Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอนสังคม ป.4-หน่วยที่ 3 เชื่อมั่นในการทำความดี

แผนการสอนสังคม ป.4-หน่วยที่ 3 เชื่อมั่นในการทำความดี

Description: แผนการสอนสังคม ป.4-หน่วยที่ 3 เชื่อมั่นในการทำความดี

Search

Read the Text Version

บนั ทกึ ข้อความ ส่วนราชการ โรงเรียนวัดพชื นมิ ติ (คำสวัสดริ์ าษฎร์บำรงุ ) ที…่ …………………วันที่ ………………………………… เรื่อง ขออนญุ าตใช้แผนการจัดการเรยี นรู้ เรียน ผู้อำนวยการโรงเรียนวดั พืชนมิ ิต (คำสวสั ด์ริ าษฎร์บำรงุ ) ด้วยขา้ พเจา้ นางสาวอัญชลี อุ่นทะยา ตำแหนง่ ครผู ูช้ ว่ ย โรงเรียนวดั พืชนิมิต (คำสวัสดริ์ าษฎรบ์ ำรุง) ได้รบั มอบหมายใหป้ ฏิบตั ิหน้าท่ีการสอน รายวชิ าสงั คมศึกษา รหัสวิชา ส14101 กลมุ่ สาระการเรยี นรูส้ งั คมศึกษา ศาสนาและ วฒั นธรรม ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563 บัดนี้ ข้าพเจ้าได้จัดเตรียมการสอน และจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ ข้าพเจ้าจึงขออนุญาตดำเนินการสอน ตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่จัดเตรียมไว้ ซึ่งแนบเอกสารหน่วยการเรียนที่ 3 ชื่อหน่วย เชื่อมั่นในการทำความดี เวลา เรียน 5 ชว่ั โมง มาพรอ้ มกับเอกสารน้ี จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบ ลงชอ่ื .............................................................. (นางสาวอญั ชลี อนุ่ ทะยา) ตำแหน่ง ครผู ู้ชว่ ย ลงช่อื .............................................................. (นางสาวจีรวรรณ ปฏิวงศ์) หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรูส้ งั คมศึกษาฯ ความเห็นผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น อนญุ าต ไม่อนุญาต เพราะ ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ลงชอื่ .............................................................. (นางสาวกันยาภทั ร ภทั รโสตถิ) ผ้อู ำนวยการโรงเรียนวดั พชื นิมิต (คำสวสั ด์ริ าษฎรบ์ ำรุง) ............./................../.............

ส๑๔๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ฯ คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ กลุม่ สาระการเรยี นรูส้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม เวลา ๘๐ ช่ัวโมง ศึกษาความสำคัญของพระพทุ ธศาสนา สรุปพุทธศาสนา (ทบทวน) พุทธสาวก พุทธสาวิกา ชาดก ศาสนิกชน ตัวอย่าง พระรัตนตรัย ไตรสิกขา โอวาท ๓ พุทธศาสนสุภาษิตตัวอย่าง การกระทำความดีของตนเองและบุคคลใน ครอบครัว โรงเรยี นและชมุ ชน สวดมนตไ์ หวพ้ ระ สรรเสริญคุณพระรัตนตรัยและแผ่เมตตา หลกั ธรรมเพื่อการอยู่ร่วมกัน อย่างสมานฉันท์ ประวัติศาสดา ความรู้เบือ้ งต้นและความสำคัญของศาสนสถาน การแสดงความเคารพต่อศาสนสถาน การบำรุง ศาสนสถาน มรรยาทของศาสนิกชน การปฏิบัติตนในศาสนพิธีการเข้าร่วมกิจกรรมประชาธิปไตยของชุมชน แนวทางการปฏิบตั ิตนเปน็ สมาชิกท่ดี ีของชุมชน การเป็นผู้นำและผู้ตามท่ีดี สิทธิพื้นฐานของเดก็ วฒั นธรรมในภาคต่าง ๆ ของไทยที่แตกต่างกัน ปัญหาและสาเหตุของการเกิดความขัดแยง้ ในชีวิตประจำวัน แนวทางการแก้ปัญหาความขัดแย้ง ด้วยสันติวิธี อำนาจอธิปไตย ความสำคัญของการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย บทบาทหน้าที่ของพลเมืองใน กระบวนการเลือกตั้ง สถาบันพระมหากษัตรยิ ์ในสังคมไทย ความสำคัญ ของสถาบันพระมหากษัตรยิ ใ์ นสังคมไทย สินค้า และบริการที่มีอยู่หลากหลายในตลาดที่มีความแตกต่างด้านราคาและคุณภาพ ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อสินค้าและ บริการที่มีมากมาย ซึ่งขึ้นอยู่กับผู้ซื้อ ผู้ขาย และตัวสินค้า สิทธิพื้นฐานของผู้บริโภค สินค้าและบริการที่มีเครื่องหมาย รับรองคุณภาพ หลักการและวิธีการเลือกบริโภค หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงในการดำรงชีวิต อาชีพ สินค้าและบริการต่าง ๆ ที่ผลิตในชุมชน การพึ่งพาอาศัยกันภายในชุมชนทางด้าน เศรษฐกิจ การสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนด้วยการใช้สิ่งของที่ผลิตในชุมชน ความหมายและประเภทของเงิน หน้าท่ี เบื้องต้นของเงินในระบบเศรษฐกิจ สกุลเงินสำคัญที่ใช้ในการซือ้ ขายแลกเปล่ียนระหว่างประเทศ การใช้แผนที่ ภาพถ่าย ลักษณะทางกายภาพของจังหวัดปทุมธานี แหล่งทรัพยากรและสิ่งต่าง ๆในจังหวัดปทุมธานี การใช้แผนที่แสดง ความสมั พนั ธข์ องสิง่ ต่าง ๆ ทีม่ ีอยู่ในจังหวัดปทมุ ธานี ลกั ษณะทางกายภาพ(ภมู ิลักษณห์ รือภูมิประเทศและภมู ิอากาศ) ท่ี มีผลต่อสภาพสังคมของจังหวัดปทุมธานี สภาพแวดล้อมทางกายภาพของชุมชน ที่ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของคนใน จังหวัดปทุมธานี การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมในจังหวัดปทุมธานีและผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลง การอนุรักษ์ ส่ิงแวดล้อมและทรพั ยากรธรรมชาติในจงั หวดั ปทมุ ธานี โดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสบื คน้ ขอ้ มูล การอธบิ าย การวเิ คราะห์และการ อภิปราย กระบวนการกลมุ่ เกมสร้างทกั ษะ เพ่ือใหเ้ กดิ ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถส่อื สาร สง่ิ ท่ีเรยี นรู้ มคี วามสามารถในการใช้ทักษะชีวิต การคิด วิเคราะห์ การตัดสินใจและการแก้ปัญหา เห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน สามารถปรับตัวเองกับ บรบิ ทสภาพแวดล้อม เปน็ พลเมอื งดี มีความรกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ซอื่ สัตยส์ ุจรติ มวี นิ ยั รักความเปน็ ไทย ใฝเ่ รียนรู้ มจี ิต สาธารณะ และมีคณุ ธรรมและค่านยิ มทเ่ี หมาะสม

มาตรฐาน/ตัวชว้ี ัด ส ๑.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป.๔/๔ , ป.๔/๕ , ป.๔/๖ , ป.๔/๗, ป.๔/๘ ส ๑.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ ส ๒.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป.๔/๔ , ป.๔/๕ ส ๒.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ ส ๓.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ ส ๓.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ ส ๕.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ ส ๕.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ รวม ๘ มาตรฐาน ๓๐ ตวั ช้ีวดั

แผนผงั มโนทัศนเ์ ปา้ หมายการเรยี นรู/้ หลักฐานการเรยี นรู้ ความรู้ (Knowledge : K) ทักษะ/กระบวนการ (Process : P) คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. คนดีทีน่ า่ ช่นื ชม 1. การสบื คน้ ข้อมูล 1. ซ่ือสตั ย์สุจรติ 2. แบบอยา่ งความดี : พุทธสาวก 2. การสังเกต 2. มวี นิ ัย 3. แบบอย่างความดี : ชาดก 4. ศาสนกิ ชนตวั อย่าง : สมเด็จพระ 3. การอธิบาย 3. ใฝเ่ รียนรู้ มหิตลาธเิ บศร อดุลยเดชวกิ รม 4. การนำความรู้ไปใชใ้ นชวี ติ 4. มุ่งมน่ั ในการทำงาน พระบรมราชชนก ประจำวัน 5. ศาสนิกชนตวั อย่าง : สมเด็จพระศรี นครนิ ทราบรมราชชนนี เปา้ หมายการเรียน เร่อื ง เช่ือมนั่ ในการทำความดี หลักฐานการเรียนรู้ 1. จดบนั ทกึ ความรู้ลงสมดุ 2. ใบงาน เร่อื ง บุคคลสำคัญทีห่ นปู ระทับใจ 3. แบบทดสอบกอ่ นเรียน - หลังเรยี น

หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 3 กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วชิ าสงั คมศกึ ษา ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 เวลา 5 ชวั่ โมง เรื่อง หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 3 เรือ่ ง เช่อื มัน่ ในการทำความดี 1. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวชีว้ ัด มาตรฐานการเรียนรู้ : ส ๑.๑ รู้ และเขา้ ใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรอื ศาสนาที่ตนนับถอื และศาสนาอ่ืน มีศรทั ธาที่ถูกต้อง ยดึ ม่ัน และปฏิบตั ติ ามหลกั ธรรม เพ่อื อยรู่ ่วมกันอย่างสันตสิ ขุ ตัวชวี้ ัด : ป.4/3 เหน็ คุณค่าและปฏิบัตติ นตามแบบอย่างการดำเนนิ ชวี ติ และขอ้ คดิ จากประวัตสิ าวก ชาดก เรอ่ื ง เล่าและศาสนิกชนตัวอย่างตามท่ีกำหนด ป.4/5 ช่นื ชมการทำความดขี องตนเอง บุคคลในครอบครัว โรงเรียน และชุมชนตามหลกั ศาสนาพรอ้ ม ทัง้ บอกแนวปฏิบตั ิในการดำเนินชีวิต 2. สาระสำคัญ คนดี คือ คนท่ีทำความดี ประพฤตดิ ี ปฏิบัติชอบ ไม่ทำสงิ่ ที่ทำให้ตนเองและผอู้ นื่ เดอื ดรอ้ น มีคุณธรรมเปน็ หลกั ใน การดำเนินชวี ติ ในสังคมของเรา ยงั มีคนดอี ีกมากมาย เพราะคนเหล่าน้เี ห็นคุณค่าของการทำความดี การทำความดนี ้ันมี หลายระดบั ซ่งึ ทำได้งา่ ย ๆ โดยเริ่มจากตนเอง การศึกษาการทำความดีของบุคคลตา่ ง ๆ ทำให้เราเกดิ ความชน่ื ชม เหน็ คุณค่า และนำมาเปน็ แบบอยา่ งในการทำ ความดขี องตนได้ การทำความดีตามหลักศลี ธรรม จรยิ ธรรม และหลกั ธรรมทางศาสนา เป็นสิ่งทที่ ุกคนตอ้ งประพฤติปฏิบตั อิ ย่าง จรงิ จงั เพอ่ื กอ่ ให้เกิดความสขุ แกต่ นเองและผ้อู ่ืน ในทางพระพุทธศาสนาสอนให้เราศกึ ษาแบบอยา่ งการทำความดีจาก เร่ืองราวตา่ ง ๆ เช่น พทุ ธสาวก ชาดก เปน็ ต้น 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 คนดีทีน่ ่าช่ืนชม 3.2 แบบอยา่ งความดี : พทุ ธสาวก 3.3 แบบอย่างความดี : ชาดก 3.4 ศาสนิกชนตวั อยา่ ง : สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดลุ ยเดชวกิ รม พระบรมราชชนก 3.5 ศาสนกิ ชนตวั อยา่ ง : สมเด็จพระศรีนครนิ ทราบรมราชชนนี 4. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น 1. ความสามารถในการส่อื สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในใช้ทกั ษะชวี ิต 5. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ 2. ซอ่ื สตั ย์ สจุ รติ 3. มวี ินยั 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. มุ่งม่ันในการทำงาน 6. มจี ติ สาธารณะ

6. ช้นิ งาน/ภาระงาน 1. จดบนั ทกึ ความรู้ลงสมดุ 2. ใบงาน เรอื่ ง บคุ คลสำคญั ท่ีหนปู ระทบั ใจ 3. แบบทดสอบกอ่ นเรียน - หลังเรยี น 7. บูรณาการ ฟัง พูด อ่าน และเขยี น ภาษาไทย ศิลปะ วาดภาพระบายสี 8. การวัดและประเมินผล วธิ ีการ เคร่อื งมอื เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรียน/หลงั เรียน แบบทดสอบกอ่ นเรยี น/หลังเรียน หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 3 หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 3 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ตรวจใบงาน เรอ่ื ง บคุ คลสำคัญที่หนูประทับใจ ใบงาน เร่อื ง บคุ คลสำคัญทห่ี นปู ระทับใจ รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ประเมินการจดบันทกึ ความรู้ แบบประเมินการจดบนั ทกึ ความรู้ ระดับคณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ สงั เกตความรกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ซื่อสัตย์ สจุ ริต แบบประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ระดบั คณุ ภาพ 2 มวี ินยั ใฝ่เรยี นรู้ ม่งุ ม่นั ในการทำงาน และมีจติ ผ่านเกณฑ์ สาธารณะ 9. กิจกรรมการเรียนรู้ กจิ กรรมที่ 1 เรอื่ ง คนดีทีน่ ่าชืน่ ชม นกั เรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรียนเพ่ือเป็นการทดสอบความรู้ และครูให้นกั เรียนดูรูปภาพพระมหากษัตรยิ ์ไทย แล้วสนทนากับนกั เรยี นวา่ ในภาพพระองคเ์ ป็นใคร และแต่ละพระองคไ์ ดท้ ำคุณงามความดใี หก้ ับประเทศชาติอย่างไรบ้าง ครอู ธิบายเพิ่มเติม และเปิดโอกาสให้นกั เรยี นได้ซกั ถามสง่ิ ท่ีนักเรยี นสงสัย หรือสนใจ นักเรียนชมวดี ิทัศน์เก่ียวกับการทำ ความดขี องบคุ คลต่าง ๆ เช่น พระราชกรณยี กจิ ต่าง ๆ ของในหลวง และพระราชนิ ี , จิตอาสา , การช่วยเหลือผอู้ ื่น นกั เรยี นตอบคำถามกระตุ้นความคดิ  นักเรยี นเคยทำความดีอะไรบา้ ง พรอ้ มกบั ยกตวั อยา่ งประกอบ  นกั เรียนเคยทำสงิ่ ทไี่ มด่ ีอะไรบา้ ง พรอ้ มกับยกตวั อยา่ งประกอบ ครูอธิบายให้นกั เรยี นฟังวา่ คนดี คอื คนท่ีทำความดี ประพฤตดิ ี ปฏบิ ัตชิ อบ ไม่ทำสงิ่ ท่ีทำให้ตนเองและผูอ้ ่นื เดือดรอ้ น มี คณุ ธรรมเป็นหลกั ในการดำเนนิ ชวี ิต ซึ่งการทำความดีมีหลายแบบ สามารถทำไดง้ า่ ยๆ โดยเรม่ิ จากตนเองกอ่ น และการท่ี เราจะฝึกตนใหเ้ ป็นคนดีน้นั ต้องมคี วามตง้ั ใจในการทำความดีตา่ ง ๆ ดว้ ยใจจริงและเหน็ คณุ คา่ ของการ ทำความดี และใหน้ กั เรียนบอกบคุ คลที่นกั เรยี นประทบั ใจ หรอื คนท่นี กั เรียนยกใหเ้ ป็นฮโี รใ่ นดวงใจ ว่าเป็นใคร และเพราะ เหตผุ ลใดถึงชน่ื ชอบบุคคลดังกลา่ ว โดยครูขออาสาสมคั ร 5 คน มาพูดให้ครแู ละเพ่อื น ๆ ฟงั หนา้ ชน้ั เรียน และให้นักเรยี น จดชอื่ บุคคคลสำคญั ท่ีทำคุณงามความดีใหก้ ับประเทศไทยลงในสมุด พรอ้ มบอกเหตุผล กิจกรรมที่ 2 เร่ือง แบบอย่างความดี : พุทธสาวก ครูให้นกั เรียนดูวีดิทัศน์เกยี่ วกบั พทุ ธประวตั ิของพระพุทธเจา้ เนน้ ตอนทพี่ ระพุทธเจ้าทรงไดพ้ ระอคั รสาวก คือ พระสารบี ุตร และพระโมคคลั ลานะ ครูซักถามนกั เรยี นว่าจากวดี ทิ ศั นท์ ่นี กั เรยี นไดด้ ู ใครเปน็ พทุ ธสาวก และนักเรยี นรู้ได้ อยา่ งไร ใหน้ ักเรยี นชว่ ยกันแสดงความคดิ เห็น ครูสรปุ ให้นกั เรยี นฟังวา่ พทุ ธสาวก หมายถึง สาวกของพระพุทธเจา้ ที่เปน็ อรยิ บคุ คลเกิดในสมัยทพ่ี ระพทุ ธเจา้ ยังทรงมพี ระชนมายอุ ยู่ ครใู หน้ ักเรียนดภู าพพระปฐมสมโพธิ์ 4 ภาพ คือ

 ภาพตอนที่พระพุทธเจ้าเสด็จไปหาชฎิลอุรเุ วลกสั สปะเพอ่ื ขอพักท่โี รงไฟ  ภาพตอนท่ีพระพุทธเจ้าทรงจับพญานาคขดใส่ในบาตรให้ชฎิลดู  ภาพตอนทีเ่ กิดอทุ กภัยคร้ังใหญ่ แต่ไมท่ ่วมพระพทุ ธเจา้ ทกี่ ำลังเดินจงกรมอยู่  ภาพตอนทพี่ ระอรุ ุเวลกัสสปะประกาศตนเปน็ พุทธสาวกตอ่ หน้าพระเจา้ พมิ พสิ ารและชาวเมอื ง ราชคฤห์ ณ สวนตาลหนุ่ม ครซู กั ถามนกั เรียนว่าเปน็ ภาพเก่ยี วกับประวตั ิของใคร ให้นกั เรียนชว่ ยกนั ตอบ ครูเฉลยแล้วบอกให้นักเรยี นต้งั ใจ ฟัง จากนนั้ เลา่ เรือ่ งประกอบภาพเกีย่ วกบั ประวตั ขิ องพระอรุ ุเวลกัสสปะ กิจกรรมที่ 3 เรือ่ ง แบบอยา่ งความดี : ชาดก ครูสนทนาซกั ถามนกั เรียนวา่ ชาดก คอื อะไร ใหน้ ักเรยี นชว่ ยกนั ตอบคำถาม ครสู รปุ คำตอบของนักเรียน จากน้นั เปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นซกั ถามข้อสงสยั ตา่ ง ๆ เกี่ยวกับชาดกจากเรื่องทไ่ี ด้รบั มอบหมายให้ไปอา่ นมา โดยครูตอบขอ้ สงสัย และอธบิ ายเพ่มิ เตมิ ครซู ักถามนักเรยี นว่าเคยฟังนทิ านเกี่ยวกับอดีตชาติของพระพทุ ธเจา้ หรือไม่ ให้นักเรียนรว่ มกนั แสดง ความคิดเหน็ จากนน้ั ครบู อกกับนักเรียนว่าพระพทุ ธเจ้ากวา่ จะตรสั รู้เป็นพระพทุ ธเจ้าไดพ้ ระองคต์ ้องบำเพญ็ เพยี รต้งั หลาย รอ้ ยชาติ เราเรียกเร่อื งราวทเ่ี กย่ี วข้องกับพระพทุ ธเจา้ ในชาตติ า่ ง ๆ วา่ ชาดก และครูอธบิ ายใหน้ กั เรียนฟงั ว่า ชาดกเปน็ เรื่องราวท่ีพระพทุ ธเจ้าทรงใช้เทศน์สอนพระภิกษุ และพทุ ธศาสนกิ ชนท่วั ไป ชาดกมีจำนวนหลายรอ้ ยเร่ือง แต่ในชั้นเรียน นน้ี ำมาสอนแค่ 2 เร่ือง คือ กุฏิทูสกชาดก และมหาอุกกุสชาดก ครเู ล่าเรอื่ งกุฏทิ ูสกชาดก และมหาอุกกสุ ชาดกให้นกั เรยี น ฟัง และขออาสาสมัครนักเรียน 2-3 คนให้ออกมาเลา่ เรอ่ื งกุฏิทสู กชาดก และมหาอุกกสุ ชาดก ให้เพ่ือนฟังหน้า ชน้ั เรยี นเพอื่ เป็นการทบทวน กจิ กรรมที่ 4 เรื่อง ศาสนิกชนตัวอยา่ ง : สมเด็จพระมหติ ลาธเิ บศร อดลุ ยเดชวกิ รม พระบรมราชชนก ครใู ห้นักเรยี นชมวีดทิ ศั น์เกีย่ วกบั พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร (ในหลวง รชั กาลที่ 9) ครูไดซ้ ักถามนกั เรียนวา่ พระบรมราชชนก และพระบรมราชชนนขี องในหลวง รัชกาลท่ี 9 มพี ระนามวา่ อะไร โดยที่ครเู ปดิ โอกาสให้นกั เรียนได้ซักถามข้อสงสัย ครบู อกความหมายของคำวา่ ชาวพทุ ธ ตัวอยา่ ง จากนน้ั นำพระบรมฉายาลักษณข์ องสมเดจ็ พระมหติ ลาธเิ บศร อดลุ ยเดชวกิ รม พระบรมราชชนกใหน้ กั เรียนดู จากนน้ั เล่าถึงพระราชประวตั ิ และพระราชกรณยี กจิ ตา่ ง ๆ ของพระองค์ และนักเรยี นร่วมกนั อภปิ รายเกีย่ วกบั พระราช ประวัตขิ องสมเดจ็ พระมหติ ลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก โดยใช้คำถาม ดงั น้ี  สมเด็จพระมหติ ลาธเิ บศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ทรงสร้างคุณประโยชน์ตอ่ ประเทศชาติ ในด้านใดบา้ ง  สมเด็จพระมหิตลาธเิ บศร อดุลยเดชวกิ รม พระบรมราชชนก ทรงดำเนินชีวิตตามหลักธรรม ทางพระพทุ ธศาสนาอย่างไรบา้ ง  พระจริยวตั รของพระองคท์ ี่พุทธศาสนิกชนควรยดึ ถอื เปน็ แบบอย่าง ไดแ้ ก่อะไรบา้ ง  นกั เรียนศกึ ษาพระราชประวัติของพระองค์ แลว้ นกั เรียนรสู้ กึ ประทับใจในเรอื่ งใด ครูสรุปความรเู้ กี่ยวกบั พระราชประวัติ และพระราชกรณียกจิ ของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวกิ รม พระบรมราช- ชนก แล้วให้นักเรยี นทำใบงาน เรอื่ ง บุคคลสำคญั ท่หี นปู ระทับใจ กจิ กรรมที่ 5 เรอื่ ง ศาสนิกชนตวั อย่าง : สมเดจ็ พระศรีนครนิ ทราบรมราชชนนี ครบู อกความหมายของคำว่า ชาวพทุ ธตัวอย่าง จากนน้ั นำพระบรมฉายาลกั ษณข์ องสมเด็จพระศรีนครินทราบรม ราชชนนีใหน้ ักเรียนดู จากนน้ั เล่าถงึ พระราชประวตั ิ และพระราชกรณยี กิจตา่ ง ๆ ของพระองค์ นกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ ราย เก่ยี วกบั พระราชประวัตขิ องสมเด็จพระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี โดยใช้คำถาม ดงั นี้  สมเด็จพระศรีนครนิ ทราบรมราชชนนี ทรงสร้างคุณประโยชน์ต่อประเทศชาติในด้านใดบ้าง  สมเด็จพระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี ทรงดำเนนิ ชวี ติ ตามหลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนาอยา่ งไรบ้าง  พระจรยิ วัตรของพระองคท์ ่ีพุทธศาสนิกชนควรยดึ ถอื เป็นแบบอยา่ ง ได้แก่อะไรบา้ ง

 ทำไมชาวไทยภูเขา ขนานพระนามสมเด็จย่าว่า “แมฟ่ ้าหลวง”  นกั เรียนศกึ ษาพระราชประวัตขิ องพระองค์ แลว้ นกั เรียนรูส้ ึกประทับใจในเร่ืองใด ครูสรุปความรูเ้ กยี่ วกับพระราชประวัติ และพระราชกรณยี กจิ ของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี แล้วให้ นกั เรยี นรว่ มกนั สรุปความร้เู ร่ือง ศาสนิกชนตวั อย่าง (พระราชประวตั ิของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดลุ ยเดชวิกรม พระ บรมราชชนก และสมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี) และนักเรียนทำแบบทดสอบหลงั เรียน 10. สอื่ /แหลง่ เรยี นรู้ 1. ส่อื การเรยี นรู้  รูปภาพพระมหากษตั รยิ ไ์ ทย  รูปภาพจติ อาสา  หนงั สอื นทิ าน  รูปภาพสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก  รูปภาพสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี 2. แหล่งการเรยี นรู้  ห้องเรียน  อนิ เทอร์เนต็  วัดพชื นิมติ

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre-Test) หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 เรื่อง เชอื่ ม่นั ในการทำความดี กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม วชิ าสงั คมศกึ ษา ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 คำชแ้ี จง ใหน้ กั เรียนเลือกคำตอบท่ีถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ข้อใดไม่จัดเป็นการทำความดี ก. ช่วยเหลือเพื่อน ข. มีความสามัคคีกัน ค. พูดโกหกใหค้ นอืน่ เชอ่ื ง. ปฏบิ ตั ิตามหน้าท่ีของตน 2. การช่ืนชมคนดเี ปน็ สง่ิ ท่คี วรทำหรือไม่ ก. ควร เพราะคนดที ำแต่สง่ิ ทด่ี ี ข. ควร เพราะคนดีเป็นญาตเิ รา ค. ไม่ควร เพราะไม่เกย่ี วกับเรา ง. ไม่ควร เพราะจะทำให้คนดไี ด้ใจ 3. การทำความดีเปน็ ส่ิงท่ีควรทำ เพราะเหตุใด ก. ให้ผลคอื ความสขุ ข. พอ่ แม่คอยบงั คับให้ทำ ค. ไดร้ บั รางวลั จากพอ่ แม่ ง. ได้รบั การยกยอ่ งจากผู้อื่น 4. ผลจากการทำความดี คือขอ้ ใด ก. มีคนช่ืนชม ข. มีคนเมตตา ค. มคี วามสขุ ทางใจ ง. ได้รบั สง่ิ ตอบแทน 5. พระนามใด หมายถึง สมเดจ็ ย่า ก. หมอเจ้าฟ้า ข. แมฟ่ า้ หลวง ค. ย่าฟา้ หลวง ง. เจา้ ฟา้ หลวง 6. สมเด็จพระมหติ ลาธิเบศร อดุลยเดชวกิ รมพระบรมราชชนก ทรงมีคุณธรรมข้อใดเด่นชดั ทสี่ ุด ก. ความใฝ่รู้ ข. ความซื่อสัตย์ ค. ความเมตตา ง. ความยุติธรรม

7. ในวยั ของนกั เรยี นควรปฏิบตั ิตนเป็นคนดขี อ้ ใดเหมาะสมทส่ี ุด ก. ประกอบอาชพี สจุ ริต ข. บริจาคทรพั ยบ์ ำรงุ ศาสนา ค. เชื่อฟงั คำส่งั สอนของพอ่ แม่ ง. บำเพญ็ ประโยชนเ์ พ่อื ประเทศชาติ 8. ใครทำความดีทางใจ ก. สชุ าติชว่ ยพอ่ แม่ทำงาน ข. กมลเอาขา้ วให้สุนขั จรจดั กนิ ค. วัลยาไมโ่ กรธเพือ่ นทีว่ ่งิ มาชน ง. วิชัยพูดจากบั เพอื่ นอย่างสุภาพ 9. การทำความดใี นระดบั โรงเรยี น คอื ข้อใด ก. ไมพ่ ดู โกหก ข. ช่วยเหลือเพ่อื น ๆ ค. มคี วามซือ่ สัตย์ ง. ช่วยเหลอื งานชุมชน 10. คณุ คา่ ท่ีสำคญั ทส่ี ุดของชาดก ไดแ้ ก่ข้อใด ก. ความบนั เทงิ ข. ขอ้ คิด คติสอนใจ ค. สำนวนภาษาท่ีสละสลวย ง. สืบสานเรอ่ื งในพระพุทธศาสนา เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน (Pre-Test) 1. ค 2. ก 3. ก 4. ค 5. ข 6. ค 7. ค 8. ค 9. ข 10. ข

แบบทดสอบหลงั เรียน (Post-Test) หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 3 เร่ือง เชอื่ ม่นั ในการทำความดี กลุ่มสาระการเรียนร้สู ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม วชิ าสงั คมศึกษา ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 4 คำชแ้ี จง ให้นักเรยี นเลือกคำตอบท่ีถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว 1. ข้อใดไม่จัดเปน็ การทำความดี ก. ชว่ ยเหลือเพอ่ื น ข. มีความสามคั คกี นั ค. พูดโกหกใหค้ นอน่ื เชือ่ ง. ปฏิบตั ิตามหนา้ ที่ของตน 2. การชน่ื ชมคนดีเป็นสิง่ ทคี่ วรทำหรอื ไม่ ก. ควร เพราะคนดีทำแต่สิง่ ทด่ี ี ข. ควร เพราะคนดเี ป็นญาติเรา ค. ไม่ควร เพราะไมเ่ กยี่ วกับเรา ง. ไมค่ วร เพราะจะทำให้คนดไี ด้ใจ 3. การทำความดเี ปน็ ส่งิ ที่ควรทำ เพราะเหตใุ ด ก. ให้ผลคือความสุข ข. พอ่ แม่คอยบงั คบั ให้ทำ ค. ได้รบั รางวลั จากพอ่ แม่ ง. ไดร้ ับการยกยอ่ งจากผู้อน่ื 4. ผลจากการทำความดี คอื ขอ้ ใด ก. มีคนชน่ื ชม ข. มีคนเมตตา ค. มคี วามสุขทางใจ ง. ไดร้ ับสง่ิ ตอบแทน 5. พระนามใด หมายถงึ สมเดจ็ ย่า ก. หมอเจา้ ฟา้ ข. แมฟ่ า้ หลวง ค. ย่าฟา้ หลวง ง. เจ้าฟา้ หลวง 6. สมเด็จพระมหติ ลาธเิ บศร อดุลยเดชวิกรมพระบรมราชชนก ทรงมีคุณธรรมข้อใดเดน่ ชดั ทส่ี ุด ก. ความใฝร่ ู้ ข. ความซ่อื สัตย์ ค. ความเมตตา ง. ความยุตธิ รรม

7. ในวัยของนกั เรยี นควรปฏิบตั ิตนเป็นคนดขี อ้ ใดเหมาะสมทส่ี ุด ก. ประกอบอาชพี สจุ ริต ข. บริจาคทรพั ย์บำรงุ ศาสนา ค. เชื่อฟังคำส่งั สอนของพอ่ แม่ ง. บำเพญ็ ประโยชนเ์ พ่อื ประเทศชาติ 8. ใครทำความดีทางใจ ก. สชุ าติชว่ ยพอ่ แม่ทำงาน ข. กมลเอาขา้ วให้สุนขั จรจดั กนิ ค. วัลยาไมโ่ กรธเพือ่ นทีว่ ่งิ มาชน ง. วชิ ัยพดู จากบั เพอื่ นอย่างสุภาพ 9. การทำความดใี นระดบั โรงเรยี น คอื ข้อใด ก. ไมพ่ ูดโกหก ข. ชว่ ยเหลือเพ่อื น ๆ ค. มคี วามซือ่ สัตย์ ง. ช่วยเหลอื งานชุมชน 10. คณุ คา่ ท่ีสำคญั ทส่ี ุดของชาดก ไดแ้ ก่ข้อใด ก. ความบนั เทงิ ข. ขอ้ คิด คติสอนใจ ค. สำนวนภาษาที่สละสลวย ง. สืบสานเรอ่ื งในพระพุทธศาสนา เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน (Post-Test) 1. ค 2. ก 3. ก 4. ค 5. ข 6. ค 7. ค 8. ค 9. ข 10. ข

บนั ทึกผลหลังการจดั การเรียนรู้ สรุปผลหลังการจดั การเรยี นรู้ 1. นักเรียนจำนวน..................คน ผ่านจดุ ประสงค์การเรยี นร.ู้ .....................คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ.................. ไม่ผา่ นจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้..................คน คดิ เปน็ ร้อยละ.................. 2. แนวทางแก้ไขนกั เรยี นทีไ่ ม่ผ่านจดุ ประสงค์การเรียนรู้ ......................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................ 3. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ไมผ่ ่าน............ คน ผ่าน.............คน ดี..................คน ดีเย่ยี ม................คน ระดับดีข้นึ ไป รอ้ ยละ..................... 4. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น ไม่ผา่ น............ คน ผา่ น.............คน ดี..................คน ดีเย่ียม................คน ระดับดขี น้ึ ไป ร้อยละ..................... 5. นักเรยี นเกดิ ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 ใดบา้ ง ทำเคร่อื งหมาย  ในช่องว่างทีต่ รงกับทกั ษะทีเ่ กิด 3R  อ่านออก  เขยี นได้  มีทกั ษะในการคดิ คำนวณ 8C  การคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปัญหา  การสร้างสรรค์  ความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ตา่ งกระบวนทัศน์  การสอื่ สาร  ดา้ นความรว่ มมือ การทำงานเปน็ ทมี และภาวะผูน้ ำ  ทักษะการเปลี่ยนแปลง  การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร  ทักษะอาชพี และทักษะการเรยี นรู้ ผลการจัดการเรยี นการสอน/ปญั หา/ อุปสรรค และแนวทางแก้ไข • แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 1 เรื่อง คนดีทน่ี า่ ช่นื ชม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…. .................................................................................................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………. • แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 2 เรอ่ื ง แบบอย่างความดี : พุทธสาวก ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………. .................................................................................................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………. • แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 3 เรื่อง แบบอย่างความดี : ชาดก ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………. .................................................................................................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…….

• แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 4 เร่อื ง ศาสนิกชนตัวอยา่ ง : สมเดจ็ พระมหติ ลาธเิ บศร อดลุ ยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………. .................................................................................................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... • แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 5 เร่อื ง ศาสนกิ ชนตวั อยา่ ง : สมเด็จพระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………. .................................................................................................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ลงชอื่ .................................................. (นางสาวอญั ชลี อุ่นทะยา) ครูผ้สู อน ความคดิ เหน็ หัวหน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้/ผทู้ ี่ได้รบั มอบหมาย ตรวจ/นิเทศ/เสนอแนะ/รับรอง ............................................................................................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ............................................................................................................................................................................... ลงชือ่ …………………………………………………… (นางสาวจีรวรรณ ปฏิวงศ์) หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ...................../......................./......................... ความเหน็ ของหวั หน้าสถานศกึ ษา ตรวจ/นิเทศ/เสนอแนะ/รับรอง ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ลงชือ่ …………………………………………………… (นางสาวกนั ยาภทั ร ภทั รโสตถิ) ผอู้ ำนวยการโรงเรียนวัดพชื นมิ ติ (คำสวสั ดิร์ าษฎรบ์ ำรงุ ) ...................../......................./.........................

โรงเรียนวดั พืชนมิ ิต(คำสวสั ดิร์ าษฎรบ์ ำรงุ ) แบบประเมนิ การจดบันทึกความรู้ เลขที่ ผลการประเมนิ บันทึกตรงตามเน้ือหาสาระ ีมความ ้ัตงใจในการทำงานช่อื - สกลุ ีมความ ัรบผิดชอบ ความสะอาดเ ีรยบ ้รอย ผลสำเ ็รจของงาน รวมคะแนน 1 ด.ช. ทศธรรม ทวลี าภ 3 3 3 3 3 15 ผา่ น ไม่ผ่าน 3 2 2 2 3 12  2 ด.ช. ณัฐพงษ์ เอยี่ มต้นเค้า 3 2 2 2 2 11  3 ด.ช. ทินภทั ร สุวรรณประจักษ์ 3 3 3 2 3 14  4 ด.ช. ธารา เพง็ แจม่ 3 2 2 2 2 11  5 ด.ช. ธรี พรรณ เชยี งคำ 2 2 3 2 3 12  6 ด.ช. ปัณณทัต นิวาตพนั ธ์ 3 2 3 2 3 13  7 ด.ช. พิชาภพ ประจิตร 3 3 3 2 3 14  8 ด.ช. ภเู บศ เจรญิ สุข 3 3 3 3 3 15  9 ด.ช. รุง่ อรณ มีไทย 3 3 3 2 3 14  10 ด.ช. ชนะพล ทองประเทือง 3 3 3 2 3 14  11 ด.ญ. กุลภรณ์ บิดาทมุ 3 3 3 3 3 15  12 ด.ญ. จิตราพร จิตโกศล 3 3 3 3 3 15  13 ด.ญ. เอมณิชา บญุ นาค 3 3 3 3 3 15  14 ด.ญ. สุภัสสรา วงษป์ ระจนั ต์ 3 3 3 2 3 14  15 ด.ญ. สาวิตรี อดุ มศรี 3 3 3 3 3 15  16 ด.ญ. ทิวาพร ยามงคล 3 3 3 3 3 15  17 ด.ช. ดิษยธ์ นชั สงกูล 3 3 3 2 3 14  18 ด.ช. ธนาธปิ พิทักษ์ศร 3 3 3 3 3 15  19 ด.ช. สาโรจน์ ศริ มิ งคล 3 3 3 3 3 15  20 ด.ญ. กชพรรณ ชชู ่นื 3 3 3 3 3 15  21 ด.ญ. อัญญารนิ ทร์ ครุ ภุ ัณฑ์ 3 3 3 3 3 15  22 ด.ญ. ชลธิชา ชีตาลกั ษณ์ 3 3 3 3 3 15  23 ด.ญ. อรรมั ภา บญุ อินทร์ 3 3 3 3 3 15  24 ด.ญ. พิมพ์นภิ า มูลหา 3 3 3 3 3 15 

เลขที่ ผลการประเมนิ บันทึกตรงตามเน้ือหาสาระ ีมความ ้ัตงใจในการทำงานช่อื - สกลุ ีมความ ัรบผิดชอบ ความสะอาดเ ีรยบ ้รอย ผลสำเ ็รจของงาน รวมคะแนน 25 ด.ญ. ศภุ นดิ า แก้วคำแสน 3 3 3 3 3 15 ผ่าน ไมผ่ า่ น 26 ด.ญ. บาบ้ี เตง็ เตมิ วงศ์ 3 3 3 3 3 15  27 ด.ช. วัฒนากูล บรบุตร 3 3 3 3 3 15  28 ด.ช. ตะวัน แซ่จนั 3 2 3 2 3 13  29 ด.ช. จิตตพิ ฒั น์ ชชู ่วย 3 3 3 2 3 14  30 ด.ช. วฏญิ พงษ์ ขนั ธ์ลอ้ ม 3 3 3 3 3 15  31 ด.ช. มอส - 3 3 3 3 3 15  32 ด.ช.พชรพล กางทอง 3 2 2 2 2 11  33 ด.ช. กฤษดา ดลภัย 3 3 3 2 3 14  34 ด.ญ. สงกรานต์ เอกตาแสง 3 3 3 3 3 15  35 ด.ช. กฤตกร ยวงโพธิ์ 3 3 3 3 3 15  36 ด.ญ. ธญั รดา เณรกลู 3 2 2 2 2 11  37 ด.ญ. ชานิสรา แก้วเงิน 3 3 3 3 3 15  38 ด.ญ. ศริ ีรัตน์ เปลีย่ นแสง 3 3 3 3 3 15  39 ด.ช. โชคศริ ิ บญุ มา 3 3 3 3 3 15  40 ด.ญ. เกวลี ว้นุ เนยี ม 3 2 3 2 3 13  41 ด.ช. จริ เมธ ไพรีรณ 3 3 3 3 3 15  42 ด.ช. ศุกลวัฒน์ พนั ศรี 3 2 2 2 2 11  43 ด.ญ. โศธดิ า เทียนสะอาด 3 3 3 3 3 15  3 2 3 2 3 13  เกณฑก์ ารประเมนิ ระดบั คุณภาพ เกณฑ์ทผี่ ่าน ตง้ั แต่ 10 คะแนนขึ้นไป 3 : ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่ำเสมอ : ดี 11 – 15 คะแนน : ดี 2 : ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยคร้งั : พอใช้ 6 – 10 คะแนน : พอใช้ 1 : ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤติกรรมบางครัง้ : ปรบั ปรุง 1 – 5 คะแนน : ปรับปรงุ

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม วิชาสังคมศึกษา ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 4 เวลา 5 ชวั่ โมง หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 : เช่ือม่ันในการทำความดี เวลา 1 ชวั่ โมง เรื่อง คนดีที่น่าช่ืนชม 1. สาระสำคัญ คนดี คอื คนท่ที ำความดี ประพฤตดิ ี ปฏิบัติชอบ ไม่ทำส่ิงท่ที ำให้ตนเองและผู้อืน่ เดือดรอ้ น มีคณุ ธรรมเปน็ หลักใน การดำเนนิ ชวี ติ ในสงั คมของเรา ยงั มคี นดีอีกมากมาย เพราะคนเหลา่ น้ีเห็นคุณค่าของการทำความดี การทำความดนี น้ั มี หลายระดบั ซงึ่ ทำไดง้ า่ ย ๆ โดยเร่มิ จากตนเอง การศึกษาการทำความดขี องบุคคลต่าง ๆ ทำให้เราเกดิ ความชน่ื ชม เหน็ คุณค่า และนำมาเป็นแบบอยา่ งในการทำ ความดขี องตนได้ 2. ตัวช้ีวดั ส 1.1 ป.4/5 ชน่ื ชมการทำความดขี องตนเอง บุคคลในครอบครวั โรงเรยี น และชุมชนตามหลกั ศาสนาพรอ้ มทั้ง บอกแนวปฏิบัติในการดำเนินชวี ิต 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. ชื่นชมการทำความดีของตนเอง บคุ คลในครอบครัว โรงเรยี น และชมุ ชนตามหลักศาสนาได้ (A) 4. สาระการเรียนรู้  ตัวอย่างการกระทำความดขี องตนเอง - ระดบั ครอบครวั - ระดบั โรงเรยี น - ระดบั ชมุ ชน 5. สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี น 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ 6. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ 2. ซอ่ื สัตย์ สุจริต 3. มวี นิ ัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. มุ่งมนั่ ในการทำงาน 6. มจี ิตสาธารณะ 7. บูรณาการ ภาษาไทย ฟัง พูด อา่ น และเขียนข้อมลู เก่ียวกบั คนดีทน่ี ่าชืน่ ชม

8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขั้นนำเข้าสบู่ ทเรียน 1. นกั เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรยี นเพื่อเป็นการทดสอบความรู้ และครูใหน้ กั เรียนดูรูปภาพพระมหากษัตริยไ์ ทย แลว้ สนทนากบั นกั เรยี นวา่ ในภาพพระองค์เปน็ ใคร และแต่ละพระองคไ์ ด้ทำคณุ งามความดีใหก้ ับประเทศชาติอยา่ งไรบ้าง ครูอธิบายเพม่ิ เติม และเปิดโอกาสให้นักเรยี นได้ซักถามสิง่ ท่ีนกั เรียนสงสยั หรอื สนใจ 2. นกั เรียนชมวีดทิ ัศน์เกย่ี วกับการทำความดีของบุคคลต่าง ๆ เชน่ พระราชกรณียกิจต่าง ๆ ของในหลวง และ พระราชินี , จติ อาสา , การชว่ ยเหลอื ผอู้ ่นื 3. นกั เรยี นตอบคำถามกระตนุ้ ความคิด  นักเรียนเคยทำความดีอะไรบา้ ง พรอ้ มกบั ยกตวั อยา่ งประกอบ  นักเรียนเคยทำสิง่ ท่ีไมด่ อี ะไรบ้าง พร้อมกบั ยกตัวอยา่ งประกอบ ขั้นสอน 1. ครอู ธิบายให้นักเรยี นฟังว่า คนดี คอื คนท่ีทำความดี ประพฤติดี ปฏิบตั ชิ อบ ไม่ทำสงิ่ ท่ีทำใหต้ นเองและผู้อ่นื เดอื ดร้อน มีคณุ ธรรมเป็นหลักในการดำเนินชวี ติ ซ่งึ การทำความดมี หี ลายแบบ สามารถทำไดง้ ่ายๆ โดยเรม่ิ จากตนเอง ก่อน และการทเี่ ราจะฝกึ ตนใหเ้ ป็นคนดนี ้ัน ต้องมคี วามตงั้ ใจในการทำความดีต่าง ๆ ดว้ ยใจจรงิ และเหน็ คุณค่าของการ ทำความดี 2. ครใู หน้ กั เรียนบอกบุคคลที่นักเรียนประทับใจ หรือคนที่นกั เรยี นยกใหเ้ ปน็ ฮโี รใ่ นดวงใจ ว่าเป็นใคร และเพราะ เหตผุ ลใดถงึ ช่ืนชอบบคุ คลดงั กล่าว โดยครูขออาสาสมัคร 5 คน มาพูดใหค้ รแู ละเพอ่ื น ๆ ฟังหน้าช้ันเรียน 3. นกั เรยี นจดช่ือบุคคคลสำคัญท่ีทำคณุ งามความดีให้กับประเทศไทยลงในสมดุ พรอ้ มบอกเหตผุ ล 4. ครูใหน้ กั เรียนบอกความรู้สกึ ถึงการทำความดขี องตวั นักเรียนเอง ว่ามปี ระโยชนต์ อ่ นักเรยี น และต่อคนรอบ ข้างของนกั เรียนอย่างไร พร้อมอธบิ ายเหตุผล 5. ครใู ห้นกั เรยี นบอกถงึ ความภาคภมู ใิ จทีน่ ักเรียนเคยทำใหพ้ ่อแม่ ผปู้ กครองดีใจ ภมู ิใจในตวั นกั เรยี น ว่ามี อะไรบ้าง และใหบ้ อกความร้สู กึ ของนักเรยี น 6. นักเรียนและครรู ว่ มกันแสดงความคดิ เห็นเก่ยี วกบั ผลท่ีจะเกดิ ขึ้นตามมาถ้าเรากระทำในสง่ิ ทไ่ี มด่ ี ขั้นสรปุ 1. ครูและนกั เรียนรว่ มกันสรุปความร้เู รอ่ื ง คนดีทน่ี า่ ช่นื ชม 2. ครใู หน้ กั เรียนนำความรแู้ ละประสบการณ์ที่ได้จากการศึกษา เรื่อง คนดีท่นี ่าชืน่ ชมไปประยุกตใ์ ช้ในการดำเนนิ ชีวติ ประจำวัน 9. การวัดและประเมินผล วิธีการ เคร่อื งมือ เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 แบบทดสอบกอ่ นเรียน หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 - ประเมินการจดบันทกึ ความรู้ แบบประเมินการจดบันทึกความรู้ ระดับคณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ สงั เกตความรกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซือ่ สตั ย์ สุจรติ แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคณุ ภาพ 2 มวี ินยั ใฝ่เรยี นรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน และมีจติ ผา่ นเกณฑ์ สาธารณะ

10. ส่อื /แหล่งการเรียนรู้ 1. สือ่ การเรยี นรู้  หนงั สือเรยี นรายวิชาพนื้ ฐาน สังคมศกึ ษา ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 4  รปู ภาพพระมหากษัตรยิ ไ์ ทย  รปู ภาพจิตอาสา 2. แหลง่ การเรยี นรู้  หอ้ งเรยี น  อนิ เทอรเ์ นต็

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 2 กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วชิ าสังคมศึกษา ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 4 เวลา 5 ช่ัวโมง หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 3 : เช่อื ม่ันในการทำความดี เวลา 1 ช่ัวโมง เรอื่ ง แบบอย่างความดี : พทุ ธสาวก 1. สาระสำคญั การทำความดีตามหลักศลี ธรรม จริยธรรม และหลกั ธรรมทางศาสนา เป็นสง่ิ ทที่ กุ คนต้องประพฤติปฏบิ ัตอิ ย่าง จริงจัง เพื่อก่อให้เกดิ ความสขุ แกต่ นเองและผู้อน่ื ในทางพระพทุ ธศาสนาสอนให้เราศกึ ษาแบบอย่างการทำความดีจาก เรอื่ งราวตา่ ง ๆ เช่น พุทธสาวก ชาดก เป็นต้น พระอุรเุ วลกสั สปะ เปน็ พุทธสาวกองคห์ นึ่งของพระพุทธเจ้าทม่ี ีคุณธรรมที่เดน่ ในเรื่อง ความมีเมตตากรุณา ซึง่ คุณธรรมเหลา่ นน้ั เราควรนำมาเปน็ แบบอย่างในการประพฤติปฏิบัตเิ พือ่ ใหเ้ กิดผลดีในการดำเนนิ ชีวิต 2. ตวั ช้ีวัด ส 1.1 ป.4/3 เหน็ คุณคา่ และปฏบิ ัติตนตามแบบอยา่ งการดำเนนิ ชวี ติ และข้อคิดจากประวตั สิ าวก ชาดก เรอ่ื ง เล่าและศาสนิกชนตัวอยา่ งตามทก่ี ำหนด 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. ปฏบิ ตั ติ นตามแบบอย่างการดำเนินชีวติ และข้อคดิ จากประวัตสิ าวก ชาดกได้ (P) 2. เหน็ คณุ ค่าของการปฏิบัตติ นตามแบบอย่างการดำเนนิ ชวี ติ และข้อคดิ จากประวัตสิ าวกและชาดก (A) 4. สาระการเรียนรู้  พทุ ธสาวก พทุ ธสาวกิ า - พระอุรุเวลกัสสปะ 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น 1. ความสามารถในการสอื่ สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 6. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มวี ินยั 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มงุ่ มั่นในการทำงาน 7. บูรณาการ ภาษาไทย ฟงั พดู อา่ น และเขียนขอ้ มูลเก่ยี วกบั พุทธสาวก พทุ ธสาวกิ า 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ข้นั นำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูให้นักเรียนดวู ีดิทัศน์เกี่ยวกบั พุทธประวตั ิของพระพทุ ธเจ้า เนน้ ตอนที่พระพุทธเจา้ ทรงไดพ้ ระอัครสาวก คือ พระสารีบตุ ร และพระโมคคัลลานะ 2. ครูซกั ถามนกั เรียนวา่ จากวีดทิ ัศน์ท่ีนกั เรียนได้ดู ใครเปน็ พุทธสาวก และนกั เรียนรไู้ ด้อยา่ งไร ใหน้ กั เรยี น ช่วยกันแสดงความคิดเห็น

ข้ันสอน 1. ครูสรุปให้นกั เรียนฟังว่าพทุ ธสาวก หมายถึง สาวกของพระพุทธเจา้ ทเี่ ป็นอรยิ บคุ คลเกิดในสมยั ทพี่ ระพุทธเจ้า ยงั ทรงมีพระชนมายุอยู่ 2. ครูให้นักเรียนดูภาพพระปฐมสมโพธ์ิ 4 ภาพ คือ  ภาพตอนท่ีพระพทุ ธเจ้าเสด็จไปหาชฎิลอรุ เุ วลกสั สปะเพอ่ื ขอพักทโี่ รงไฟ  ภาพตอนที่พระพทุ ธเจา้ ทรงจับพญานาคขดใส่ในบาตรให้ชฎิลดู  ภาพตอนทเี่ กดิ อทุ กภยั คร้ังใหญ่ แตไ่ มท่ ่วมพระพุทธเจ้าท่กี ำลังเดินจงกรมอยู่  ภาพตอนท่พี ระอุรุเวลกสั สปะประกาศตนเป็นพุทธสาวกต่อหนา้ พระเจ้าพมิ พสิ ารและชาวเมอื ง ราชคฤห์ ณ สวนตาลหนุ่ม 3. ครูซักถามนกั เรยี นว่าเปน็ ภาพเกยี่ วกับประวตั ขิ องใคร ใหน้ กั เรียนชว่ ยกันตอบ ครเู ฉลยแล้วบอกใหน้ ักเรียน ตงั้ ใจฟัง จากนัน้ เล่าเรือ่ งประกอบภาพเกีย่ วกับประวัตขิ องพระอุรเุ วลกสั สปะ 4. ครขู ออาสาสมคั ร หรอื ส่มุ นกั เรียน 3 คน ให้ออกมาเล่าประวตั ขิ องพระอุรเุ วลกัสสปะตอ่ กันใหจ้ บเรอ่ื ง 5. ครูซกั ถามนกั เรยี นถึงเรอื่ งทเี่ พ่ือนเลา่ ให้ฟงั และกลา่ วชมเชยนกั เรยี น จากน้ันใหน้ กั เรียนรว่ มกนั วเิ คราะหว์ า่ พระอุรุเวลกัสสปะมีคุณธรรมอะไรบา้ งทเ่ี ราควรนำมาเป็นแบบอย่างในการประพฤตปิ ฏิบัตติ น แลว้ ขออาสาสมคั ร หรอื สุ่ม ตวั แทนนกั เรยี นออกมานำเสนอหน้าชัน้ เรียน 6. ครใู ห้นกั เรียนทำกจิ กรรมท่ีเก่ียวกับพทุ ธสาวก แล้วช่วยกนั เฉลยคำตอบทถี่ ูกต้อง 7. ครูสรปุ ผลการนำเสนอผลงานของนกั เรยี น จากน้นั มอบหมายใหน้ กั เรียนเขียนสรปุ ความรู้ท่ไี ด้จากการศกึ ษา เรื่อง พระอุรุเวลกสั สปะ ตามแบบบันทึกความรเู้ ป็นการบ้าน ขน้ั สรุป 1. ครูมอบหมายใหน้ กั เรียนไปอา่ นเกี่ยวกบั ชาดกเป็นการบา้ นเพือ่ เตรียมจัดการเรียนร้ใู นคร้ังต่อไป 2. ครูให้นกั เรยี นนำความร้ทู ไ่ี ดจ้ ากการศกึ ษา เรอ่ื ง พทุ ธสาวกไปประยุกตใ์ ชใ้ นการดำเนนิ ชวี ติ 9. การวัดและประเมินผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ แบบประเมนิ การจดบันทกึ ความรู้ ประเมนิ การจดบนั ทกึ ความรู้ แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สงั เกตความ มวี นิ ยั ใฝเ่ รียนรู้ และมุ่งมนั่ ในการ ระดบั คุณภาพ 2 ทำงาน ผ่านเกณฑ์ 10. ส่อื /แหลง่ การเรียนรู้ 1. สื่อการเรียนรู้  หนงั สอื เรียนรายวชิ าพ้นื ฐาน สังคมศกึ ษา ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 4  รูปภาพพระปฐมสมโพธ์ิ  รูปภาพพุทธประวัติ 2. แหล่งการเรยี นรู้  หอ้ งเรยี น  อินเทอรเ์ นต็

แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 3 กล่มุ สาระการเรยี นร้สู ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชาสงั คมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4 เวลา 5 ชัว่ โมง หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 3 : เช่ือมน่ั ในการทำความดี เวลา 1 ช่วั โมง เรือ่ ง แบบอย่างความดี : ชาดก 1. สาระสำคัญ ชาดก คอื เร่ืองราวในอดีตของพระพทุ ธเจ้าก่อนทจ่ี ะมาประสูตแิ ละตรสั รู้เป็นพระพุทธเจา้ ในชาติสุดท้าย การศึกษากฏุ ทิ สู กชาดกทำใหเ้ ราได้ข้อคิดเกีย่ วกบั การไมค่ บคนพาล และการศกึ ษามหาอกุ กสุ ชาดกทำใหเ้ ราได้ขอ้ คิด เกยี่ วกับการสร้างมิตรไมตรี ซงึ่ ขอ้ คิดเหล่านีส้ ามารถนำไปประพฤตปิ ฏิบัตใิ นชีวิตประจำวนั ได้ 2. ตวั ช้ีวัด ส 1.1 ป.4/3 เห็นคุณค่าและปฏบิ ตั ิตนตามแบบอย่างการดำเนนิ ชวี ิต และข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรือ่ ง เลา่ และศาสนกิ ชนตวั อยา่ งตามท่กี ำหนด 3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธิบายและเล่าเรอ่ื งในกฏุ ทิ ูสกชาดก และมหาอุกกุสชาดกได้ (K) 2. วเิ คราะห์ข้อคิดจากกฏุ ทิ ูสกชาดก และมหาอุกกุสชาดก และนำขอ้ คดิ ดงั กล่าวไปประยกุ ต์ใช้ (P) 4. สาระการเรียนรู้  ชาดก - กุฏิทูสกชาดก (นกขมน้ิ สอนลิงพาล) - มหาอกุ กุสชาดก (บรุ ุษผู้ผูกไมตร)ี 5. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ซอ่ื สตั ย์ สุจรติ 2. มีวินยั 3. ใฝเ่ รยี นรู้ 4. มุ่งมน่ั ในการทำงาน 7. บรู ณาการ ภาษาไทย ฟัง พดู อ่าน และเขียนขอ้ มูลเกี่ยวกับชาดก 8. กจิ กรรมการเรียนรู้ ขนั้ นำเข้าสูบ่ ทเรยี น 1. ครูสนทนาซักถามนกั เรยี นวา่ ชาดก คอื อะไร ใหน้ กั เรยี นชว่ ยกันตอบคำถาม ครูสรปุ คำตอบของนกั เรยี น จากนั้นเปิดโอกาสใหน้ กั เรยี นซกั ถามขอ้ สงสยั ต่าง ๆ เก่ยี วกับชาดกจากเรือ่ งที่ไดร้ ับมอบหมายให้ไปอ่านมา โดยครตู อบขอ้ สงสัยและอธิบายเพ่ิมเติม 2. ครูซกั ถามนักเรียนว่าเคยฟังนิทานเกย่ี วกับอดีตชาตขิ องพระพทุ ธเจา้ หรอื ไม่ ให้นกั เรยี นรว่ มกันแสดงความ คิดเหน็ จากนนั้ ครบู อกกับนกั เรยี นวา่ พระพทุ ธเจา้ กว่าจะตรสั รูเ้ ปน็ พระพทุ ธเจา้ ได้พระองค์ตอ้ งบำเพญ็ เพียรตั้งหลายร้อย ชาติ เราเรยี กเร่ืองราวทเ่ี กีย่ วข้องกบั พระพทุ ธเจา้ ในชาตติ า่ ง ๆ ว่า ชาดก

3. ครูอธิบายให้นักเรียนฟังวา่ ชาดกเป็นเรอื่ งราวท่พี ระพทุ ธเจ้าทรงใช้เทศนส์ อนพระภกิ ษุ และพุทธศาสนกิ ชน ทัว่ ไป ชาดกมจี ำนวนหลายร้อยเร่ือง แต่ในชั้นเรียนนีน้ ำมาสอนแค่ 2 เรอ่ื ง คือ กุฏิทูสกชาดก และมหาอุกกุสชาดก ข้นั สอน 1. ครูเลา่ เรื่องกุฏิทสู กชาดก และมหาอกุ กุสชาดกให้นักเรยี นฟัง 2. ครูขออาสาสมัครนักเรยี น 2-3 คนให้ออกมาเล่าเร่อื งกฏุ ทิ ูสกชาดก และมหาอุกกสุ ชาดก ให้เพ่ือนฟังหน้า ช้ันเรียนเพอ่ื เปน็ การทบทวน 3. ครูใหน้ กั เรยี นแบ่งกลุ่ม กลมุ่ ละ 6-7 คน ให้แต่ละกล่มุ ช่วยกันแสดงความคิดเหน็ วา่ กุฏิทูสกชาดก และมหาอกุ กุสชาดกใหข้ ้อคิดเก่ียวกบั เรื่องอะไรบ้าง 4. ครสู มุ่ เลอื กนกั เรยี น 2-3 กลมุ่ ให้ออกมานำเสนอการวเิ คราะหข์ องกลุ่ม และเปดิ โอกาสใหเ้ พอื่ นกลุ่มอ่ืน ๆ รว่ มกนั แสดงความคิดเหน็ โดยครคู อยเสริมความรู้ให้สมบรู ณ์ จากน้นั รว่ มกนั สรปุ ความร้เู ร่อื งกฏุ ทิ ูสกชาดก และมหาอุก- กสุ ชาดก แลว้ ใหน้ กั เรยี นบนั ทึกความรลู้ งในสมุด 5. ครูใหน้ กั เรียนศกึ ษาชาดกเร่อื งอ่ืน ๆ เพิ่มเตมิ ที่นอกเหนอื จากบทเรยี นจากสอื่ การเรียนรู้ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เนต็ 6. ครูใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั แสดงความคิดเห็นในประเด็นที่ว่า ถ้านกั เรียนมีเพ่อื นเป็นคนพาล นกั เรยี นควรปฏิบัตติ น อยา่ งไร ขน้ั สรุป 1. ครูแนะนำให้นกั เรียนนำขอ้ คดิ หรือคณุ ธรรมที่ได้จากการเรียนร้เู รื่องกุฏิทูสกชาดก และมหาอกุ กุสชาดก ไป ประยุกตใ์ ช้ในการดำเนนิ ชีวติ ประจำวัน รวมท้งั นำไปเผยแพร่ใหบ้ คุ คลอ่นื เชน่ คนในครอบครัว เพือ่ นบ้าน คนในชุมชน ไดร้ แู้ ละเขา้ ใจ 2. ครูและนักเรียนรว่ มกนั สรปุ ความรเู้ ร่อื งกฏุ ิทูสกชาดก และมหาอุกกุสชาดก โดยใหน้ กั เรยี นบันทกึ ข้อสรุปเป็น แผนผงั ความคิดลงในสมดุ พรอ้ มตกแตง่ ใหส้ วยงาม 9. การวัดและประเมินผล วธิ กี าร เครื่องมอื เกณฑ์ แบบประเมนิ การจดบันทึกความรู้ ประเมินการจดบันทกึ ความรู้ แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ สังเกตความซื่อสตั ย์ สุจริต มีวินัย ใฝ่เรยี นรู้ และ ระดับคณุ ภาพ 2 มุ่งมน่ั ในการทำงาน ผ่านเกณฑ์ 10. สอ่ื /แหลง่ การเรียนรู้ 1. สอื่ การเรยี นรู้  หนังสอื เรยี นรายวชิ าพ้ืนฐาน สงั คมศึกษา ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 4  หนังสอื นิทาน 2. แหล่งการเรยี นรู้  ห้องเรียน  อนิ เทอรเ์ น็ต

แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 4 กล่มุ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วชิ าสังคมศึกษา ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 เวลา 5 ชว่ั โมง หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 3 : เชือ่ มั่นในการทำความดี เวลา 1 ชวั่ โมง เรื่อง ศาสนกิ ชนตวั อยา่ ง : สมเดจ็ พระมหิตลาธเิ บศร อดลุ ยเดชวิกรม พระบรมราชชนก 1. สาระสำคัญ สมเด็จพระมหติ ลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระนามเดมิ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟา้ มหิดล อดลุ เดช เสดจ็ พระราชสมภพ เม่อื วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2435 เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้า เจา้ อย่หู ัว พระราชสมภพแต่สมเด็จพระศรีสวรนิ ทริ าบรมราชเทวี พระพนั วสั สาอัยยกิ าเจ้า เป็นพระบรมราชชนกใน พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานนั ทมหดิ ล พระอฐั มรามาธบิ ดนิ ทร และพระบาทสมเด็จพระมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร เป็นพระราชอยั กาในพระบาทสมเด็จพระวชิรเกลา้ เจ้าอยหู่ วั พระองคม์ ีพระเชษฐาและพระเชษฐภคินีท่ีประสตู ิรว่ มพระราชมารดา 7 พระองค์ พระองคม์ ีคุณปู การแก่กิจการ แพทย์แผนปจั จบุ ันและการสาธารณสขุ ของประเทศไทยประชาชนโดยทัว่ ไปคุ้นเคยกบั พระนามว่า “กรมหลวงสงขลา นครินทร์” หรอื “พระราชบดิ า” และบางคร้งั ก็ปรากฏพระนามว่า “เจา้ ฟ้าทหารเรือ” และ “พระประทีปแห่งการอนุรักษ์ สัตว์น้ำของไทย” ส่วนชาวตา่ งประเทศเรียกพระนามว่า “เจ้าฟ้ามหิดล” 2. ตวั ช้ีวดั ส 1.1 ป.4/3 เหน็ คุณคา่ และปฏบิ ตั ิตนตามแบบอยา่ งการดำเนนิ ชวี ติ และขอ้ คิดจากประวตั ิสาวก ชาดก เรอื่ ง เลา่ และศาสนกิ ชนตัวอยา่ งตามท่กี ำหนด 3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. ชืน่ ชมและนำคุณธรรมความดงี ามของสมเด็จพระมหติ ลาธิเบศร อดุลยเดชวกิ รม พระบรมราชชนกมาเป็น แบบอยา่ งในการประพฤตปิ ฏบิ ตั ิตนได้ (P,A) 4. สาระการเรยี นรู้  ศาสนิกชนตวั อย่าง - สมเดจ็ พระมหติ ลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก 5. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต 6. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ 2. ซือ่ สัตย์ สุจริต 3. มีวนิ ยั 4. ใฝ่เรยี นรู้ 5. มงุ่ มั่นในการทำงาน 6. มจี ติ สาธารณะ 7. บูรณาการ ภาษาไทย ฟงั พดู อา่ น และเขยี นขอ้ มูลเกี่ยวกบั ศาสนกิ ชนตัวอยา่ ง - สมเด็จพระมหติ ลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ศลิ ปะ วาดภาพระบายสีใบงาน เรอ่ื ง บุคคลสำคญั ท่หี นูประทับใจ

8. กิจกรรมการเรยี นรู้ ขนั้ นำเขา้ สูบ่ ทเรยี น 1. ครูให้นักเรียนชมวีดิทัศน์เกี่ยวกับพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (ในหลวง รัชกาลที่ 9) 2. ครูได้ซักถามนกั เรยี นวา่ พระบรมราชชนก และพระบรมราชชนนีของในหลวง รชั กาลที่ 9 มพี ระนามว่าอะไร โดยท่ีครเู ปิดโอกาสให้นกั เรยี นได้ซักถามข้อสงสยั ขน้ั สอน 1. ครูบอกความหมายของคำว่า ชาวพุทธตวั อย่าง จากน้ันนำพระบรมฉายาลักษณ์ของสมเดจ็ พระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวกิ รม พระบรมราชชนกให้นักเรียนดู จากนั้นเลา่ ถงึ พระราชประวตั ิ และพระราชกรณยี กิจต่าง ๆ ของพระองค์ 2. นกั เรยี นรว่ มกนั อภิปรายเก่ยี วกบั พระราชประวตั ิของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวกิ รม พระบรมราชชนก โดยใช้คำถาม ดังนี้  สมเด็จพระมหิตลาธเิ บศร อดลุ ยเดชวกิ รม พระบรมราชชนก ทรงสรา้ งคณุ ประโยชน์ต่อประเทศชาติ ในด้านใดบ้าง  สมเด็จพระมหิตลาธเิ บศร อดุลยเดชวกิ รม พระบรมราชชนก ทรงดำเนนิ ชวี ติ ตามหลกั ธรรม ทางพระพทุ ธศาสนาอยา่ งไรบ้าง  พระจรยิ วตั รของพระองคท์ พ่ี ุทธศาสนิกชนควรยดึ ถอื เป็นแบบอย่าง ได้แก่อะไรบ้าง  นกั เรียนศึกษาพระราชประวัติของพระองค์ แล้วนักเรียนรสู้ ึกประทบั ใจในเร่อื งใด 3. ครูสรปุ ความรู้เกย่ี วกบั พระราชประวัติ และพระราชกรณียกิจของสมเดจ็ พระมหติ ลาธิเบศร อดลุ ยเดชวิกรม พระบรมราชชนก 4. นกั เรยี นทำใบงาน เรื่อง บุคคลสำคญั ทหี่ นปู ระทับใจ 5. นกั เรยี นและครรู ่วมกนั แสดงความคิดเห็นเกยี่ วกบั การปฏิบัตติ นใหเ้ ป็นคนดหี รอื แบบอย่างท่ีดสี ง่ ผลตอ่ ชุมชน หรอื สังคมอยา่ งไร ขนั้ สรปุ 1. ครูแนะนำให้นักเรียนนำความรู้ท่ีได้จากการศกึ ษาพระราชประวตั ิของสมเดจ็ พระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดช วกิ รม พระบรมราชชนกไปปฏิบตั ิ หรอื ประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ ประจำวัน รวมทัง้ นำไปเผยแพร่ให้บุคคลอ่ืน เชน่ คนใน ครอบครวั เพ่ือนบ้าน คนในชมุ ชนได้รู้และเข้าใจ 2. ครูมอบหมายให้นักเรยี นไปอา่ นพระราชประวตั ขิ องสมเด็จพระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี เป็นการบ้านเพ่ือ เตรียมจดั การเรยี นร้ใู นครัง้ ตอ่ ไป 9. การวัดและประเมินผล วธิ กี าร เครือ่ งมอื เกณฑ์ ตรวจใบงาน เร่ือง บคุ คลสำคญั ที่หนปู ระทบั ใจ ใบงาน เรื่อง บุคคลสำคัญทหี่ นูประทบั ใจ รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ประเมินการจดบันทึกความรู้ แบบประเมนิ การจดบันทกึ ความรู้ ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สังเกตความรกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซ่ือสตั ย์ สจุ ริต แบบประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ระดับคณุ ภาพ 2 มวี ินัย ใฝ่เรียนรู้ มุง่ ม่นั ในการทำงาน และมจี ิต ผา่ นเกณฑ์ สาธารณะ

10. ส่อื /แหลง่ การเรียนรู้ 1. ส่อื การเรียนรู้  หนงั สือเรียนรายวชิ าพนื้ ฐาน สังคมศึกษา ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 4  รูปภาพสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก  รปู ภาพในหลวง รัชกาลท่ี 5 , รชั กาลที่ 8 , รชั กาลที่ 9 2. แหลง่ การเรียนรู้  ห้องเรยี น  อินเทอรเ์ น็ต

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 5 กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วชิ าสงั คมศึกษา ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 เวลา 5 ชว่ั โมง หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 3 : เชือ่ มัน่ ในการทำความดี เวลา 1 ช่วั โมง เรอ่ื ง ศาสนิกชนตวั อยา่ ง : สมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี 1. สาระสำคัญ สมเด็จพระศรนี ครินทราบรมราชชนนี พระนามเดมิ วา่ สงั วาลย์ ตะละภฏั เสด็จพระราชสมภพ เม่ือวันท่ี 21 ตุลาคม พ.ศ. 2443 เป็นหม่อมในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เป็นพระราชชนนใี น พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานันทมหดิ ล พระอฐั มรามาธิบดนิ ทร และพระบาทสมเด็จพระมหาภมู พิ ลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร และเปน็ พระอยั ยกิ าในพระบาทสมเด็จพระวชริ เกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์มพี ระนามที่นิยมเรียกกนั ว่า สมเดจ็ ยา่ [12] ท้งั นีพ้ ระองค์ยังไดป้ ระกอบพระราชกรณียกิจเยยี่ มราษฎร ชาวไทยภูเขาท่อี าศยั ในถน่ิ ทุรกนั ดาร และไดพ้ ระราชทานความชว่ ยเหลอื ผา่ นทางเฮลิคอปเตอร์พระท่ีนั่ง เปรยี บเสมอื น พระองค์เสดจ็ มาจากฟากฟ้าชว่ ยให้พวกเขามวี ถิ ชี ีวติ ที่ดีข้ึน ชาวไทยภเู ขาจึงถวายพระสมญั ญานามว่า \"แมฟ่ า้ หลวง\" พระองค์ทรงสวรรคตเม่อื วนั ที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 รวมพระชนมายุ 94 พรรษา 2. ตัวช้ีวัด ส 1.1 ป.4/3 เหน็ คุณคา่ และปฏบิ ตั ิตนตามแบบอยา่ งการดำเนนิ ชีวิต และขอ้ คิดจากประวัตสิ าวก ชาดก เร่ือง เล่าและศาสนิกชนตวั อยา่ งตามทีก่ ำหนด 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. ชืน่ ชมและนำคุณธรรมความดงี ามของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีมาเปน็ แบบอยา่ งในการประพฤติ ปฏิบัตติ นได้ (P,A) 4. สาระการเรียนรู้  ศาสนิกชนตวั อยา่ ง - สมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี 5. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ 6. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซ่ือสัตย์ สุจรติ 3. มวี ินยั 4. ใฝ่เรยี นรู้ 5. มุ่งม่นั ในการทำงาน 6. มจี ติ สาธารณะ 7. บรู ณาการ ภาษาไทย ฟัง พูด อ่าน และเขยี นข้อมูลเกย่ี วกับศาสนิกชนตวั อยา่ ง – สมเด็จพระศรนี ครินทราบรม- ราชชนนี

8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขนั้ นำเข้าส่บู ทเรียน 1. ครูให้นักเรยี นชมวีดิทศั นเ์ กยี่ วกบั พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร (ในหลวง รชั กาลท่ี 9) 2. ครไู ด้ซกั ถามนักเรยี นว่าพระบรมราชชนก และพระบรมราชชนนขี องในหลวง รชั กาลท่ี 9 มพี ระนามว่าอะไร โดยทคี่ รเู ปิดโอกาสให้นักเรยี นไดซ้ ักถามขอ้ สงสัย ข้นั สอน 1. ครบู อกความหมายของคำว่า ชาวพทุ ธตวั อยา่ ง จากน้นั นำพระบรมฉายาลกั ษณ์ของสมเด็จพระศรนี ครินทราบ รมราชชนนีให้นักเรียนดู จากนน้ั เล่าถงึ พระราชประวัติ และพระราชกรณยี กิจตา่ ง ๆ ของพระองค์ 2. นกั เรยี นร่วมกนั อภปิ รายเก่ยี วกบั พระราชประวตั ิของสมเดจ็ พระศรีนครนิ ทราบรมราชชนนี โดยใช้คำถาม ดังนี้  สมเด็จพระศรนี ครินทราบรมราชชนนี ทรงสร้างคุณประโยชน์ตอ่ ประเทศชาติในด้านใดบ้าง  สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงดำเนินชวี ิตตามหลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนาอย่างไรบ้าง  พระจรยิ วตั รของพระองคท์ พ่ี ุทธศาสนิกชนควรยดึ ถอื เป็นแบบอย่าง ไดแ้ ก่อะไรบา้ ง  ทำไมชาวไทยภเู ขา ขนานพระนามสมเดจ็ ย่าว่า “แม่ฟ้าหลวง”  นักเรียนศกึ ษาพระราชประวตั ขิ องพระองค์ แล้วนกั เรียนรู้สึกประทบั ใจในเร่อื งใด 3. ครสู รปุ ความรเู้ ก่ียวกับพระราชประวัติ และพระราชกรณียกจิ ของสมเด็จพระศรีนครนิ ทราบรมราชชนนี แล้ว ใหน้ กั เรียนบันทึกความรลู้ งในสมดุ 4. นักเรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรยี น ขั้นสรุป 1. นักเรียนและครรู ว่ มกันสรุปความรูเ้ รอ่ื ง ศาสนิกชนตัวอย่าง (พระราชประวัติของสมเด็จพระมหิตลาธเิ บศร อดลุ ยเดชวิกรม พระบรมราชชนก และสมเด็จพระศรนี ครินทราบรมราชชนนี) 2. ครูแนะนำใหน้ ักเรยี นนำความรูท้ ี่ได้จากการศกึ ษาพระราชประวัตขิ องสมเด็จพระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนีไป ปฏิบัติ หรอื ประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจำวนั รวมทั้งนำไปเผยแพร่ให้บุคคลอน่ื เชน่ คนในครอบครัว เพื่อนบา้ น คนในชุมชน ได้รแู้ ละเข้าใจ 9. การวัดและประเมนิ ผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 แบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 3 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ประเมินการจดบนั ทึกความรู้ แบบประเมนิ การจดบนั ทกึ ความรู้ ระดบั คุณภาพ 2 สังเกตความรักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซอื่ สตั ย์ สุจรติ ผ่านเกณฑ์ มวี ินยั ใฝเ่ รยี นรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน และมจี ติ สาธารณะ แบบประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

10. ส่อื /แหล่งการเรยี นรู้ 1. สือ่ การเรียนรู้  หนงั สือเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน สงั คมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4  รูปภาพสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดลุ ยเดชวิกรม พระบรมราชชนก  รูปภาพสมเด็จพระศรีนครนิ ทราบรมราชชนนี  รูปภาพในหลวง รชั กาลที่ 5 , รชั กาลที่ 8 , รัชกาลท่ี 9 2. แหลง่ การเรียนรู้  หอ้ งเรยี น  อนิ เทอรเ์ น็ต

พ.น./วก. 02 โรงเรียนวัดพืชนมิ ิต (คำสวสั ด์ริ าษฎรบ์ ำรงุ ) แบบประเมนิ หน่วยการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 3 เรื่อง เช่ือม่ันในการทำความดี เวลาทใี่ ช้ 5 ชว่ั โมง รหัสวชิ า ส 14101 รายวิชา สังคมศึกษา ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 4 ครผู ู้สอน นางสาวอญั ชลี อุน่ ทะยา กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ระดบั การประเมนิ มีความสอดคลอ้ ง/เชื่อมโยง/เหมาะสม 5 หมายถึง มากสุดท่ีสุด 4 หมายถึง มาก 3 หมายถึง ปานกลาง 2 หมายถึง นอ้ ย 1 หมายถึง นอ้ ยท่สี ุด ขอ้ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน ท่ี 54321 1 ชื่อหนว่ ยการเรียนรูน้ ่าสนใจ กะทัดรดั ชัดเจน ครอบคลุมเนือ้ หาสาระ 2 มาตรฐานการเรียนร้/ู ตวั ช้ีวดั /ผลการเรยี นรู/้ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคม์ คี วามเชื่อมโยงกันอยา่ งเหมาะสม 3 ความสอดคลอ้ งของสาระสำคญั /ความคิดรวบยอดกับมาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชี้วัด/ผล การเรียนรู้ 4 ความสอดคลอ้ งของสาระสำคญั /ความคดิ รวบยอดกับสาระการเรียนรู้ 5 ความเชอ่ื มโยงสัมพนั ธ์กันระหว่างชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้ีวดั / ผลการเรยี นรสู้ าระสำคญั /ความคดิ รวบยอดสาระการเรียนรูแ้ ละกจิ กรรมการเรยี นรู้ 6 กจิ กรรมการเรียนรู้สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรยี นรู้และสาระการ เรียนรู้ 7 กจิ กรรมการเรียนรมู้ คี วามครอบคลุมในการพฒั นาผ้เู รียนใหม้ ีความรู้ทกั ษะ/กระบวนการ สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 กิจกรรมการเรยี นรูม้ ีความเหมาะสมสามารถนำผเู้ รยี นไปสกู่ ารสรา้ งชิ้นงาน/ภาระงาน 9 มีการประเมินผลตามสภาพจริงและสอดคล้องกับมาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชี้วดั /กิจกรรม การเรียนรู้ 10 ประเด็นและเกณฑก์ ารประเมนิ สามารถสะทอ้ นคุณภาพผเู้ รยี นตามมาตรฐานการเรียนรู/้ ตวั ช้ีวดั /ผลการเรียนรู้ 11 ส่อื การเรยี นร้ใู นแต่ละกจิ กรรม มีความเหมาะสมกบั เวลาและการนำไปประยุกตใ์ ชไ้ ด้จริง 12 กำหนดเวลาได้เหมาะสมกบั กจิ กรรม และสามารถนำไปปฏิบัติจรงิ ได้ ข้อเสนอแนะ .................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................. ลงชอื่ .................................................................. (.................................................................) ผู้ประเมนิ

พ.น./วก. 03 โรงเรยี นวดั พืชนิมิต (คำสวสั ดิร์ าษฎรบ์ ำรงุ ) สรุปผลการประเมินหนว่ ยการจดั การเรียนรู้ หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 3 เร่อื ง เชื่อมน่ั ในการทำความดี เวลาทใี่ ช้ 5 ช่วั โมง รหัสวิชา ส 14101 รายวชิ า สังคมศึกษา ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 4 ครผู ู้สอน นางสาวอญั ชลี อุน่ ทะยา กลุ่มสาระการเรียนรู้ สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- แบบประเมินหนว่ ยการเรียนรู้ ซ่งึ เปน็ แบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) จำนวน 12 ข้อ มรี ะดบั การประเมนิ 5 ระดบั คอื 5 หมายถงึ มีความสอดคลอ้ ง/เชื่อมโยง/เหมาะสม มากท่ีสดุ 4 หมายถงึ มีความสอดคลอ้ ง/เชื่อมโยง/เหมาะสม มาก 3 หมายถึง มีความสอดคล้อง/เชื่อมโยง/เหมาะสม ปานกลาง 2 หมายถงึ มีความสอดคล้อง/เชอ่ื มโยง/เหมาะสม น้อย 1 หมายถึง มีความสอดคล้อง/เชื่อมโยง/เหมาะสม น้อยทสี่ ุด ซึ่งถือเกณฑ์ในการแปลความหมายของคา่ เฉลย่ี ดังน้ี 4.50 – 5.00 หมายความว่า มคี วามสอดคล้อง/เชือ่ มโยง/เหมาะสม มากท่ีสุด 3.50 – 4.49 หมายความว่า มีความสอดคล้อง/เชือ่ มโยง/เหมาะสม มาก 2.50 – 3.49 หมายความวา่ มคี วามสอดคล้อง/เชือ่ มโยง/เหมาะสม ปานกลาง 1.50 – 2.49 หมายความวา่ มคี วามสอดคลอ้ ง/เชอื่ มโยง/เหมาะสม นอ้ ย 1.00 – 1.49 หมายความวา่ มคี วามสอดคล้อง/เชอื่ มโยง/เหมาะสม นอ้ ยที่สุด คะแนนของผู้ประเมนิ คา่ การแปล ข้อท่ี รายการประเมนิ คนที่ คนที่ คนที่ เฉลี่ย ความหมาย 123 1 ชอ่ื หน่วยการเรียนรูน้ า่ สนใจ กะทดั รดั ชดั เจน ครอบคลมุ เนอ้ื หาสาระ 2 มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชวี้ ดั /ผลการเรยี นร/ู้ สมรรถนะสำคญั ของ ผู้เรียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์มคี วามเชอื่ มโยงกันอย่าง เหมาะสม 3 ความสอดคล้องของสาระสำคญั /ความคดิ รวบยอดกับมาตรฐานการ เรยี นร/ู้ ตัวชี้วดั /ผลการเรยี นรู้ 4 ความสอดคลอ้ งของสาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอดกับสาระการเรียนรู้ 5 ความเชือ่ มโยงสมั พนั ธก์ นั ระหวา่ งชือ่ หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชว้ี ัด /ผลการเรียนรู้สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอดสาระการ เรยี นรู้และกิจกรรมการเรยี นรู้ 6 กจิ กรรมการเรียนรู้สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชี้วัด/ผลการ เรยี นรแู้ ละสาระการเรยี นรู้ 7 กจิ กรรมการเรียนรมู้ คี วามครอบคลมุ ในการพัฒนาผเู้ รียนให้มคี วามรู้ ทักษะ/กระบวนการ สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น และคณุ ลกั ษณะอัน พงึ ประสงค์ 8 กจิ กรรมการเรียนรู้มคี วามเหมาะสมสามารถนำผู้เรยี นไปสู่การสรา้ ง ชิ้นงาน/ภาระงาน

คะแนนของผปู้ ระเมนิ ค่า การแปล ข้อที่ รายการประเมนิ คนที่ คนที่ คนท่ี เฉลี่ย ความหมาย 123 9 มีการประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ และสอดคล้องกบั มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชี้วดั /กจิ กรรมการเรยี นรู้ 10 ประเดน็ และเกณฑ์การประเมินสามารถสะทอ้ นคุณภาพผู้เรยี นตาม มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว้ ดั /ผลการเรยี นรู้ 11 สื่อการเรียนรู้ในแตล่ ะกิจกรรม มีความเหมาะสมกับเวลาและการนำไป ประยุกตใ์ ชไ้ ด้จรงิ 12 กำหนดเวลาไดเ้ หมาะสมกบั กจิ กรรม และสามารถนำไปปฏิบตั ิจริงได้ ภาพรวม สรปุ ผลการประเมิน  ผา่ น (ความสอดคล้อง/เช่อื มโยง/เหมาะสมตั้งแต่ระดบั ปานกลางขึ้นไป)  ผา่ น (ความสอดคล้อง/เชื่อมโยง/เหมาะสมต่ำกว่าระดบั ปานกลาง) ลงชื่อ.................................................. (...................................................) ประธานกรรมการ ลงชือ่ .................................................. ลงชอ่ื .................................................. (...................................................) (...................................................) กรรมการ กรรมการ

พ.น./วก. 04 โรงเรียนวดั พืชนมิ ติ (คำสวัสด์ริ าษฎร์บำรุง) แบบประเมนิ แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 3 เร่ือง เชื่อมน่ั ในการทำความดี เวลาทใี่ ช้ 5 ชว่ั โมง รหสั วิชา ส 14101 รายวิชา สังคมศึกษา ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 ครูผูส้ อน นางสาวอญั ชลี อุ่นทะยา กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ระดับการประเมนิ 5 หมายถงึ มคี วามเหมาะสมในระดบั ดีมาก 4 หมายถงึ มีความเหมาะสมในระดับ ดี 3 หมายถึง มีความเหมาะสมในระดับ ปานกลาง 2 หมายถงึ มีความเหมาะสมในระดับ พอใช้ 1 หมายถึง มีความเหมาะสมในระดับ ปรบั ปรุง ข้อท่ี รายการประเมิน ระดับคะแนน 54321 1 แผนการจัดการเรยี นร้สู อดคลอ้ งสมั พนั ธ์กับหนว่ ยการเรียนรทู้ ีก่ ำหนดไว้ 2 แผนการจดั การเรยี นรูม้ อี งคป์ ระกอบสำคญั ครบถ้วนสัมพนั ธ์กนั 3 การเขียนสาระสำคัญในแผนถกู ตอ้ ง 4 จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรมู้ ีความชดั เจนครอบคลมุ เน้ือหาสาระ 5 กำหนดเน้ือหาสาระเหมาะสมกับเวลา 6 กิจกรรมการเรยี นรสู้ อดคลอ้ งกบั จดุ ประสงคแ์ ละเนอื้ หาสาระ 7 กจิ กรรมการเรยี นรสู้ อดคลอ้ งกับจดุ ประสงค์และระดบั ช้นั ของนกั เรยี น 8 กิจกรรมการเรยี นรมู้ คี วามหลากหลายและสามารถปฏิบตั ไิ ดจ้ รงิ 9 กจิ กรรมการเรยี นรู้เปน็ กจิ กรรมทสี่ ง่ เสริมกระบวนการคิดของนกั เรียน 10 กจิ กรรมการเรียนรสู้ อดคลอ้ งแทรกคุณธรรมและคา่ นิยมทดี่ งี าม 11 กิจกรรมการเรียนรู้เนน้ ให้ผูเ้ รียนมสี ว่ นร่วมในชน้ั เรยี น 12 วสั ดอุ ุปกรณ์ สอ่ื นวัตกรรมและเทคโนโลยีมีความหลากหลาย 13 วัสดุอปุ กรณ์ สื่อ และแหล่งเรยี นรูเ้ หมาะสมกับเนอื้ หาสาระ 14 สง่ เสริมให้ผู้เรยี นค้นคว้าหาความรู้ จากแหล่งเรียนร้ตู า่ ง ๆ 15 มกี ารวัดและประเมนิ ผลที่สอดคล้องกบั จุดประสงค์การเรียนรู้

ข้อเสนอแนะ ดา้ นเน้อื หาสาระ....................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ดา้ นกจิ กรรมการเรยี นการสอน................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ด้านการวัดและประเมนิ ผล...................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ดา้ นอนื่ ๆ (โปรดระบุ)............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... (ลงช่อื )..................................................ผู้ประเมิน (.................................................) ............./.................../............. ส่งิ ทไี่ ดด้ ำเนินการแก้ไข ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... (ลงช่อื )..................................................ผูส้ อน (นางสาวอญั ชลี อ่นุ ทะยา) ............./.................../............

พ.น./วก. 05 โรงเรียนวัดพืชนมิ ิต (คำสวัสด์ิราษฎรบ์ ำรงุ ) สรปุ ผลการประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 3 เร่ือง เชอ่ื มัน่ ในการทำความดี เวลาทใี่ ช้ 5 ชว่ั โมง รหัสวิชา ส 14101 รายวชิ า สังคมศึกษา ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 4 ครผู สู้ อน นางสาวอัญชลี อ่นุ ทะยา กลมุ่ สาระการเรียนรู้ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ระดับการประเมิน 5 หมายถึง มคี วามเหมาะสมในระดับ ดีมาก 4 หมายถึง มีความเหมาะสมในระดบั ดี 3 หมายถงึ มคี วามเหมาะสมในระดบั ปานกลาง 2 หมายถึง มีความเหมาะสมในระดบั นอ้ ย 1 หมายถึง มีความเหมาะสมในระดับ นอ้ ยมาก ซง่ึ ถอื เกณฑ์ในการแปลความหมายของค่าเฉลยี่ ดงั น้ี (ธานนิ ทร์ ศิลปะจาร.ุ 2555:112) 4.50 – 5.00 หมายความว่า มีความเหมาะสมในระดับ ดมี าก 3.50 – 4.49 หมายถงึ หมายความวา่ มคี วามเหมาะสมในระดับ ดี 2.50 – 3.49 หมายถึง หมายความวา่ มคี วามเหมาะสมในระดบั ปานกลาง 1.50 – 2.49 หมายถึง หมายความว่า มีความเหมาะสมในระดบั น้อย 1.00 – 1.49 หมายถึง หมายความวา่ มคี วามเหมาะสมในระดับ น้อยมาก ข้อท่ี รายการประเมิน คะแนนของผ้ปู ระเมิน ค่า การแปล คนท่ี 1 คนท่ี 2 คนที่ 3 เฉลย่ี ความหมาย 1 แผนการจัดการเรียนรู้สอดคล้องสัมพันธก์ ับหนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ กำหนดไว้ 2 แผนการจดั การเรยี นรูม้ ีองคป์ ระกอบสำคัญครบถ้วนสัมพันธ์กนั 3 การเขยี นสาระสำคญั ในแผนถกู ต้อง 4 จดุ ประสงค์การเรียนรูม้ ีความชดั เจนครอบคลุมเน้ือหาสาระ 5 กำหนดเน้อื หาสาระเหมาะสมกบั เวลา 6 กิจกรรมการเรียนรู้สอดคล้องกับจดุ ประสงค์และเน้ือหาสาระ 7 กจิ กรรมการเรยี นร้สู อดคล้องกับจุดประสงคแ์ ละระดับชั้นของ นกั เรียน 8 กจิ กรรมการเรียนร้มู คี วามหลากหลายและสามารถปฏิบัตไิ ด้จริง 9 กจิ กรรมการเรียนรเู้ ปน็ กิจกรรมท่ีส่งเสริมกระบวนการคิดของ นกั เรียน 10 กจิ กรรมการเรยี นรู้สอดคล้องแทรกคุณธรรมและคา่ นยิ มที่ดีงาม 11 กิจกรรมการเรียนรู้เนน้ ให้ผเู้ รยี นมีส่วนร่วมในชนั้ เรียน 12 วสั ดุอปุ กรณ์ สอ่ื นวตั กรรมและเทคโนโลยีมีความหลากหลาย 13 วัสดุอุปกรณ์ สอื่ และแหลง่ เรียนรู้เหมาะสมกบั เนือ้ หาสาระ 14 สง่ เสรมิ ให้ผู้เรยี นค้นควา้ หาความรู้ จากแหลง่ เรยี นร้ตู า่ ง ๆ 15 มกี ารวดั และประเมนิ ผลทสี่ อดคลอ้ งกับจุดประสงค์การเรยี นรู้

ข้อเสนอแนะ ดา้ นเนอื้ หาสาระ....................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ดา้ นกจิ กรรมการเรียนการสอน................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ด้านการวัดและประเมินผล....................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... สรุปผลการประเมิน  ผ่าน (มีความเหมาะสมตั้งแต่ระดับปานกลางขึ้นไป)  ผ่าน (ความเหมาะสมต่ำกวา่ ระดับปานกลาง) ลงชอ่ื .................................................. (...................................................) ประธานกรรมการ ลงชื่อ.................................................. ลงช่อื .................................................. (...................................................) (...................................................) กรรมการ กรรมการ