้ นอนสะดุ้งจนเรือนไหว เป็นตน้ กวเี ปรยี บว่ามีทองขนาดเท่ากับเสน้ ของหนวดกุ้ง ซง่ึ มีขนาดเล็กมากเล็กกว่าความเป็นจริงท่เี ปน็ ไปได้ ๕. บุคคลวัต หรือ บุคลาธิษฐาน คือ การสมมติส่ิงไม่มีชีวิต พืช สัตว์ หรือความคิดท่ีเป็น นามธรรมแสดงออกเหมือนมนษุ ย์ ตัวอยา่ งท่พี บมาก ได้แก่ ตัวละครสตั ว์ในนิทานตา่ งๆ เชน่ ...ฝูงทิชาชาติชวนกันช่ืนชมถวายชัย ส่งเสียงใสเสนาะป่า ร้องเป็นภาษามนุษย์อานวยพร ว่าพระองค์ จะทรงสโมสรสารภิรมย์ ด้วยบรมบุตรบาทบริจาขัตติยนารี เลี้ยงพระชนมชีพเปรมปรีด์ิปราโมทย์ อย่ารู้มีทุกข์ โทษมาแผ้วพาน จงทรงเสวยสุขเกษมศานต์ระงบั รอ้ น ต่างๆ กท็ ลู ถวายพระพร พระเพรยี กพรอ้ งร้องระงมไพร.. (มหาเวสสนั ดรชาดก กัณฑ์จลุ พน พระราชนพิ นธ์พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว) กวกี าหนดให้นกแสดงกิริยาอาการของมนษุ ย์ เชน่ ชวนกนั ทลู ถวายพระพร รอ้ งภาษามนษุ ย์ เปน็ ตน้ ๖. สัทพจน์ คือ การเลยี นเสียงธรรมชาติ เพอ่ื ให้ผูอ้ า่ นสามารถสรา้ งจินตภาพขึ้นตามกวไี ด้ เช่น ฟา้ ผ่าเปรี้ยงๆ ฝนตกเปาะแปะ ดงู ูขฝู่ ูดฝู้ พรพู รู (กาพยห์ ่อโคลงประพาสธารทองแดง พระนพิ นธ์เจ้าฟ้าธรรมธเิ บศร) ขนุ มอญรอ่ นงา้ วฟาด ฉาดฉะ (กาพยห์ ่อโคลงประพาสธารทองแดง พระนพิ นธเ์ จ้าฟา้ ธรรมธเิ บศร) จากตัวอย่างแต่ละบท กวีใชค้ าเลยี นเสียงทไ่ี ด้ยนิ ในธรรมชาติเช่น เสียงฟ้าผา่ เสยี งฝนตก เสียงขูข่ องงู หรือเสยี งอาวธุ ทีบ่ าดบางสงิ่ บางอย่าง เป็นตน้ ๗. สัญลักษณ์ คือ การใช้ส่ิงท่ีมีชีวิตหรือไม่มีชีวิตซ่ึงเป็นตัวแทนหรือส่ิงแทนของอีกสิ่งหนึ่ง และมกั เป็นท่ีเข้าใจกนั ในสงั คม เช่น ดอกกุหลาบแทนความรัก เป็นต้น “อยา่ เออื้ มเดด็ ดอกฟา้ มาถนอม สูงสดุ มือมกั ตรอม อกไข้ เด็ดแต่ดอกพยอม ยามยากชมนา สูงก็สอยด้วยไม้ อาจเออื้ มเอาถงึ ” (โคลงโลกนิติ – สมเด็จ กรมพระยาเดชาดิศร) โคลงบทนมี้ คี วามหมายเปน็ สองนยั ความหมายแรกอาจจะเปน็ การสอนผชู้ ายวา่ อย่าหมายเป็นเจ้าของ ผหู้ ญงิ ทีม่ ศี ักดสิ์ งู กวา่ โดยใชส้ ญั ลักษณ์ ดอกฟ้าแทนหญิงอนั สงู ศกั ดหิ์ รอื อีกความหมายหนง่ึ เป็นการสอนวา่ อยา่ ทะเยอทะยานเกนิ กว่าวสิ ยั ของตนทจ่ี ะสามารถทาได้ ๘. นามนัย คือ การใช้คาหรือวลีแทนส่ิงหน่งึ ส่ิงใดที่มลี ักษณะเด่น หรือมีสัมพันธภาพใกล้ชดิ กับสิง่ ทแี่ ทนนน้ั อาจแทนสงิ่ ท่เี ป็นรูปธรรมหรอื นามธรรมกไ็ ด้ โดยใช้แสดงความหมายแทนส่งิ ท้งั หมด “...ว่านครรามนิ ทร์ ผลดั แผ่นดินเปลย่ี นราชย์ เยียวววิ าทชิงฉัตร...” คาประพนั ธข์ า้ งตน้ ภาพพจนน์ ามนัยโดยใช้คาวา่ ฉตั ร แทน กษัตริย์ ๙. ปฏพิ ากย์ คือ การนาคาท่ีมคี วามหมายขดั แยง้ กนั มารวมกันและไมน่ ่าจะเป็นไปได้ แตห่ าก พิจารณาให้ดีแล้วจะเห็นวา่ เป็นคากล่าวที่ลึกซ้ึงและเป็นไปได้ เช่น ยง่ิ รีบยงิ่ ชา้ เปน็ ตน้ แทบฝัง่ ธารทีเ่ ราเฝา้ ฝันถึง เสยี งน้าซึ่งกระซบิ สาดปราศจากเสียง จักรวาลว่นุ วายไรส้ าเนียง โลกน้เี พียงแผ่นภพสงบเย็น (วารีดรุ ยิ างค์, เนาวรัตน์ พงษไ์ พบูลย์) กวีใช้คาตรงข้ามกนั ใกลก้ นั คอื ใชค้ าวา่ กระซบิ กับ ปราศจากเสียง, วนุ่ วาย กบั ไรส้ าเนยี ง เป็นต้น

เอกสารประกอบการเรียน เรอื่ ง ลีลา โวหารการเขยี นในวรรณคดีไทย ลลี าในวรรณคดไี ทย ศิลปะการใช้ภาษาในวรรณคดีไทยเกิดจากการนาคามาเรียงร้อยกัน เพ่ือสร้างจินตภาพและความ งดงามแกผ่ ้รู ับสาร ผา่ นลลี าแบบแผนในการแตง่ คาประพันธ์ ๔ ประเภท ไดแ้ ก่ ๑) เสาวรจนีย์ คือ การแต่งบทประพันธ์ให้มีเนื้อความทานองชมโฉม หรือความงามทาง กายภาพของบุรษุ และสตรี เชน่ บทชมโฉมวหิ ยาสะกา เป็นต้น ๒) นารปี ราโมทย์ คอื การแตง่ บทประพันธ์ท่มี เี น้อื ความทานองฝากรัก แสดงความรกั ต่อนาง ผเู้ ปน็ ทร่ี ัก เชน่ สุเทษณฝ์ ากรักนางมัทนา เป็นตน้ ๓) พิโรธวาทัง คอื การแตง่ บทประพันธ์ท่มี เี น้อื ความทานองเคืองแค้น ตัดพ้อ เสยี ดสี ประชด หรอื เยาะเยย้ เชน่ นางผีเส้อื สมทุ รตดั พ้อพระอภัยมณี เป็นตน้ ๔) สัลลาปงั คพิสยั การแตง่ บทประพันธ์ที่มีเนอื้ ความทานองครา่ ครวญ ราพนั ถงึ คนรักท่ีต้อง จากกัน เช่น อเิ หนาครวญ เป็นตน้ โวหารการเขยี น การใช้ศิลปะทางภาษาแตง่ คาประพันธใ์ นวรรณคดมี กั ปรากฏโวหาร ๕ รูปแบบ ไดแ้ ก่ ๑. พรรณนาโวหาร (บทให้รายละเอียด) คือ ข้อความที่ให้รายละเอียด ไม่มีการดาเนนิ เร่อื ง เช่น “แดดในยามเย็นกาลังออนลงสูสมัยใกลวิกาล ทอแสงแผซานไปยงั สาลีเกษตร แลละลิ่วเห็น เปนทางสวางไปทั่วประเทศสุดสายตาดู ประหน่ึงมีหัตถทิพยมาปกแผอานวยสวัสด์ิ เบื้องบนมีกลุมเมฆ เปนค ลื่นซอนซับสลับกันเป็นทิวแถว ตองแสงแดดจับเปนสีระยับวะวับแววประหนึ่งเอาทรายทองมา โปรยปราย เลอื่ ยลอยล่ิว ๆ เร่ยี ๆ รายลงจดขอบฟา” ๒. บรรยายโวหาร (บทเล่าเร่ือง) คือ ข้อความเล่าเรื่อง มีการดาเนินเรื่องและมีบทบาทตัว ละคร เชน่ “แลวชาวนาก็ขับเกวียนตอไป เสียงกีบมากระทบพ้ืนถนนดังกุบกับ เสียงชาวนาผิวปาก ขณะท่ี เดินจูงมาไป เด็กท้ังสองรูสึกวาการที่ไดนง่ั เกวยี นกลับบานสนุกกวาข้ึนรถประจาทางเปนไหนๆ เกวียน เคลื่อนไปชาๆ และเขามองเห็นอะไรๆ ไดทุกอยางตามทางทีผ่ านไป” ๓. อุปมาโวหาร (บทเปรียบเทียบ) คือ โวหารเปรียบเทียบเพื่อให เกิดความชัดเจนดาน ความหมาย ภาพพจน และอารมณใหมากยิง่ ข้นึ เปน็ การเขยี นโดยยกขอความมาเปรยี บเทียบเพอื่ ชวย ใหผูอาน เขาใจเรอื่ งตางๆ ใหดียิง่ ขน้ึ ทั้งทเี่ ปนรปู ธรรมและนามธรรม โวหารชนิดนเ้ี ปนโวหารทีก่ ลาว แทรกในโวหารอ่ืน เช่น “...พิจารณาด้วยธรรมะ เรากไ็ ดธรรมะ ไดค้ วามรู้ ความสวางในชวี ติ ขึ้นมา ความรูอันนีจ้ ะเป็น เครื่องชวยใหเราพนจากความทุกขความเดือดรอนทางใจ เพราะฉะน้ันเม่ือเราเหน็ อะไร เราก็เอามา พิจารณา เชน เห็นใบไมเหลอื งก็เอามาเตอื นใจวา ชีวิตกเ็ หมอื นกบั ใบไมเหลอื ง ไมกี่วนั ก็ร่วงหลนจาก ขัว้ เห็นใบไมร้ ่วงลง กองท่ีพ้ืนดินกต็ ้องเอามาพจิ ารณาวาชีวติ ของเรากเ็ หมอื นกับใบไมแหงเหลาน้วี ันหนึ่งเราก็ตองเปนอยางนี้...” ๔. เทศนาโวหาร (บทส่งั สอน) การชี้แจงใหเห็นดีชัว่ คุณโทษของสง่ิ ตางๆ รวมทง้ั แนะนา สั่ง สอนอยางมเี หตผุ ลเพอื่ ชักจูงใหผูอานเห็นคลอ้ ยตาม หรือนาไปปฏบิ ตั ิตาม เช่น “ความแกน่ ้ี ทุกรางกายมีเหมอื นกนั ไมวาคน สัตวหรือตนไมหรือวัตถุที่เขากอ่ สราง ก็ยอมจะ มีการเปลี่ยนแปลงไป เขาถึงสภาพท่ีชราคร่าครา ชารุดทรุดโทรมเปนธรรมดา บานเรือนสรางใหมๆ ก็ มีสี สะอาดงามดี แตวาตอไปมันชักจะเกาไป เปลี่ยนแปลงไป คร่าคราไป ดูแลวไมมีอะไรท่ีจะหนีพน ภาวะนี้ไปได สงิ่ เหลานีม้ ันเปนเคร่ืองเตอื นใจเราใหร้ ูวา่ สิ่งภายนอกมอี าการฉันใด ตวั เราเองก็มีสภาพ เชนน้นั ”

๕. สาธกโวหาร (บทยกตัวอย่าง) คือ โวหารที่มุงเสนอตัวอยางท่ีเขากับเนื้อความเพ่ือใหเกิด ความชดั เจน เพ่อื สนบั สนนุ ความคดิ ที่เสนอกอนหนาน้ัน การยกตัวอยางอาจยกตัวอยา่ งบคุ คล หรือ ยกตัวอยาง เหตกุ ารณหรอื ยกตัวอยางนิทานมาเสนอก็ได้ เช่น เมื่อทานใชใครก็ตามใหทาตามความมุงหมายของทานได จงเตือนตนไวเสมอวาเขาอาจจะใช ทานเพือ่ ความมุงหมายของเขาไดเชนเดยี วกนั ดังนทิ านอีสปเรือ่ งมา นายพรานกับกวาง ซ่ึงมีเนอ้ื เรอ่ื ง ดงั น้ี มาตัวหนึ่งเกิดเรื่องทะเลาะวิวาทข้ึนกับกวาง มาโกรธและพยาบาทกับกวางเป็นอยางมาก จึงคดิ หาทางแกแคนกวางใหสาสม ในที่สดุ มนั คดิ วาควรไปหานายพรานใหมาแก้แคนแทนมนั และแก้ แค้นไดส้ าเร็จ แตท่ ้ายท่ีสดุ มันต้องตกเป็นทาสของนายพรานเอง รายการอ้างองิ ศึกษาธิการ, กระทรวง. (๒๕๕๕). หนงั สือเรยี นรายวิชาพืน้ ฐานภาษาไทย วรรณคดวี ิจักษ์ ชั้นมธั ยมศึกษา ปที ี่ ๒. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ สกสค.

เอกสารประกอบการเรยี น เร่อื ง คณุ ค่าดา้ นสงั คมในวรรณคดี การพิจารณาคุณค่าด้านสังคมเป็นการพิจารณาคุณค่าบทประพันธ์ว่าผู้แต่งมีจุดประสงค์อย่างไรใน การจรรโลงสังคม ซ่ึงพิจารณาจากทรรศนะ แนวคิด การให้คติเตือนใจ การแสดงให้เห็นถึงวิถีชีวิต ความเชื่อ ค่านิยม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี โดยการสอดแทรกไว้ในบทประพนั ธ์อยา่ งแนบเนียน คณุ คา่ ด้านสังคม งานประพันธ์ท่ีดจี ะสะท้อนวถิ ีชีวติ ค่านิยม ความเชื่อ ประเพณี วัฒนธรรม และภูมิปัญญาของคนใน สังคม มีเน้อื หาสาระช่วยจรรโลงหรอื พฒั นาสังคม ๑. วิถีชีวิต คือ แนวทางการดาเนินชีวิตตั้งแต่เกิดจนตาย จึงเป็นแหล่งรวมความรู้เร่ืองสังคม วัฒนธรรม ความเปน็ อยู่ ภมู ปิ ญั ญา การประพฤติ ปฏบิ ตั ิ การศึกษาอบรม และการสบื ทอดวัฒนธรรมจากอดีต จนถงึ ปัจจุบัน เช่น วรรณกรรมเร่ืองขุนช้างขุนแผน ได้สะท้อนสภาพชีวิตความเป็นอยู่ วิถีชีวิตต้ังแต่เด็กสู่ ความเปน็ หนุ่มสาว ทัง้ ชาววัด ชาววงั และชาวบา้ น หมายรวมถงึ วิถชี ีวิตเจ้ากับไพร่ คติ ความเช่อื คา่ นยิ มของ คนในสงั คม วัฒนธรรม ประเพณภี ูมิปญั ญาของชาวบ้านในสมัยนน้ั ได้ตรงตามสภาพที่เป็นจรงิ มาก ๒. ค่านิยม คือ ความรู้สึกนึกคิด ความเชื่อที่มนุษย์ยอมรับ ค่านิยมจึงมีความสาคัญต่อตัวมนุษย์และ สงั คม เพราะเป็นตวั กาหนดพฤติกรรม รวมถงึ การดาเนินชวี ิตในสังคม เช่น การมีสัมมาคารวะ การมีสามีเดียว เปน็ ตน้ เช่น ความซื่อสัตย์ต่อพระมหากษัตริย์ในวรรณกรรมได้กล่าวถึงระบบศักดินาท่ีใช้ในการ ปกครองสมัยก่อน เพราะแม้กระท่ังช่ือเรื่องก็สื่อให้เห็นถึงระบบศักดินาอย่างชัดเจน การถวายตัวในราชสานกั เพ่ือรับใช้และแสดงความซ่ือสัตย์ต่อพระมหากษัตริย์ ดังเช่น เมื่อพลายงามโตข้ึนได้ถวายตัวเพ่ือรับใช้ใน ราชการสนองพระมหากรุณาธิคุณ สะท้อนใหเ้ หน็ โลกทัศน์ของครอบครวั ขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยาที่มีความ จงรักภกั ดีต่อพระมหากษตั รยิ ม์ าก พระมหากษตั ริยต์ รัสสิ่งใดก็จะเชอ่ื ฟงั ดงั ตอนท่พี ลายงามถวายตวั แด่สมเด็จ พระพันวษา ขอเดชะพระกรณุ าฝ่าละออง ดอกไม้ธปู เทยี นทองของพลายงาม จงไปดมี าดศี รสี วัสดิ์ พน้ พบิ ัตเิ สย้ี นหนามความเจบ็ ไข้ จะขอรองมลุ ิกาพยายาม พลางกราบสามทสี ดับตรบั โองการ ใหศ้ ้ตรูพา่ ยแพ้แก่ฤทธไิ กร มีชยั ได้เวียงเชยี งใหม่มา ๓. ความเชื่อ คือ การยอมรับว่าส่ิงใดสิ่งหนง่ึ เป็นความจริงหรอื เป็นสิ่งท่ีเราไวใ้ จ ความจริงหรือความ ไว้วางใจท่ีเป็นรูปของความเชื่อนั้น ไม่จาเป็นว่าจะต้องเป็นความจริงท่ีตรง ตามหลักเหตุผลหรือหลัก วิทยาศาสตรใ์ ดๆ คนท่เี ชอ่ื ในฤกษ์ยามก็จะถือวา่ วันเวลาการโคจรของดวงดาวจะก่อให้เกิดผลต่อตวั มนษุ ย์ คน ที่เช่ือเคร่ืองรางของขลังก็จะมีความยึดม่ันวา่ เคร่ืองรางของขลังให้คุณให้โทษแก่ตนได้จรงิ ตัวอย่างของความ เชื่อ ได้แก่ ไสยศาสตร์ โหราศาสตร์ โชคลาง ของขลัง ผีสาง นางไม้ ความเชื่ออานาจลึกลับ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ อทิ ธฤิ ทธิป์ าฏหิ าริย์ เวรกรรม ฤกษย์ าม ความฝนั เคราะหก์ รรม เปน็ ตน้ เช่น ความเช่อื ท่ีปรากฏในเรื่อง ไดแ้ ก่ ความเชือ่ เรือ่ งความฝันบอกเหตุ เชือ่ คาทานายทายทัก ของโหรในตอนทส่ี มเด็จพระนเรศวรทรงพระสุบนิ นมิ ติ จึงตรัสให้หาพระโหราจารย์เพ่ือทานายนิมิต “ทนั ใดดิลกเจ้า จอมถวลั ย์ สรา่ งผทมถวิลฝัน หอ่ นรู้ พระหาพระโหรพลัน พลางบอก ฝันนา เรว็ เร่งทายโดยกระทู้ ทถี่ ้อยตูแถลง”

๔. ประเพณี คือ ขนบธรรมเนียม แบบแผน ความประพฤติที่หมู่ชนหมู่หน่ึงถือเป้นธรรมเนียม หรือ เป็นแบบแผนสบื ตอ่ กนั มาจนเป็นพิมพเ์ ดียวกัน ถา้ ใครในหมูป่ ระพฤตินอกแบบก็เปน็ การผิดประเพณี เช่น ขนบธรรมเนียมท่ีปรากฏในเร่ือง ได้แก่ เมื่อพระมหาอุปราชาจะออกศึก พระเจ้า - หงสาวดีทรงประสาทและใหโ้ อวาทการสร้างขวัญกาลังใจแกท่ หารและความเด็ดขาดในการรบ ความรเู้ ก่ียวกับ ตาราพิชัยสงคราม การจัดทัพ การตั้งทัพ การเคลื่อนทัพ ประเพณี และพิธีกรรมเกี่ยวกับสงคราม เช่น พิธี โขลนทวารตัดไมข้ ่มนาม เพอ่ื การสรา้ งขวัญกาลงั ใจแกท่ หาร ๕. ภมู ิปัญญา คอื ความรู้ ความสามารถ ความเชื่อ ท่ีนามาไปสู่การปฏิบัติเพ่ือแกไ้ ขปัญหาของมนุษย์ หรือ พื้นความรขู้ องปวงชนในสงั คมน้นั ๆ และปวงชนในสังคมยอมรับ รู้ เชื่อถือ เขา้ ใจ รว่ มกนั เช่น ด้านการรกั ษาโรค ในบทเสภาไดก้ ลา่ วถึง วา่ น ทีม่ ีสรรพคุณทใ่ี ชเ้ ปน็ ยาในการรักษาโรค ดังเสภา ท่วี ่า “ถึงลาวคาดเครอื่ งอานกินว่านยา ถกู ดาบมรณาลงดาดดนิ ” รายการอ้างองิ ชัยวัฒน์ สแี กว้ . ๒๕๕๒. คมั ภีร์ภาษาไทย ม.๔ – ๕ – ๖ ฉบับสมบูรณ์. กรงุ เทพมหานคร: เรืองแสงการพิมพ์. เริงชัย ทองหลอ่ . ๒๕๕๗. ค่มู ือเตรยี มสอบภาษาไทย ม.๔ – ๕ – ๖. กรงุ เทพมหานคร: อมรการพิมพ์. พัฒนาคุณภาพวิชาการ, สถาบัน. (๒๕๕๗). หนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐานภาษาไทย วรรณคดีและ วรรณกรรม ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ ๕. กรุงเทพฯ: บริษทั พฒั นาคุณภาพวชิ าการ. อัมพร ทองใบและมาลี พนั ธปุ์ ระเสริฐ. ๒๕๕๕. คูม่ ือเรียน วรรณคดีวิจักษ์ ม.๔ – ๕ – ๖. กรุงเทพมหานคร: ธิงค์ บยี อนด์ บุคส์.

เอกสารประกอบการเรียน เรือ่ ง บทนานริ าศภเู ขาทอง นิราศภูเขาทองเป็นวรรณคดีประเภทนิราศ ได้รับการยกย่องว่าเป็นนิราศเร่ืองท่ีดีท่ีสุดของสุนทรภู่ (พ.ศ. 2329 - 2398) ท่านแต่งนิราศเรื่องนี้จากการเดินทางไปนมัสการเจดีย์ภูเขาทอง ที่กรุงเก่า (จังหวัด พระนครศรีอยุธยาในปัจจุบัน) เม่ือเดือนสิบเอ็ด ปีชวด (พ.ศ. 2371) ขณะบวชเป็นพระภิกษุ สุนทรภู่แต่ง นิราศภูเขาทองในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อราวปลาย พ.ศ. ๒๓๕๓ โดยเล่าถึงการ เดินทางเพ่ือไปนมัสการเจดีย์ภูเขาทองที่เมืองกรุงเก่าหรือจังหวัดพระนครศรีอยุธยาในปัจจุบัน หลังจากจา พรรษาอย่ทู ่ีวัดราช-บุรณะหรือวดั เลยี บ ลกั ษณะคาประพนั ธ์ นริ าศภูเขาทองแต่งดว้ ยกลอนนิราศ มคี วามคลา้ ยคลงึ กบั กลอนสุภาพ แต่เริม่ ดว้ ย วรรครับ จบด้วย วรรคส่งลงท้ายด้วย คาว่า เอย มีความยาวเพียง 89 คากลอนเท่านั้น แต่มีความไพเราะ และเรียบง่าย ตาม แบบฉบับของสุนทรภู่ ใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย บรรยายความรู้สึกขณะเดียวกันกเ็ ล่าถึงสภาพของเส้นทางที่กาลงั เดินทางไปด้วย ท่านมกั จะเปรียบเทยี บชวี ิตและโชคชะตาของตนกบั ธรรมชาติรอบข้างทต่ี นได้เดินทางผ่านไป มี หลายบทที่เป็นที่รูจ้ ักและทอ่ งจากนั ได.้ .. นิราศเร่ืองแรกของไทยน้ัน ได้แก่ โคลงนิราศหริภุญชัย เนื้อหาของนิราศส่วนใหญ่มักเป็นการคร่า ครวญของกวี ต่อ สตรีอันเป็นท่ีรัก เนื่องจากต้องพลัดพรากจากนางมาไกล อย่างไรก็ตาม นางในนิราศท่ีกวี พรรณนาว่าจากมานั้นอาจมตี ัวตนหรือไม่มกี ็ได้ แต่กวีส่วนใหญ่ถือว่านางเป็นท่ีรักเป็นปัจจัยสาคัญท่ีจะเอื้อให้ กวแี ต่งนริ าศไดไ้ พเราะแมใ้ นสมยั หลงั กวีอาจไม่ได้ใหค้ วามสาคัญเรื่องการคร่าครวญถึงนาง แตเ่ นน้ ท่ีการบันทึก ระยะทางการเดนิ ทาง ประวตั ิผ้แู ตง่ สุนทรภู่ เกิดเม่ือ วันที่ ๒๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๓๒๙ วัยเด็กสุนทรภู่ เรียนหนงั สือที่สานักวดั ชีปะขาว (วัดศรสี ุดาราม) เขา้ รบั ราชการเปน็ เสมียนในกรมพระคลังสวน มีความสามารถในการแตง่ กลอน ไดร้ ับราชการ ในกรมพระอาลักษณ์เป็นกวีที่ปรึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เคยต้องโทษเพราะ เมาสุรา เมื่อพ้นโทษเป็นพระอาจารยถ์ วายพระอักษรสมเด็จพระเจา้ ลูกยาเธอเจ้าฟา้ อาภรณ์ ในสมัยรัชกาลท่ี ๓ สุนทรภ่อู อกจากราชการและออกบวชระยะหนึ่ง ในสมัยรชั กาลที่ ๔ สุนทรภ่ไู ด้เป็นเจา้ กรมอาลกั ษณ์และ มีบรรดาศกั ดิเ์ ป็น พระสุนทรโวหาร (ตาแหนง่ สดุ ทา้ ยกอ่ นถึงแกก่ รรม) สนั นิษฐานวา่ สนุ ทรภู่ถงึ แก่กรรม ในปี พ.ศ. ๒๓๙๘ สิริอายุได้ ๗๐ ปี เม่ือวันที่ ๑๓ พ.ย. ๒๕๒๗ ได้รับการยกย่องจากองค์การยูเนสโก ให้เป็นกวี ดีเดน่ ของโลก รฐั บาลได้กาหนด ให้วนั ที่ ๑๖ ม.ิ ย. ของทุกปี เปน็ วนั สนุ ทรภู่ ผลงานสุนทรภู่ นริ าศ มี ๙ เร่อื ง ไดแ้ ก่ นริ าศเมอื งแกลง นริ าศพระบาท นิราศภเู ขาทอง นริ าศวัดเจ้าฟ้า นิราศอเิ หนา นิราศเมอื งสุพรรณ ราพันพิลาป นริ าศพระประธม และนิราศเมืองเพชร นิทาน มี ๕ เรื่อง ไดแ้ ก่ นิทานคากลอน โคบุตร พระอภัยมณี ลักษณวงศ์ สิงหไกรภพ และกาพย์เรื่อง พระไชยสุริยา บทเห่กล่อม มี ๔ เรื่อง ได้แก่ จับระบา กากี พระอภัยมณี และโคบุตร บทเสภา มี ๒ เร่ือง ได้แก่ ขุนช้างขุนแผน ตอน กาเนิดพลายงาม และพระราชพงศาวดาร วรรณกรรมคาสอน มี ๒ เรื่อง ได้แก่ สวัสดิรักษา และเพลงยาว ถวายโอวาทบทละคร มี ๑ เรอื่ ง ไดแ้ ก่ อภยั นุราช การเดนิ ทางในนิราศ สุนทรภู่ล่องเรือในแม่น้าเจ้าพระยาไปกับลูกชายชื่อหนูพัด ผ่านวัดบะโคนปัก บางย่ีขัน ถึงบางพลัด ผ่านตลาดแก้วตลาดขวัญในเขตจังหวัดนนทบุรี จากน้ันก็ผ่านเกาะเกร็ด ซ่ึงเป็นย่านชาวมอญ เข้าสู่จังหวัด ปทุมธานี หรือเมืองสามโคก แล้วเข้าเขตอยุธยา จอดเรือที่ท่าวัดพระเมรุ ค้างคืนในเรือ มีโจรแอบจะมาขโมย ของในเรือ แต่ไหวตัวทัน รุ่งเช้าเป็นวันพระ ลงจากเรือเดินทางไปท่ีเจดีย์ภูเขาทอง ซ่ึงเป็นเจดีย์ร้าง เก็บพระ บรมธาตมุ าไวใ้ นขวดแกว้ ตั้งใจจะนาไปนมัสการท่กี รุงเทพฯ แตเ่ ม่ือต่ืนมาก็ไม่พบพระธาตุ จงึ ไดเ้ ดนิ ทางกลบั

เอกสารประกอบการเรียน เร่ือง เน้อื เร่อื งนริ าศภูเขาทอง ๑. ๏เดอื นสบิ เอ็ดเสรจ็ ธรุ ะพระวสา รบั กฐนิ ภญิ โญโมทนา ชุลลี าลงเรือเหลอื อาลยั ออกจากวดั ทศั นาดอู าวาส เมอ่ื ตรษุ สารทพระวสาได้อาศยั สามฤดูอยู่ดไี ม่มีภัย มาจาไกลอารามเมือ่ ยามเยน็ โออ้ าวาสราชบรุ ณะพระวหิ าร แตน่ น้ี านนบั ทวิ าจะมาเหน็ เหลอื ราลึกนกึ นา่ น้าตากระเดน็ เพราะขกุ เข็ญคนพาลมารานทาง จะยกหยิบธิบดีเป็นทต่ี ้ัง ก็ใชถ้ ังแทนสัดเหน็ ขัดขวาง จึ่งจาลาอาวาสนริ าศรา้ ง มาอ้างว้างวญิ ญาณ์ในสาครฯ ๑. ถงึ เดือน ๑๑ ซึง่ ออกจากการจาพรรษาแล้ว เม่ือรบั กฐินอย่างยินดเี สร็จแล้ว ก็ตอ้ งลงเรือไปดว้ ย ความเศร้าโศก ออกจากวัดก็มองดูวดั ที่เคยอาศยั เมอื่ ปที ผ่ี า่ นมาไดอ้ ยอู่ าศัย อกี ทัง้ ๓ ฤดูทอ่ี ยู่มาก็ไม่มอี ะไรมา กวนใจ อีกทง้ั วดั ราชบรุ ณะพระวหิ ารนค้ี งอกี นานกวา่ จะได้มาเห็น นึกแลว้ เศรา้ ใจย่ิงนกั ทงั้ นเ้ี ปน็ เพราะมีคน พาลมารังแกใสร่ ้าย คิดจะนาผู้ใหญ่คอยช่วยเหลอื ทา่ นก็ไม่มีความยุตธิ รรม จึงต้องอาลาวัดไปจนต้องมาอา้ งวา้ ง อย่กู ลางสายน้า ๒.๏ ถึงหนา้ วังดงั หนงึ่ ใจจะขาด คิดถงึ บาทบพติ รอดิศร โอผ้ า่ นเกล้าเจา้ ประคุณของสุนทร แตป่ างกอ่ นเคยเฝ้าทกุ เชา้ เยน็ พระนพิ พานปานประหนง่ึ ศีรษะขาด ดว้ ยไรญ้ าติยากแคน้ ถึงแสนเขญ็ ทั้งโรคซ้ากรรมซัดวิบตั ิเปน็ ไม่เลง็ เห็นท่ซี ง่ึ จะพงึ่ พา จะสรา้ งพรตอตสา่ ห์ส่งสว่ นบญุ ถวาย ประพฤติฝา่ ยสมถะท้ังวสา เป็นส่งิ ของฉลองคุณมลุ ิกา ขอเปน็ ข้าเคยี งพระบาททุกชาติไปฯ ๒. ถงึ หน้าวังกเ็ ศร้าโศกมาก คดิ ถงึ พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลัยผ้ซู ่งึ มีพระคุณกบั สุนทรภู่ อยา่ งมาก เมื่อก่อนเคยเข้าเฝ้าทา่ นอย่างใกลช้ ิดและบ่อยครัง้ เม่อื พระองคส์ วรรคตก็เหมือนกับสนุ ทรภู่ตายไป ดว้ ยเพราะไม่มีญาติหรือคนคอยชว่ ยเหลือชวี ติ จึงยากแค้นแสนเขญ็ อีกทัง้ มโี รคมกี รรมเขา้ มารมุ ล้อม ไม่เหน็ ใคร ทจ่ี ะพึ่งพาได้ จงึ ได้บวชเพื่ออทุ ศิ ส่วนกุศลให้แก่รัชกาลที่ ๒ ประพฤตติ นอยูใ่ นศีลธรรมตลอดเวลา เพอื่ เปน็ สิ่ง ทดแทนคุณพระองค์ แม้เกิดชาตใิ ดใดกข็ อให้เปน็ ข้ารบั ใช้พระองคต์ ลอดไป ๓.๏ ถึงหนา้ แพแลเหน็ เรือที่นัง่ คิดถงึ ครงั้ ก่อนมาน้าตาไหล เคยหมอบรับกบั พระจมนื่ ไวย แลว้ ลงในเรือทนี่ ่งั บลั ลังกท์ อง เคยทรงแตง่ แปลงบทพจนารถ เคยรบั ราชโองการอา่ นฉลอง จนกฐินสนิ้ แม่น้าแลลาคลอง มิ ไดข้ ้องเคืองขดั หทั ยา เคยหมอบใกล้ได้กลนิ่ สุคนธต์ ลบ ละอองอบรสร่นื ช่นื นาสา ส้ินแผน่ ดินสิน้ รสสุคนธา วาสนาเราก็ส้ินเหมือนกลนิ่ สุคนธ์ฯ ๓. เมื่อถึงหน้าแพก็เห็นเรอื พระท่ีนง่ั คิดถงึ เม่อื กอ่ นก็เศร้าจนน้าตาไหล เคยหมอบกราบรัชกาลท่ี ๒ กบั พระจมน่ื ไวย แลว้ ก็ลงไปในเรือบลั ลังกท์ อง เคยแต่งแปลงบทความ เคยรับราชโองการอ่านในงานฉลอง จน เรือท่มี าทอดกฐินหมดแลว้ ก็ยงั มไิ ด้ทาใหพ้ ระองคข์ ัดใจแตอ่ ย่างใดเคยหมอบกราบใกลจ้ นไดก้ ลิน่ หอมจากพระ วรกาย กลน่ิ หอมนน้ั หอมจนติดจมกู แต่เม่ือพระองคส์ วรรคตกส็ ้ินกลนิ่ หอมไปด้วย เหมือนวาสนาของสนุ ทรภกู่ ็ สิน้ ตามกลนิ่ ไป ๔.๏ ดูในวงั ยงั เหน็ หอพระอัฐิ ตง้ั สติเติมถวายฝ่ายกศุ ล ทั้งปนิ่ เกลา้ เจ้าพภิ พจบสกล ใหผ้ อ่ งพ้นภยั สาราญผ่านบุรินทรฯ์

๔. มองไปในวังยงั เหน็ หอที่เก็บพระอฐั ขิ องรัชกาลที่ ๒ กต็ ้ังสติถวายสว่ ยบญุ สวยกุศล ท้ังสง่ ส่วนกุศล ไปใหร้ ชั กาลท่ี ๓ ให้พ้นภยั ในการปกครองบา้ นเมือง ๕.๏ ถงึ อารามนามวัดประโคนปกั ไมเ่ หน็ หลกั ลอื เล่าว่าเสาหนิ เปน็ สาคญั ปันแดนในแผ่นดิน มิร้สู น้ิ สดุ ช่อื ท่ีลอื ชา ขอเดชะพระพุทธคณุ ช่วย แม้นมอดม้วยกลบั ชาตวิ าสนา อายุยนื หม่ืนเท่าเสาศิลา อยู่ค่ฟู ้าดนิ ได้ดังใจปอง ไปพน้ วดั ทัศนาริมทา่ นา้ แพประจาจอดรายเขาขายของ มแี พรผ้าสารพัดสมี ว่ งตอง ทง้ั สิง่ ของขาวเหลืองเคร่ืองสาเภาฯ ๕. ถึงวัดประโคนปกั ก็มองไปไม่เห็นเสาหนิ ทลี่ อื กนั เป็นเสาทีส่ าคัญในแผ่นดิน ถึงจะไม่เหน็ ก็ขอเดชะ พระพุทธคุณชว่ ย ขอให้อายยุ ืนหม่ืนๆปเี ท่าดังเสาศลิ า อยู่คฟู่ ้าดนิ ไดต้ ลอดไป พอเรือลอ่ งเลยวัดกม็ องดรู ิมทา่ น้า มแี พมาจอดขายของอย่เู รียงราย มีขายท้ังผา้ แพรสมี ว่ งและสีอื่นๆ ทั้งส่ิงของทีมาจากเมอื งจนี ๖.๏ ถึงโรงเหลา้ เตากลั่นควนั โขมง มีคันโพงผกู สายไว้ปลายเสา โอ้บาปกรรมน้านรกเจยี วอกเรา ให้มวั เมาเหมอื นหนึง่ บา้ เปน็ นา่ อาย ทาบุญบวชกรวดนา้ ขอสาเร็จ สรรเพชญโพธิญาณประมาณหมาย ถงึ สุราพารอดไมว่ อดวาย ไมใ่ กล้กรายแกลง้ เมินกเ็ กนิ ไป ไมเ่ มาเหลา้ แลว้ แต่เรายงั เมารัก สดุ จะหกั ห้ามจิตคิดไฉน ถงึ เมาเหล้าเช้าสายกห็ ายไป แตเ่ มาใจนป้ี ระจาทุกค่าคนื ฯ ๖. ถงึ โรงเหล้าก็มคี วันออกมาจากเตากลน่ั มากมาย มเี ครือ่ งตักนา้ ผูกไวป้ ลายเสา สุนทรภู่เคยด่มื นา้ เหลา้ จนเมาเหมอื นคนบ้า จึงไดบ้ วชเพื่อจะไดพ้ ้นจากอบายมขุ ขอให้ได้ตรสั รดู้ งั พระพุทธเจา้ แต่เหล้าเคยทาให้ รอดชวี ติ ดังนั้นจะเมนิ ไปก็เกินไป ถงึ จะไม่เมาเหลา้ แตย่ ังเมารักอยู่ หักหา้ มจติ ใจไมใ่ ห้รกั ไม่ได้ การเมาเหลา้ นัน้ พอรุ่งข้ึนกห็ ายไป แต่การเมารกั น้จี ะเป็นทกุ ๆคนื ๗.๏ ถึงบางจากจากวัดพลัดพีน่ ้อง มามวั หมองม้วนหน้าไม่ฝ่าฝืน เพราะรกั ใคร่ใจจืดไมย่ ืดยนื จงึ ตอ้ งขนื ในพรากมาจากเมือง ๗. ถึงบางจากไม่อยากได้ยนิ คาว่าจาก เพราะสุนทรภู่จากหลายๆอย่างมา ตอ้ งมใี จมัวหมองเพราะรักนนั้ ไม่ยนื ยาว จึงต้องจากเมืองพรากมา ๘.๏ ถงึ บางพลคู ดิ ถงึ คู่เมื่ออยู่ครอง เคยใสซ่ องส่งให้ลว้ นใบเหลอื ง ถงึ บางพลดั เหมือนพี่พลดั มาขัดเคอื ง ทั้งพลัดเมอื งพลดั สมรมารอ้ นรน ๘. ถึงบางพลูคดิ ถึงนางจนั เม่อื แตง่ งานกัน เคยสง่ หมากพลูโดยใสซ่ องใหท้ ั้งหมดเป็นใบเหลืองซง่ึ อร่อย มาก ถึงบางพลดั กไ็ มอ่ ยากได้ยนิ คาวา่ พลดั เพราะได้พลัดจากนางจนั ท้ังยงั พลัดจากเมืองและอน่ื ๆอย่างร้อนรน ๙.๏ ถึงบางโพธโอพ้ ระศรมี หาโพธิ์ ร่มนิโรธรกุ ขมลู ให้พูนผล ขอเดชะอานภุ าพพระทศพล ใหผ้ อ่ งพน้ ภยั พาลสาราญกายฯ ๙. ถึงบางโพก็คิดถึงตน้ โพธิ์ใหร้ ม่ เงาให้ความร่มเย็นท้ังยังทาให้โคนต้นไมง้ อกงามได้ ขอเดชะของ พระพทุ ธเจา้ ให้พ้นภยั พาลตลอดไป ๑๐.๏ ถงึ บ้านญวนลว้ นแต่โรงแลสะพร่งั มีข้องขงั กุ้งปลาไว้ค้าขาย ตรงหน้าโรงโพงพางเขาวางราย พวกหญงิ ชายพรอ้ มเพรียงมาเมียงมอง จะเหลียวกลบั ลบั เขตประเทศสถาน ทรมานหมน่ ไหมฤ้ ทยั หมอง ถึงเขมาอารามอร่ามทอง พึ่งฉลองเลกิ งานเมือ่ วานซนื ฯ ๑๐. ถึงบา้ นญวนเหน็ มีโรงแลมากมาย มีคนคา้ ขายของเช่นกุ้งหรือปลาโดยการขังไว้ในข้อง ขา้ งหน้า โรงวางท่ีสาหรบั ดกั ปลาวางเรยี งไว้ มีทง้ั ผหู้ ญิงและผูช้ ายมาจับจา่ ยซือ้ ของ จะมองกลบั ไปยังประเทศบ้านเกดิ ก็ ทรมานเหมอื นโดนไฟไหม้ จิตใจก็หม่นหมอง ลอ่ งเรอื มาจนถึงวัดเขมา กร็ ู้วา่ พึ่งเลกิ งานฉลองไปเมอ่ื วานซืน

๑๑.๏ โอ้ปางหลังครั้งสมเด็จพระบรมโกศ มาผกู โบสถ์กไ็ ดม้ าบชู าชื่น ชมพระพมิ พร์ มิ ผนงั ยงั ยง่ั ยนื ทั้งแปดหม่นื สพ่ี นั ไดว้ ันทา โอ้คร้ังนีม้ ิได้เหน็ เลน่ ฉลอง เพราะตวั ตอ้ งตกประดาษวาสนา เปน็ บุญนอ้ ยพลอยนกึ โมทนา พอนาวาติดชลเขา้ วนเวยี น ดนู ้าวิง่ กลง้ิ เชยี่ วเป็นเกลียวกลอก กลับกระฉอกฉาดฉนั ฉวดั เฉวียน บ้างพลงุ่ พลงุ่ วุ้งวงเหมือนกงเกวียน ดเู ปลย่ี นเปลย่ี นคว้างคว้างเป็นหวา่ งวน ทง้ั หัวทา้ ยกรายแจวกระชากจว้ ง ครรไลลว่ งเลยทางมากลางหน โอเ้ รือพน้ วนมาในสาชล ใจยังวนหวังสวาทไม่คลาดคลาฯ ๑๑. คิดถงึ เมือ่ กอ่ นซ่งึ รชั กาลที่ ๒ ไดม้ าตัดหวายลกู นิมิต ได้ชมพระพมิ พท์ ัง้ ๘๔,๐๐๐ องค์ซ่งึ เทา่ กับ จานวนพระธรรมท่อี ย่ใู นพระไตรปิฎกทอ่ี ยรู่ ิมผนัง แต่คร้งั น้ีไมไ่ ด้เห็นการเล่นฉลองเพราะสุนทรภูต่ ้องหมด วาสนาและลาบาก เปน็ เพราะบญุ นอ้ ยก็นกึ เศร้า แต่แล้วเรอื ก็ตดิ นา้ วน มองเห็นน้าวิ่งเช่ยี วหมนุ เป็นเกลยี ว พุ่ง ไปมาตดั กนั บางส่วนก็พงุ่ วนเหมอื นกงเกวียน ดเู วยี นๆเปน็ เหมอื นพายวุ น ทั้งหวั ท้ายเรือไดร้ บั แจวเรอื ดงั นัน้ เรือ จึงหลุดน้าวนออกมาได้ แต่ถึงเรือจะพน้ น้าวนมาแลว้ แตใ่ จก็ยังไมพ่ ้นจากความรกั ๑๒.๏ ตลาดแก้วแลว้ ไม่เห็นตลาดตั้ง สองฟากฝัง่ ก็แต่ล้วนสวนพฤกษา โอ้รนิ รินกลนิ่ ดอกไมใ้ กลค้ งคง เหมอื นกลิ่นผา้ แพรดารา่ มะเกลอื เหน็ โศกใหญ่ใกล้นา้ ระกาแฝง ทั้งรกั แซงแซมสวาทประหลาดเหลอื เหมอื นโศกพี่ทร่ี ะกากซ็ า้ เจือ เพราะรักเร้อื แรมสวาทมาคลาดคลาย ๑๒. ถึงตลาดแกว้ แต่ไม่เห็นมีตลาดตงั้ ขายของท้งั สองฝง่ั เหน็ แตต่ ้นไมพ้ ชื พนั ธุ์ตา่ งๆ ได้กล่ินดอกไม้หอม ไปเรือ่ ยๆตลอดทางและกลน่ิ เหมือนผ้าแพรท่ยี อ้ มดว้ ยมะเกลือ เห็นตน้ โศกใหญ่และตน้ ระกาเป็นแผงแตแ่ ปลกที่ มีต้นรักขนึ้ แซมอย่ดู ้วย เหมือนความโศกเศรา้ ระกาใจที่สุนทรภตู่ ้องเปน็ เพราะรักแมจ่ นั ๑๓.๏ถึงแขวงนนทช์ ลมารคตลาดขวัญ มีพ่วงแพแพรพรรณเขาค้าขาย ทง้ั ของสวนลว้ นแตเ่ รอื เรยี งราย พวกหญิงชายชมุ กนั ทุกวนั คืนฯ ๑๓. ถึงจงั หวัดนนทบุรกี ็เห็นมตี ลาดนา้ มีแพอยซู่ ่งึ ขายเส้อื ผ้าเครื่องนงุ่ หม่ มีทัง้ เรอื จอดอยู่เพ่อื ขาย ผลไม้จากสวนแท้ มีท้ังผ้หู ญงิ ผู้ชายมาประชุมซอื้ ของกนั ทกุ วนั ทุกคนื ๑๔. ๏ มาถึงบางธรณีทวีโศก ยามวโิ ยคยากใจให้สะอน้ื โอ้สธุ าหนาแนน่ เปน็ แผ่นพนื้ ถงึ ส่หี มืน่ สองแสนทัง้ แดนไตร เม่อื เคราะห์รา้ ยกายเรากเ็ ท่าน้ี ไม่มที พ่ี สุธาจะอาศยั ล้วนหนามเหนบ็ เจ็บแสบคับแคบใจ เหมอื นนกไรร้ ังเรอ่ ย่เู อกาฯ ๑๔. มาถึงหม่บู ้านบางธรณีก็โศกเศร้ามากขนึ้ มาก เพราะตอนลาบากพาให้ใจสะอ้นื มาก ทั้งทแ่ี ผน่ ดิน หนาขนาดสองแสนสีห่ ม่ืนโยชน์แต่เมือ่ ถึงคราวลาบากแม้แต่แผน่ ดนิ กไ็ ม่มที ่อี าศยั เหมือนโดนหนามเสยี ดแทง เจ็บแสบมาก เหมือนกบั นกไมม่ รี ังท่ีจะอาศยั ต้องเรร่ ่อนไปเร่อื ยๆ ๑๕.๏ ถงึ เกร็ดยา่ นบา้ นมอญแตก่ ่อนเก่า ผูห้ ญงิ เกล้ามวยงามตามภาษา เดย๋ี วนี้มอญถอนไรจุกเหมือนตกุ๊ ตา ทง้ั ผดั หนา้ จับเขม่าเหมือนชาวไทย โอ้สามญั ผนั แปรไม่แท้เทย่ี ง เหมือนอย่างเยีย่ งชายหญงิ ทิ้งวิสัย น่ีหรอื จิตคดิ หมายมีหลายใจ ทจี่ ิตใครจะเป็นหนึ่งอย่าพึงคดิ ฯ ๑๕. ถงึ ตาบลปากเกร็ดซงึ่ เปน็ บริเวณที่ชาวมอญอพยพมา ตามธรรมเนียมผหู้ ญิงมอญจะเกล้าผม แต่ สมัยน้ผี หู้ ญงิ มอญมาถอนไรผมเหมอื นตุก๊ ตา ทงั้ ยังใช้เคร่อื งสาอาง ใชแ้ ปง้ ผดั หนา้ ซึง่ เหมอื นกบั ชาวไทย ทาให้ เหน็ ไดว้ ่าสมัยน้ีทุกส่งิ ทุกอย่างไมม่ ีความเทยี่ งแท้ เหมอื นดังที่ชาวมอญละทิ้งประเพณวี ัฒนธรรมของตนเองแล้ว จะนับประสาอะไรกบั จติ ใจของคน ซงึ่ ไมม่ ีใครมีใจเดียวแตม่ หี ลายใจ ๑๖.๏ ถงึ บางพดู พดู ดเี ปน็ ศรศี กั ดิ์ มีคนรักรสถอ้ ยอรอ่ ยจิต แมน้ พดู ช่วั ตวั ตายทาลายมิตร จะชอบผดิ ในมนษุ ย์เพราะพูดจาฯ

๑๖. ถงึ หม่บู ้านบางพดู สนุ ทรภ่กู น็ ึกถงึ คาวา่ พดู ดงั วา่ ถา้ ใครพูดดกี ็จะมคี นรกั แตถ่ า้ พูดไมด่ ีก็อาจจะ เปน็ ภัยต่อตนเองไดอ้ กี ทัง้ ยงั ไม่มใี ครคบ ไม่มเี พื่อนสนิทมิตรสหาย ท้ังการจะดูว่าใครดีไม่ดีดูได้จากการพดู ๑๗.๏ ถงึ บ้านใหมใ่ จจติ ก็คดิ อ่าน จะหาบ้านใหม่มาดเหมอื นปรารถนา ขอให้สมคะเนเถิดเทวา จะได้ผาสุกสวัสดิจ์ ากัดภยั ๑๗. ถึงหมู่บา้ นบา้ นใหมส่ นุ ทรภกู่ ค็ ิดอยากจะไดบ้ ้านซักหลังตามที่ตอ้ งการโดยขอกบั เทวดาให้สมดงั ปรารถนา เพราะ การมบี ้านใหม่จะได้มคี วามสขุ และมีท่ีอาศัยอย่างปลอดภยั ๑๘.๏ถึงบางเดอื่ โอ้มะเด่อื เหลอื ประหลาด บังเกดิ ชาตแิ มลงหวี่มีในไส้ เหมือนคนพาลหวานนอกยอ่ มขมใน อุปไมยเหมือนมะเดื่อเหลือระอา ๑๘.ถึงหมูบ่ ้านบางเดอื่ ก็คิดถึงลกู มะเด่อื ที่ภายนอกน้นั ดูสวยงามน่ารบั ประทานแต่ภายในกลบั มีแมลงมี หนอนชอนไชอยู่ เหมอื นกับคนพาลท่ีปากพูดดแี ต่ในใจคิดทาอนั ตราย ๑๙.๏ถงึ บางหลวงเชงิ รากเหมือนจากรัก สูเ้ สียศกั ด์สิ ังวาสพระศาสนา เป็นล่วงพ้นรนราคราคา ถงึ นางฟา้ จะมาใหไ้ ม่ไยดีฯ ๑๙. ถงึ บางหลวงเหมอื นจากนางจันมานานแล้วเราตอ้ งสละจากยศถาบรรดาศกั ดิ์เพอื่ มาบวชเพอื่ จะได้ พน้ จากกเิ ลสท้งั หลายทั้งปวง ถึงจะมนี างฟา้ มายัว่ กไ็ มส่ นใจ ๒๐.๏ ถงึ สามโคกโศกถวิลถงึ ป่ินเกลา้ พระพุทธเจ้าหลวงบารุงซ่งึ กรงุ ศรี ประทานนามสามโคกเป็นเมอื งตรี ชื่อปทุมธานีเพราะมีบัว โอ้พระคณุ สูญลบั ไม่กลับหลัง แตช่ ื่อตง้ั ก็ยังอยเู่ ขาร้ทู ่ัว โอเ้ รานที้ ีส่ นุ ทรประทานตวั ไมร่ อดช่วั เชน่ สามโคกยงิ่ โศกใจ ส้นิ แผ่นดินสิ้นนามตามเสดจ็ ตอ้ งเที่ยวเตรด็ เตร่หาทอ่ี าศัย แมน้ กาเนิดเกิดชาติใดใด ขอให้ได้เปน็ ข้าฝา่ ธุลี ส้ินแผ่นดนิ ขอใหส้ ้นิ ชีวิตบ้าง อย่ารูร้ ้างบงกชบทศรี เหลอื อาลยั ใจตรมระทมทวี ทุกวนั นีก้ ็ซงั ตายทรงกายมาฯ ๒๐. ถึงสามโคกกค็ ิดถึงพระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลัยซง่ึ พระองค์ปกครองเมอื งกรงุ เทพฯ พระองคไ์ ดพ้ ระราชทานนามเมอื งจากสามโคกซ่ึงเปน็ หวั เมืองชน้ั สามเปน็ เมืองปทมุ ธานเี ปน็ เพราะมีบัวเยอะ ถงึ พระองคจ์ ะเสด็จสวรรคตไปแลว้ แต่ชอื่ ปทมุ ธานคี งอยู่ตลอดไป แต่ทาไมช่ือของสุนทรภูช่ ื่อขุนสนุ ทรโวหารที่ ได้รับพระราชทานนามมาแตก่ ลบั ไม่มีชอื่ ในแผน่ ดินหลงั จากพระองค์สวรรคตเลยซ่งึ ตา่ งกบั ปทุมธานี สุนทรภู่ ตอ้ งเร่รอ่ นหาท่ีอาศัยเพราะขณะน้ีไมม่ บี า้ น สนุ ทรภ่ขู อให้เกิดทกุ ชาตไิ ด้เป็นขา้ รบั ใชพ้ ระองค์ตลอดไป พอ พระองค์สวรรคตสนุ ทรภ่กู ็ขออยากตายตามบ้างเพือ่ จะได้รับใชแ้ ละพ่ึงพระองค์ เด๋ยี วน้ีกเ็ ศร้าโศกใจทุกข์ระทม อย่างทวคี ูณมาก ตอ้ งเรร่ อ่ นไปเร่ือยๆชีวติ ไมม่ ีจุดมุ่งหมาย ๒๑.๏ ถงึ บา้ นงว้ิ เห็นแตง่ ้ิวละลิว่ สงู ไมม่ ีฝูงสตั ว์สงิ ก่ิงพฤกษา ด้วยหนามดกรกดาษระดะตา นึกกน็ า่ กลัวหนามขามขามใจ งิว้ นรกสิบหกองคลุ ีแหลม ดังขวากแซมเส้ยี มแทรกแตกไสว ใครทาชู้ค่ทู ่านคร้ันบรรลัย ก็ต้องไปปีนตน้ น่าขนพอง เราเกดิ มาอายุเพียงนแี้ ล้ว ยังคลาดแคลว้ ครองตวั ไม่มวั หมอง ทุกวันน้ีวปิ ริตผดิ ทานอง เจยี นจะตอ้ งปนี บ้างหรอื อยา่ งไรฯ ๒๑. ถึงหมบู่ า้ นบ้านงิ้วกเ็ หน็ มแี ต่ตน้ ง้ิวซงึ่ ไมม่ นี กหรอื สตั วอ์ น่ื ๆอยูบ่ นกิ่งเลยเพราะตน้ งวิ้ มหี นามขึน้ อยู่ มากมายนึกถงึ กน็ ่ากลัวหนามเพราะถา้ โดนคงเจ็บมาก แตง่ ้วิ ในนรกยาวถงึ ๑๖ ขอ้ นวิ้ แหลมเหมือนกบั ไม้ไผ่ เหลาทากบั ดัก ซึง่ ใครมีชูเ้ ม่อื ตายไปแล้วกต็ ้องไปปีนตน้ งิ้วในนรก แต่สุนทรภ่เู กดิ มาอายุมากแล้วแต่ยังครองตวั อยู่ในศลี ธรรมไมม่ ชี ู้ แต่ทุกวันนีผ้ ู้คนวิปริตมีชกู้ นั มากคงตอ้ งไปปีนตน้ งิ้วในนรกกนั บ้าง

๒๒.๏ โอ้คดิ มาสารพดั จะตดั ขาด ตดั สวาทตดั รกั มิยักไหว ถวิลหวังน่ังนกึ อนาถใจ ถงึ เกาะใหญ่ราชครามพอยามเย็น ดหู ่างยา่ นบา้ นช่องทง้ั สองฝัง่ ระวังท้ังสัตว์น้าจะทาเข็ญ เป็นท่อี ยู่ผูร้ า้ ยไมว่ ายเว้น เทีย่ วซอ่ นเรน้ ตีเรอื เหลอื ระอาฯ ๒๒. ทัง้ หมดทคี่ ดิ มานั้นสนุ ทรภู่สามารถตัดขาดไดแ้ ตก่ ารตดั ความรักนัน้ ยากยงิ่ นกั นง่ั นึกอนาถใจไปจน เยน็ ก็ถงึ เกาะใหญร่ าชคราม มองไปเหน็ บา้ นเรือนตา่ งๆอยหู่ ่างจากสองฝ่งั มากในท่นี ้ตี ้องระวงั จระเขจ้ ะทาร้าย ท้งั ที่นีย่ ังเป็นทอี่ ยูข่ องผูร้ า้ ยซึง่ มาคอยดักตีเรอื สุนทรภ่คู ิดแลว้ น่าเบือ่ ยง่ิ นกั ๒๓.๏ พระสรุ ิยงลงลบั พยับฝน ดูมัวมนมดื มิดทกุ ทศิ า ถึงทางลดั ตัดทางมากลางนา ทัง้ แฝกคาแขมกกขน้ึ รกเรีย้ ว เป็นเงาง้านา้ เจ่ิงดเู ว้งิ วา้ ง ทั้งกวา้ งขวางขวญั หายไม่วายเหลยี ว เห็นดุ่มดมุ่ หนมุ่ สาวเสยี งกราวเกรียว ล้วนเรือเพรียวพร้อมหนา้ พวกปลาเลย เขาถ่อคลอ่ งว่องไวไปเป็นยืด เรอื เราฝดื เฝอื มานจิ จาเอย๋ ต้องถ่อค้ารา่ ไปทง้ั ไม่เคย ประเด๋ียวเสยสวบตรงเข้าพงรก กลับถอยหลังร้ังรอเฝา้ ถ่อถอน เรอื ขย่อนโยกโยนกระโถนหก เงยี บสงัดสัตวป์ า่ คณานก นา้ ค้างตกพร่างพรายพระพายพัด ไมเ่ ห็นคลองตอ้ งค้างอยกู่ ลางท่งุ พอหยดุ ยุงฉู่ชุมมารมุ กดั เป็นกลุ่มกลุม่ กลมุ้ กายเหมือนทรายซัด ตอ้ งนงั่ ปัดแปะไปมไิ ดน้ อนฯ ๒๓. เม่ือพระอาทติ ยต์ กก็มีเมฆมดื ครึ้มมาจนดมู ืดมวั ไปทุกทศิ ทุกทาง พายเรอื ถึงทางลัดซง่ึ เป็นทางตดั กลางนากเ็ ห็นมตี ้นแฝกตน้ คาตน้ แขมตน้ กกข้นึ ปะปนกันอย่มู ากมาย เงาของต้นพวกนที้ อดลงนา้ ทาให้ดเู วง้ิ ว้าง ดกู วา้ งขวางเหลยี วมองทไี รก็รูส้ กึ ขวัญหายทุกที มองเห็นเงาของหญงิ ชายทั้งยงั มเี สียงคุยกนั เรือของพวกเขา เพรยี วเล็กและมปี ลาอยู่บนเรืออกี ด้วย พวกเขาถอ่ เรือคลอ่ งแคล่วเดนิ ทางไปอย่างรวดเรว็ แต่เรือของสุนทรภู่ไป ช้ามากช่างน่าสงสารลกู ศิษย์ทตี่ ้องถอ่ เรอื อยา่ งเหน็ดเหนื่อยทง้ั ๆท่ีไมเ่ คยเสน้ ทาง บางทีเรือกเ็ สยเข้าพงหญ้ารก รุงรัง จะถอยหลังก็ถอยยาก เรือกโ็ คลงจนกระโถนใสห่ มากหก พอเง่ียหูฟงั ก็ไม่ได้ยินเสยี งสัตวเ์ ลยซกั ตวั มแี ต่ น้าค้างตกเพราะลมพดั มองไปไมเ่ ห็นคลองเลยต้องค้างอยกู่ ลางทุ่ง แต่พอหยดุ เรือหยุดก็มารุมกดั เจ็บเหมอื น โดนทรายซัด เลยไมไ่ ด้นอนเพราะตอ้ งนงั่ ตบยุง ๒๔.๏ แสนวิตกอกเอ๋ยมาอา้ งวา้ ง ในท่งุ กว้างเห็นแตแ่ ขมแซมสลอน จนดกึ ดาวพราวพร่างกลางอัมพร กาเรยี นร่อนร้องก้องเมื่อสองยาม ทั้งกบเขียดเกรียดกรีดจังหรดี เรอื่ ย พระพายเฉ่อื ยฉิวฉิววะหววิ หวาม วังเวงจิตคิดคะนึงราพงึ ความ ถึงเมื่อยามยงั อดุ มโสมนัส สารวลกบั เพอื่ นรักสะพรกั พรอ้ ม อยูแ่ วดล้อมหลายคนปรนนิบัติ โอย้ ามเขญ็ เห็นอยแู่ ตห่ นูพัด ช่วยนง่ั ปดั ยงุ ให้ไมไ่ กลกาย จนเดอื นเด่นเหน็ กอกระจบั จอก ระดะดอกบัวเผือ่ นเมอ่ื เดือนหงาย เห็นร่องน้าลาคลองทัง้ สองฝ่าย ขา้ งหนา้ ท้ายถ่อมาในสาคร จนแจ่มแจ้งแสงตะวนั เหน็ พันธผุ์ กั ดนู า่ รักบรรจงส่งเกสร เหล่าบัวเผอ่ื นแลสล้างรมิ ทางจร ก้ามกงุ้ ซอ้ นเสยี ดสาหรา่ ยใต้คงคา สายติง่ แกมแซมสลับตน้ ตับเต่า เป็นเหล่าเหลา่ แลรายทง้ั ซา้ ยขวา กระจบั จอกดอกบัวบานผกา ดาษดาดูขาวด่งั ดาวพราย โอ้เช่นน้ีสกี าไดม้ าเหน็ จะลงเล่นกลางทงุ่ เหมือนมุง่ หมาย ทม่ี เี รือนอ้ ยนอ้ ยจะลอยพาย เท่ยี วถอนสายบวั ผันสนั ตะวา ถงึ ตัวเราเล่าถ้ายงั มโี ยมหญงิ ไหนจะนง่ิ ดูดายอายบุปผา คงจะใช้ให้ศิษยท์ ตี่ ิดมา อุตสา่ หห์ าเอาไปฝากตามยากจน

นีจ่ นใจไมม่ ีเท่าขเี้ ล็บ ขี้เกยี จเก็บเลยทางมากลางหน พอรอนรอนอ่อนแสงพระสรุ ิยน ถงึ ตาบลกรุงเก่าย่งิ เศร้าใจฯ ๒๔. สนุ ทรภูร่ ู้สกึ อ้างวา้ งมาก มองไปในทุง่ กว้างเหน็ มีแตต่ ้นแขมข้ึนอยู่ปะปนกัน จนดึกกม็ ดี าวอยู่ กลางทอ้ งฟ้า มีนกกระเรียนบนิ รอ่ นและร้องก้องเมอ่ื ตอนเทีย่ งคนื มเี สยี งกบเขยี ดร้องเรอ่ื ยๆ มลี มพัดเฉอื่ ยๆ สุนทรภู่รู้สกึ วงั เวงกค็ ิดราพงึ เม่อื ตอนมียศถาบรรดาศักดิ์ ได้หัวเราะเฮฮากับเพ่ือน มคี นคอยปรนนิบัตริ บั ใช้ แต่ ยามลาบากเห็นแต่หนพู ดั ลูกชายคอยชว่ ยนัง่ ปัดยุงให้จนพระจันทร์ขึน้ ก็เห็นต้นกระจบั จอก มีดอกบัวเผ่ือนข้นึ มากเมือ่ คืนเดือนหงาย มองเหน็ คลองท้ังสองด้านหวั ทา้ ยเรอื ก็รีบถ่อเรือลงคลอง จนพระอาทิตย์ขึน้ กเ็ หน็ พันธ์ุ ผกั ดูน่ารกั สง่ เกสรแกก่ นั มบี ัวเผอื่ นอยสู่ องขา้ งทางทเ่ี รอื พายไป มตี ้นก้ามกุง้ ขึน้ อยู่กบั สาหร่ายใต้น้า มีต้นสายตง่ิ ขน้ึ สลับกบั ตน้ ตับเต่าเปน็ กลมุ่ ๆมองไปเหมอื นกับดาวบนท้องฟา้ เหลา่ นี้ถ้าผูห้ ญิงไดม้ าเห็นกค็ งจะลงเล่นกลาง ทุ่ง ที่มีเรอื กค็ งจะพายไปเก็บสายบวั ถ้าสนุ ทรภมู่ โี ยมผู้หญิงก็คงไมน่ งิ่ เฉยใหอ้ ายดอกไม้ คงจะใชใ้ ห้ศิษย์ไปเกบ็ ของฝากเท่าท่ีทาได้ในตอนนี้ แตน่ จ่ี นใจไม่มีเงินซกั นดิ ทงั้ ยังขเี้ กียจเกบ็ จึงเลยมา พอมีแสงอ่อนๆของพระ อาทติ ย์กถ็ งึ กรุงศรอี ยุธยา สุนทรภ่รู ู้สึกเศรา้ ใจ ๒๕๏ มาทางทา่ หนา้ จวนจอมผูร้ ัง้ คิดถงึ คร้ังกอ่ นมาน้าตาไหล จะแวะหาถา้ ท่านเหมือนเมอ่ื เป็นไวย ก็จะไดร้ บั นมิ นตข์ ึน้ บนจวน แต่ยามยากหากวา่ ถ้าท่านแปลก อกมแิ ตกเสียหรือเราเขาจะสรวล เหมือนเข็ญใจใฝส่ งู ไมส่ มควร จะต้องม้วนหนา้ กลบั อปั ระมาณฯ ๒๕. เมื่อถึงหน้าจวนของเพ่อื นของสนุ ทรภู่ สนุ ทรภูก่ ็คิดถงึ เมื่อกอ่ นจนน้าตาไหล สนุ ทรภู่ต้งั ใจจะแวะ หาถา้ ยังเหมอื นเมอ่ื ก่อนกค็ งจะได้รับนมิ นตข์ ้ึนบนจวน แต่ถ้าหากวา่ ท่านแปลกไปกค็ งจะโดนหวั เราะเยาะ จะต้องอายมาก ร้สู กึ ไมก่ ล้าใฝ่สงู เป็นเพ่ือนได้ จึงได้เดินทางตอ่ ไปยงั เจดียภ์ ูเขาทอง ๒๖.๏ มาจอดท่าหน้าวดั พระเมรขุ ้าม รมิ อารามเรือเรยี งเคยี งขนาน บ้างขึ้นล่องร้องลาเล่นสาราญ ทง้ั เพลงการเกย้ี วแก้กันแซเ่ ซง็ บ้างฉลองผ้าป่าเสภาขับ ระนาดรับรัวคลา้ ยกับนายเส็ง มีโคมรายแลอร่ามเหมอื นสาเพง็ เมอื่ คราวเคร่งก็มิใครจ่ ะได้ดู อา้ ยลาหนึง่ ครึ่งท่อนกลอนมันมาก ชา่ งยาวลากเล้อื ยเจ้ือยจนเหนือ่ ยหู ไมจ่ บบทลดเลี้ยวเหมือนเงยี้ วงู จนลูกคู่ขอทุเลาวา่ หาวนอนฯ ไดฟ้ ังเล่นตา่ งตา่ งที่ข้างวัด จนสงัดเงียบหลบั ลงกับหมอน ประมาณสามยามคล้าในอมั พร อ้ายโจรจรจจู่ ว้ งเข้าลว้ งเรือ นาวาเอียงเสียงกกุ ลกุ ขึน้ ร้อง มนั ดาล่องน้าไปช่างไวเหลอื ไมเ่ ห็นหน้าสานุศิษย์ทชี่ ดิ เช้อื เหมือนเนื้อเบือ้ บา้ เลอะดูเซอะซะ แตห่ นพู ดั จัดแจงจุดเทียนสอ่ ง ไม่เสียของขาวเหลืองเครื่องอฏั ฐะ ด้วยเดชะตบะบญุ กบั คุณพระ ชยั ชนะมารไดด้ งั ใจปองฯ ๒๖. จอดเรอื ทข่ี ้างวดั พระเมรุซง่ึ ริมวดั มเี รือจอดเรียงอยู่ บางลามีคนร้องเลน่ เต้นสาราญ บางลาก็รอ้ ง เพลงเกี้ยวกัน บางลาฉลองผ้าป่าด้วยการขบั เสภา ทงั้ ยงั มีคนตรี ะนาดซงึ่ ตีเกง่ เหมือนนายเสง็ (คนเกง่ ระนาด สมัยสนุ ทรภ)ู่ มโี คมแขวนอยเู่ รียงรายเหมือนอยูส่ ามเพ็ง เม่อื คราวเคร่งในพระศาสนากไ็ ม่ไดด้ ู มีเรอื ลาหน่งึ กลอนมนั มาก ร้องกลอนยากลากเล้อื ยฟังแล้วเหนอื่ ยหู กลอนลดเลี้ยวเหมือนทางงู จนลูกคู่บอกวา่ งว่ งนอน ได้ การละเลน่ ตา่ งๆท่ขี า้ งวดั พอดึกก็นอน ประมาณสามยามกม็ โี จรข้นึ เรือ พอมเี สียงกกุ กักสุนทรภูก่ ็ลุกข้ึนโวยวาย โจรกร็ บี ดาน้าไปอย่างว่องไว มองไปไม่เห็นหน้าลูกศษิ ย์ก็รสู้ กึ ทาอะไรไมถ่ ูกดว้ ยความกลัวแต่หนพู ดั จุดเทยี น ส่องดูว่ามอี ะไรหายไปบ้าง แตไ่ มม่ ีเลยแม้แต่เคร่อื งอัฐบริขาร ท้งั นีด้ ว้ ยเดชะตบะบญุ และพระพุทธ ทาให้ชนะ มารได้

๒๗.๏ ครน้ั รุ่งเช้าเข้าเป็นวนั อโุ บสถ เจริญรสธรรมาบชู าฉลอง ไปเจดยี ์ที่ชื่อภูเขาทอง ดสู ูงล่องลอยฟ้านภาลยั อยู่กลางทุ่งรุ่งโรจน์สันโดษเด่น เป็นทเ่ี ลน่ นาวาคงคาใส ท่พี ื้นลานฐานบัทมถ์ ัดบนั ได คงคงลัยล้อมรอบเป็นขอบคัน มีเจดยี ์วิหารเป็นลานวดั ในจังหวัดวงแขวงกาแพงกน้ั ทีอ่ งค์ก่อยอ่ เหล่ยี มสลับกนั เปน็ สามช้นั เชงิ ชานตระหง่านงาม บันไดมสี ่ดี า้ นสาราญรื่น ต่างชมชืน่ ชวนกันขนึ้ ชนั้ สาม ประทักษณิ จนิ ตนาพยายาม ไดเ้ สร็จสามรอบคานบั อภิวันท์ มหี อ้ งถา้ สาหรบั จุดเทยี นถวาย ดว้ ยพระพายพดั เวยี นอยเู่ หยี นหนั เปน็ ลมทกั ษิณาวรรตนา่ อัศจรรย์ แต่ทุกวนั นีช้ ราหนกั หนานกั ทงั้ องค์ฐานราญร้าวถึงเก้าแฉก เผยแยกยอดทรดุ กห็ ลดุ หัก โอ้เจดียท์ ่ีสรา้ งยงั รา้ งรกั เสยี ดายนักนึกนา่ นา้ ตากระเด็น กระนีห้ รือชอื่ เสยี งเกียรตยิ ศ จะมิหมดล่วงหน้าทนั ตาเหน็ เปน็ ผู้ดีมมี ากแล้วยากเย็น คดิ ก็เป็นอนิจจังเสียทั้งนน้ั ฯ ๒๗. วันรุ่งขนึ้ จะเป็นวนั พระซง่ึ จะไดบ้ ชู าพระธรรม ได้ไปเจดียภ์ ูเขาทองซ่ึงดูสงู เสียดฟ้า อยูก่ ลางทุ่งดู โดดเด่นมีน้าใสอย่รู อบๆท่ีฐานพื้นที่เป็นรปู กลีบบัวถดั จากบันไดมีนา้ ไหลลอ้ มรอบเป็นขอบ มีเจดีย์มีวิหารมีลาน วดั มีกาแพงกน้ั อยู่ การยอ่ เหลี่ยมไม้ ๑๒ มุมอยา่ งสวยงาม มเี ปน็ สามชัน้ อย่างงดงาม บนั ไดมี ๔ ดา้ น คณะของ สนุ ทรภ่ชู วนกนั ข้ึนไปชั้น ๓ ต้ังใจเดินวนขวา ๓ รอบจนครบก็กราบเจดีย์ มหี ้องท่ีเปน็ ถ้าสาหรับจุดเทียนเพราะ ลมจะพัดแรงพาธูปเทยี นดับ ตอนน้นั บังเกิดสง่ิ อศั จรรยม์ ีลมพัดเวยี นขวาราวกบั จะเวยี นเทยี นดว้ ย ทุกวันน้ีพระ เจดียเ์ ก่าและทรุดโทรมมาก ที่ฐานร้าวถงึ เก้าแฉก ที่ยอดก็หกั องค์พระเจดีย์กท็ รดุ เปน็ เพราะเจดียไ์ ม่มีคนคอย ดูแล นึกแล้วเสียดายจนน่าร้องไห้ แลว้ วจะเทยี บอะไรกบั ชอ่ื เสียงเกยี รติยศของมนษุ ย์ ก็คงหมดไปในไมน่ าน เหมอื นกบั เป็นผดู้ ีแลว้ ลาบาก เปน็ คนม่ังมีแล้วยากจน คิดแลว้ ทุกอย่างไมแ่ ทเ้ ที่ยง ๒๘.๏ ขอเดชะพระเจดยี ค์ ีรมี าศ บรรจุธาตุท่ตี งั้ นรงั สรรค์ ขา้ อตุ ส่าห์มาเคารพอภวิ ันท์ เปน็ อนนั ต์อานิสงส์ดารงกาย จะเกิดชาติใดใดในมนุษย์ ให้บรสิ ุทธิ์สมจิตทคี่ ดิ หมาย ท้ังทกุ ข์โศกโรคภยั อย่าใกลก้ ราย แสนสบายบรบิ ูรณ์ประยูรวงศ์ ทง้ั โลโภโทโสแลโมหะ ใหช้ นะใจไดอ้ ยา่ ใหลหลง ขอฟ้งุ เฟือ่ งเรอื งวิชาปัญญายง ทั้งใหท้ รงศลี ขนั ธ์ในสนั ดาน อีกสองสงิ่ หญิงร้ายแลชายชัว่ อย่าเมามัวหมายรักสมัครสมาน ขอสมหวงั ต้งั ประโยชน์โพธญิ าณ ตราบนิพพานชาตหิ นา้ ใหถ้ าวรฯ ๒๘. ขอเดชะแห่งเจดยี ์ภูเขาทองซ่งึ บรรจพุ ระบรมสารกิ ธาตุ สุนทรภู่ขอใหท้ ี่ได้มากราบในครง้ั นี้ให้เป็น บุญเพือ่ เปน็ อานสิ งสใ์ หพ้ น้ ภยั ต่างๆ ถ้าจะเกิดชาติไหนๆกข็ อใหต้ นบรสิ ทุ ธิ์ทง้ั กายและใจ ท้งั ความทุกข์ความ โศกอย่าได้มาใกล้ สบายไปตลอดกาล ทั้งความโลภ โกรธ หลง ขอใหต้ นชนะได้ ขอให้มีสติปัญญาหลกั แหลม ใหม้ ศี ลี ธรรมอยใู่ นใจ ท้งั ผูห้ ญงิ รา้ ยและผชู้ ายชว่ั ก็ขอใหอ้ ยา่ ไดร้ จู้ ักคบหากัน ขอให้สมดังหวังแมแ้ ต่ชาติหน้าก็ ขอใหเ้ ปน็ ดงั หวัง ๒๙.๏ พอกราบพระปะดอกปทุมชาติ พบพระธาตุสถิตในเกสร สมถวิลยนิ ดีชุลกี ร ประคองซ้อนเชญิ องค์ลงนาวา กับหนูพัดมสั การสาเรจ็ แลว้ ใส่ขวดแกว้ วางไว้ใกลเ้ กศา มานอนกรุงรุง่ ขน้ึ จะบูชา ไมป่ ะตาตันอกยิง่ ตกใจ แสนเสียดายหมายจะชมบรมธาตุ ใจจะขาดคิดมานา้ ตาไหล โอ้บุญนอ้ ยลอยลับครรไลไกล เสียนา้ ใจเจยี นจะดิ้นสิน้ ชวี นั

สดุ จะอยดู่ ูอ่ืนไมฝ่ ืนโศก กาเริบโรคร้อนฤทัยเฝ้าใฝ่ฝัน พอตรตู่ รู่สุรยิ ฉ์ ายข้ึนพรายพรรณ ให้ลอ่ งวนั หนง่ึ มาถงึ ธานีฯ ๒๙. พอกม้ ลงกราบพระพุทธรูปเงยขนึ้ มากเ็ หน็ ดอกบวั และกเ็ หน็ พระบรมสารรี ิกธาตอุ ยู่ในเกสรก็ดใี จ มากและช้อนประคองลงเรือ พอหนูพดั กราบไว้เสร็จแล้วก็ใส่พระบรมสารรี กิ ธาตไุ ว้ในขวดแก้วแลว้ ก็วางไวใ้ กล้ ศีรษะเม่ือนอน ตง้ั ใจวา่ จะไปนอนทก่ี รงุ ศรอี ยธุ ยาและรงุ่ เช้าจะบชู าพระบรมสารีริกธาตุแต่พอตื่นมามองไมเ่ หน็ พระบรมสารรี ิกธาตุก็ตกใจอย่างมากทั้งท่ีวางไวใ้ กล้ศรี ษะ สนุ ทรภวู่ า่ เป็นเพราะบญุ ตนน้อยทาให้พระธาตุลอย นา้ ไปไกล สนุ ทรภคู่ ดิ วา่ ไม่สามารถอยู่ที่เจดยี ์ภูเขาทองตอ่ ได้เพราะจะยิง่ เศร้าโศกและร้อนใจยิ่งขน้ึ พอเช้าตรู่ พระอาทติ ยข์ น้ึ ส่องฉาย กล็ อ่ งเรอื ถงึ กรงุ เทพฯโดยใชเ้ วลาเดนิ ทาง ๑ วัน ๓๐๏ ประทบั ทา่ หนา้ อรุณอารามหลวง ค่อยสรา่ งทรวงทรงศลี พระชนิ สีห์ นริ าศเรอื่ งเมืองเกา่ ของเรานี้ ไว้เปน็ ทโี่ สมนสั ทศั นา ดว้ ยไดไ้ ปเคารพพระพุทธรูป ท้งั สถปู บรมธาตุพระศาสนา เป็นนิสัยไวเ้ หมอื นเตอื นศรทั ธา ตามภาษาไม่สบายพอคลายใจ ใช่จะมีที่รักสมัครมาด แรมนิราศร้างมติ รพสิ มัย ซง่ึ ครวญครา่ ทาทีพริ ีพ้ ิไร ตามนสิ ยั กาพยก์ ลอนแตก่ อ่ นมา เหมอื นแมค่ รัวค่ัวแกงพะแนงผดั สารพัดเพียญชนงั เครื่องมังสา อันพริกไทยใบผกั ชีเหมอื นสกี า ตอ้ งโรยนา่ เสยี สกั หน่อยอรอ่ ยใจฯ จงทราบความตามจริงทกุ สงิ่ สนิ้ อยา่ นึกนนิ ทาแถลงแหนงไฉน นักเลงกลอนนอนเปลา่ ก็เศร้าใจ จงึ ร่าไรเรอ่ื งรา้ งเลน่ บ้างเอยฯ ๓๐. ถึงหนา้ วัดอรณุ ก็ค่อยสร่างจากความเศร้าเพราะได้กราบพระพุทธรปู นริ าศภูเขาทองของสนุ ทรภู่ เรื่องนี้ไวเ้ ปน็ ที่อ่านเมอ่ื เศรา้ จะได้มคี วามสุข เพราะได้ไปกราบไวพ้ ระพุทธรูป ทงั้ กราบไว้พระบรมสารีรกิ ธาตุ เพราะคนทนี่ บั ถือศาสนาพทุ ธเม่อื ไมส่ บายใจกจ็ ะกราบไหว้พระพทุ ธรูปเพือ่ ใหส้ บายใจ ตอนน้สี นุ ทรภใู่ ชว่ า่ จะมี คนรักหรอื พ่ึงจะจากรักมา แต่ที่กล่าวถึงผู้หญงิ กเ็ พราะเปน็ ธรรมเนียมการแตง่ นิราศแตโ่ บราณ เหมือนแมค่ รวั จะปรงุ อาหารประเภทพะแนงนอกจากจะใสเ่ ครื่องปรงุ และเนอ้ื สตั วแ์ ลว้ ยังต้องใสพ่ รกิ ไทยใบผกั ชเี พื่อเพิ่มความ นา่ รับประทานแกอ่ าหาร และผ้หู ญงิ ก็เหมือนพริกไทยใบผกั ชีเพ่ือนให้นิราศน้นี ่าอา่ น ขอให้ทราบความจริงทุกๆ อยา่ งวา่ สนุ ทรภ่ไู ม่ไดม้ ีผ้หู ญงิ เลยขออย่าได้นินทาให้เสียหาย เพราะคนที่มคี วามสามรถในเชงิ กลอนจะนง่ั ๆ นอนๆเฉยๆก็จะน่าเบอื่ และเศร้าใจ จึงจะต้องแตง่ กลอนเพ่ือคลายเหงาและคลายความเศร้าใจ และใหไ้ ดผ้ ลงาน เป็นทปี่ ระจกั ษ์

เอกสารประกอบการเรียน เร่ือง คณุ คา่ นริ าศภเู ขาทอง คณุ คา่ ด้านวรรณศิลป์นริ าศภูเขาทอง ๑. การเล่นเสยี ง ๑.๑ การเลน่ เสียงพยัญชนะ เชน่ โออ้ าวาสราชบุรณะพระวหิ าร แตน่ ้ีนานนบั ทวิ าจะมาเห็น ขอเดชะพระพทุ ธคณุ ช่วย แมน้ มอดมว้ ยกลับชาติวาสนา จะเหลยี วกลบั ลบั เขตประเทศสถาน ทรมานหมน่ ไหม้ฤทยั หมอง สุดจะอย่ดู ูอืน่ ไมฝ่ นื โศก กาเรบิ โรครอ้ นฤทัยเฝา้ ใฝ่ฝนั ๑.๒ การเลน่ เสยี งสระ เชน่ ตรงหน้าโรงโพงพางเขาวางราย พวกหญงิ ชายพร้อมเพรยี งมาเมยี งมอง ดูนา้ วิ่งกล้ิงเช่ียวเปน็ เกลยี วกลอก กลบั กระฉอกฉาดฉัดฉวดั เฉวียน บา้ งฉลองผ้าป่าเสภาขบั ระนาดรับรวั คล้ายกับนายเสง็ ๒. การเลน่ คา ๒.๑ การเลน่ คาซ้า เช่น ส้ินแผ่นดนิ สิน้ รสสคุ นธา วาสนาเราก็สิ้นเหมอื นกล่ินสุคนธ์ ไม่เมาเหล้าแลว้ แต่เรายังเมารกั สดุ จะหักหา้ มจิตคิดไฉน โอ้รินรินกลิน่ ดอกไม้ใกล้คงคา เหมอื นกลน่ิ ผา้ แพรดารา่ มะเกลือ แมน้ กาเนดิ เกดิ ชาติใดใด ขอให้ไดเ้ ปน็ ขา้ ฝา่ ธุลี ๒.๒ การเลน่ คาพ้อง เชน่ เหน็ โศกใหญใ่ กลน้ ้าระกาแฝง ทั้งรักแซงแซมสวาทประหลาดเหลือ เหมอื นโศกพ่ที ช่ี ้าระกาเจือ เพราะรกั เรื้อแรมสวาทมาคลาดคลาย ๓. โวหารภาพพจน์ ๓.๑ อุปมา พระนพิ พานปานประหน่งึ ศีรษะขาด ด้วยไร้ญาติยากแคน้ ถงึ แสนเข็ญ บ้างพลุง่ พลุง่ วุง้ วงเหมือนกงเกวียน ดเู วยี นเวยี นคว้างคว้างเปน็ หว่างวน งวิ้ นรกสิบหกองคลุ ีแหลม ดงั ขวากแซมเส้ยี มแทรกแตกไสว ๓.๒ อตพิ จน์ นจี่ นใจไมม่ ีเทา่ ข้เี ลบ็ ขีเ้ กียจเก็บเลยทางมากลางหน ๓.๓ สทั พจน์ ทงั้ กบเขียดเกรยี ดกรดี จังหรดี เรอ่ื ย พระพายเฉื่อยฉวิ ฉวิ วะหวิวหวาม

เอกสารประกอบการเรยี น เรอ่ื ง คณุ คา่ ดา้ นสงั คมนิราศภเู ขาทอง คุณค่าด้านสังคม วถิ ชี ีวิต เชน่ การจบั สัตวน์ำ้ - ตรงหน้าโรงโพงพางเขาวางราย พวกหญงิ ชายพรอ้ มเพรียงมาเมยี งมอง การเดินทางทางนา้ - มาจอดทา่ หนา้ วัดพระเมรขุ า้ ม ริมอารามเรือเรยี งเคยี งขนาน คา่ นิยม เช่น การแตง่ กาย - เดี๋ยวนมี้ อญถอนไรจุกเหมือนตุก๊ ตา ทง้ั ผัดหน้าจับเขมา่ เหมอื นชาวไทย ความเช่อื เช่น การกลบั ชาติมาเกดิ - ขอเดชะพระพทุ ธคณุ ช่วย แม้นมอดมว้ ยกลับชาตวิ าสนา บาปกรรม - โอ้บาปกรรมนา้ นรกเจียวอกเรา ใหม้ วั เมาเหมอื นหนง่ึ บ้าเป็นน่าอาย นรก – งวิ้ นรกสิบหกองคุลแี หลม ดงั ขวากแซมเส้ยี มแทรกแตกไสว ภมู ิปญั ญา เช่น เพลงเรือ - ไอ้ลาหนึง่ ครงึ่ ท่อนกลอนมันมาก ช่างยาวลากเลื้อยเจอื้ ยจนเหน่อื ยหู ไม่จบบทลดเล้ยี วเหมอื นเงี้ยวงู จนลกู คู่ขอทุเลาว่าหาวนอน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook