แผนงานทุนทา้ ทายไทยเพ่อื รองรบั สังคมสูงวยั 6 นวัตกรรม Smart Community สาหรับผู ้สูงอายุและคนพกิ าร KR 2.8.1 จานวนองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับสังคมสูงวัย รวมถึงโครงสร้าง ประชากร ระบบบริการ ระบบกาลังคน ระบบข้อมูล ระบบเทคโนโลยี ระบบการเงินการ คลงั และกฎหมาย กฎ ระเบยี บ ทเี่ กี่ยวข้องเปน็ ต้น (100 ชิน้ ) KR 2.8.3 รอ้ ยละขององค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรมและนโยบายที่ถูกนาไปใช้ขยายผลต่อยอดจาก โครงการต้นแบบ หรือโครงการขนาดเล็กอย่างครอบคลุมทุกบริบทของประเทศ สามารถ ยกระดับคุณภาพชวี ิตของประชากรทุกช่วงวยั ได้จรงิ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้สูงวัย ใหส้ ามารถ ดารงชวี ิตได้อยา่ งมีคณุ คา่ (ร้อยละ 60 เทียบกับองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมจากโครงการต้นแบบหรือ โครงการขนาดเลก็ ทั้งหมดใน 3 ปี คือ 2563-2565) KR 2.8.6 จานวนนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ชว่ ยเหลือการดารงชีวติ (Assisted living) หรือยกระดับ คณุ ภาพชวี ิตสาหรบั ผ้สู ูงอายุและคนพิการ (50 ช้นิ ) ผลผลิต เกิดนวัตกรรมชุมชน / Smart Community ที่เหมาะสมสาหรับผู้สูงอายุและคนพิการ เพื่อรองรับ ชมุ ชนผสู้ งู อายแุ ละคนพกิ ารในอนาคต กรอบการวิจยั และนวัตกรรม 1) การวิจัยและพัฒนาสภาพแวดล้อมภายในและภายนอก ทั้งด้านกายภาพ สุขภาพ และจิตภาพ ทส่ี ง่ ผลต่อผู้สงู อายุและคนพิการ ให้สามารถใช้ชวี ิตอยูร่ ว่ มกันได้กับคนทุกวัย 2) การวจิ ัยและพฒั นาเชงิ ระบบบริการเพื่อการเฝา้ ระวังและดูแลผ้สู ูงอายุและคนพิการ 3) การวิจัยและพัฒนาดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศของระบบบริการสุขภาพสาหรับผูส้ ูงอายุอย่างครบ วงจร เพื่อใหผ้ สู้ ูงอายสุ ามารถเขา้ ถึงระบบบรกิ ารสขุ ภาพได้เร็ว ปลอดภัย และปอ้ งกนั ไมใ่ ห้เกิดภาวะแทรกซ้อน 4) การวิจัยและพัฒนาชุมชนต้นแบบ 5G Smart Community โดยการใช้เทคโนโลยี 5G ในการ บริหารจัดการชมุ ชนสาหรับผสู้ ูงอายุและคนพกิ าร หมายเหตุ : 1. โจทย์การวิจัยต้องมาจากความต้องการของผู้ใช้งาน และผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรม โดย มีความเป็นไปได้ทางด้านเทคโนโลยี การผลิตและมาตรฐานคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ผู้สูงอายุและคนพิการ สามารถเขา้ ถึงได้ (ดา้ นราคาและคุณภาพ) และมีโอกาสขยายผลหรือสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณชิ ย์ได้ 2. แผนงานวิจัยท่จี ะดาเนินการควรอยูใ่ น Technology Readiness Level ระดบั Level 3-5 ขน้ึ ไป 3. แผนงานวจิ ยั ท่จี ะดาเนินการควรอยใู่ น Societal Readiness Level ระดับ Level 3-5 ขนึ้ ไป 4. หากแผนงานวิจัยมีผู้ประกอบการจากภาคเอกชนหรือหน่วยงานในระดับพ้ืนที่ ร่วมดาเนินการด้วย จะได้รับการพจิ ารณาเป็นพิเศษ กรอบการวจิ ัยและนวตั กรรม ประจาปี 2565 P8-7
โปรแกรม 9a แกไ้ ขปั ญหาทา้ ทายและยกระดบั การพฒั นาอยา่ งยัง่ ยืน ด้านสังคมและความมนั่ คงทกุ มติ ิ เป้ าหมาย (Objectives: O) O2.9a พัฒนาองคค์ วามรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพอื่ แกไ้ ขปญั หาท้าทายดา้ นสงั คม พร้อมท้ัง ยกระดับการพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน โดยเฉพาะอย่างย่ิงประเด็น ความขัดแย้ง ความ รุนแรง ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการภาครัฐ การแพทย์ สุขภาพและสาธารณสุข และความม่ันคงทุกมติ ิ ผลสมั ฤทธทิ์ ่สี าคัญ (Key Results: KRs) KR 2.9a.1 จานวนองค์ความรู้เชิงระบบ เทคโนโลยี และนวัตกรรมท่ีตอบโจทย์ชัดเจนในการแก้ไข ปัญหาหรือยกระดับการพฒั นาอย่างยง่ั ยนื ด้านสงั คม (100 ชนิ้ ) KR 2.9a.2 ร้อยละขององค์ความรู้เชิงระบบ เทคโนโลยี นวัตกรรมและนโยบายที่ถูกนาไปใช้ทาง ปฏบิ ตั ิ เพ่อื การแก้ไขปญั หา หรอื ยกระดบั การพฒั นาอย่างย่ังยนื ดา้ นสังคม (ร้อยละ 60 เทียบกับองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมที่ถูกสร้างทั้งหมดใน 3 ปี คือ 2563 - 2565) KR 2.9a.3 ร้อยละขององค์ความรู้เชิงระบบ เทคโนโลยี นวัตกรรมและนโยบายด้านสังคมที่นาไปใช้ ขยายผลต่อยอดจากโครงการต้นแบบหรือโครงการขนาดเล็ก ไปยังพ้ืนที่อ่ืน หรือ กลุ่มเปา้ หมายอื่น เพอื่ การแก้ไขปญั หา หรือยกระดับการพฒั นาอยา่ งยัง่ ยนื (ร้อยละ 60 เทียบกับองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมจากโครงการต้นแบบหรือ โครงการขนาดเลก็ ทั้งหมดใน 3 ปี คอื 2563 - 2565) KR 2.9a.4 จานวนนวัตกรรมทางสงั คมทส่ี ่งเสริมและสนับสนุนใหค้ นทกุ ชว่ งวัยใชช้ วี ติ รว่ มกนั ในสังคม อย่างสมานฉันทแ์ ละอยูร่ ่วมกนั บนความแตกต่างและหลายหลาย (10 ชน้ิ ) กรอบการวิจยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P9a-1
1แผนงานวิจัยด้านทุนทา้ ทายไทยเพ่อื สงั คมและความมัน่ คงของชี วิต การพฒั นาสุขภาพ สังคม ส่ิงแวดล้อม เพ่อื ลดความเหล่ือมล้า KR 2.9a.1 จานวนองค์ความรู้เชิงระบบ เทคโนโลยี และนวัตกรรมที่ตอบโจทย์ชัดเจนในการแก้ไข ปัญหาหรอื ยกระดบั การพัฒนาอยา่ งยงั่ ยืน (100 ชิน้ ) KR 2.9a.4 จานวนนวัตกรรมทางสงั คมทีส่ ง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ใหค้ นทกุ ชว่ งวยั ใชช้ ีวติ ร่วมกนั ในสงั คม อยา่ งสมานฉนั ท์ และอย่รู ว่ มกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย (10 ชิ้น) ผลผลติ 1) นโยบาย หรือแนวทางปฏิบัติในการแก้ไขปัญหาการจ้างงานในภาคการผลิต เพ่ือลดความเหล่ือมล้า ทางด้านเศรษฐกจิ ของประชาชนในประเทศ 2) องค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมท่ีสามารถลดความเหลื่อมล้าและยกระดับการพัฒนาสังคม อยา่ งยง่ั ยนื 3) นวัตกรรมทางสังคมท่ีสามารถนาไปสู่การปฏิบัติเพื่อสร้างมาตรการในการคุ้มครอง สิทธิมนุษยชน ของกลมุ่ เปราะบาง รวมถงึ เดก็ เยาวชน สตรี ผสู้ งู วยั คนพิการ ผูด้ อ้ ยโอกาส และเพศทางเลอื ก กรอบการวจิ ยั และนวัตกรรม 1) การวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้เชิงระบบ นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อสร้างความเข้มแข็ง เศรษฐกจิ และสังคมฐานรากแบบมสี ่วนรว่ ม 1.1 การลดความเหลื่อมล้าด้านรายได้ โดยให้ความสาคัญกับวิสาหกิจชุมชน เกษตรสมัยใหม่ รวมถงึ แรงงานภาคการเกษตรและแรงงานนอกระบบ 1.2 การลดการผูกขาดในระบบเศรษฐกจิ 1.3 การลดความเหลื่อมล้าทางเศรษฐกิจและสังคมในเชิงพื้นท่ีระดับอนุภาค เพื่อสร้างโอกาส อย่างเท่าเทยี มกนั ทุกกล่มุ เพื่อให้มีส่วนรว่ มในการเติบโตอย่างยั่งยนื 1.4 การวิจัยเพ่ือเพิ่มผลิตภาพแรงงานภาคเศรษฐกิจ รวมถึงการคุ้มครองแรงงานทุกช่วงวัยให้มี ความเสมอภาคและเป็นธรรม 2) การวิจัยนวัตกรรมระบบการคุ้มครองทางสังคมเพื่อลดช่องว่างระหว่างคน ทุกช่วงวัย โดยเฉพาะกลุ่มคนเปราะบางของสังคม ลดการเลือกปฏิบัติและใหท้ ุกกลุ่มเข้าถึงการใช้บริการของภาครัฐ อย่างเสมอภาคและทัดเทยี มกัน 2.1 การวิจัยพฤติกรรมของเด็ก และเยาวชนและกลุ่มเปราะบางเพื่อลดความเหล่ือมลา และ สนับสนุนสิทธิ เสรีภาพ รวมถึงการปลูกฝังจิตสานึกให้เด็กและเยาวชน มีพฤติกรรมท่ียึดมั่นในความซ่ือสัตย์ สจุ รติ (Integrity) 2.2 การวจิ ัยในการบังคบั ใช้กฎหมายในกระบวนการยุติธรรมเพ่ือลดการใช้อานาจที่ไม่เป็นธรรม และการเลอื กปฏบิ ัติ 2.3 การวิจยั บทบาทของธุรกิจกบั สิทธมิ นษุ ยชน ด้านเศรษฐกิจชุมชนเพ่ือลดความเหลื่อมลาทาง สังคมอย่างยงั่ ยืน กรอบการวิจัยและนวตั กรรม ประจาปี 2565 P9a-2
แผนงานวจิ ัยด้านทุนทา้ ทายไทยเพ่อื สังคมและความมนั่ คงของชี วติ 2 สังคมพลวัต KR 2.9a.4 จานวนนวตั กรรมทางสังคมทสี่ ่งเสริมและสนับสนนุ ให้คนทุกช่วงวัยใช้ชีวติ ร่วมกนั ในสงั คม อยา่ งสมานฉันท์ และอยรู่ ว่ มกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย (10 ชิน้ ) ผลผลิต 1) นวัตกรรมทางสังคม/แนวทางพฤติกรรมที่เกิดการเปลี่ยนแปลงของภาคส่วนต่างๆ ท่ีได้รับ ผลกระทบจากวิกฤติ COVID-19 2) องค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ตอบโจทย์ชัดเจนในการแก้ไขปัญหาหรือยกระดับการ พฒั นาสังคมอย่างยง่ั ยืน กรอบการวิจยั และนวัตกรรม 1) การวิจัย และนวัตกรรมที่ช่วยส่งเสริมให้เกิดการจ้างงานภายหลังสถานการณ์โควิด การฟ้ืนฟู และกระตุ้นเศรษฐกิจ เช่น การสร้างทักษะใหม่ท่ีจาเป็นในการทางาน (Reskill) และพัฒนาเพ่ือยกระดับ ทักษะเดิม (Upskill) ให้สอดคล้องกบั ความตอ้ งการของตลาดแรงงานเพื่อรองรบั การเติบโตในอนาคต 2) การดูแลสขุ ภาพและการปอ้ งกันการเจบ็ ป่วย (Proactive Healthcare Platform) 3) การฟ้ืนฟโู ครงสร้างเศรษฐกจิ เช่น ดา้ นการคลงั ทรัพยากรทนุ และแรงงาน เปน็ ต้น 4) การสร้างความเข้มแข็งแก่เศรษฐกิจฐานราก เช่น การสร้างงาน สร้างอาชีพและสนบั สนุนให้เกิด ความเข้มแข็งของธุรกิจภาคเกษตรและเกษตรกร รวมถึงแก้ไขปัญหาความยากจน ความเหลื่อมล้า และ ยกระดบั คณุ ภาพชีวิต การรกั ษาความสมดุล การพัฒนาระหวา่ งเศรษฐกจิ สงั คม ส่ิงแวดลอ้ ม และวฒั นธรรม กรอบการวิจยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P9a-3
แผนงานวิจัยดา้ นทนุ ทา้ ทายไทยเพ่ือสังคมและความมนั่ คงของชี วิต 3 การวิจัยเพ่ือพัฒนาและส่งเสริมนวัตกรรมทางกฎหมาย นิติวิทยาศาสตร์ และฐานข้อมูลท่ีเก่ียวข้องในกระบวนการ ยุติธรรม เพ่ือแก้ไขปั ญหาเร่งด่วนของการอานวยความ ยุติธรรม และการบรหิ ารงานยุตธิ รรม KR 2.9a.1 จานวนองค์ความรู้เชิงระบบ เทคโนโลยี และนวัตกรรมที่ตอบโจทย์ชัดเจนในการแก้ไข ปญั หาหรอื ยกระดับการพัฒนาอยา่ งยัง่ ยืนดา้ นสงั คม (100 ชิน้ ) ผลผลิต 1) แนวทางของการลดข้อจากัดและความยุ่งยากของข้อกฎหมายต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ี ทงั้ ในด้านของการแก้ไขผู้กระทาผิดรายเก่า การป้องกันผู้กระทาผิดรายใหม่ และการบาบัดฟื้นฟูพฤตินิสัยไม่ให้ หวนกลับมากระทาผิดซา้ 2) เกิดการค้นพบนวัตกรรม การตรวจวิเคราะห์สารเสพติด รวมถึงกระบวนการจัดการและวิเคราะห์ วัตถุพยานทางนิตวิ ทิ ยาศาสตร์ท่มี มี าตรฐาน 3) การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์สาหรับการวิเคราะห์ข้อมูลอาชญากรรมและการพยากรณ์แนวโน้ม ของการกระทาผดิ โดยอาศยั ฐานขอ้ มลู ทางคดแี ละสารสนเทศภมู ศิ าสตร์เปน็ เคร่ืองมือสาคญั 4) การพัฒนาระบบภาคีเครือข่ายอาชีพจากภาคส่วนต่างๆ เพ่ือส่งเสริมกระบวนการคืนคนดีสู่สังคม และลดโอกาสการกระทาผิดซ้า ตลอดจนการสร้างเครือข่ายโดยใช้เทคโนโลยีเป็นตัวเช่ือมโยงเพื่อการป้องกัน การกระทาผิดและการตกเป็นเหย่อื อาชญากรรมที่สอดคล้องกบั สงั คมในยุคดจิ ิทลั กรอบการวจิ ัยและนวัตกรรม การวิจัยเพ่ือพัฒนานวัตกรรมในกระบวนการยุติธรรม เพื่อแก้ไขปัญหาเร่งด่วนของการอานวย ความยุติธรรม และการบรหิ ารงานยตุ ธิ รรม 1) นวัตกรรมทางกฎหมาย 1.1 การพฒั นากฎหมายทีเ่ กยี่ วขอ้ งกบั การสอบสวนคดปี ระเภทตา่ งๆ 1.2 มาตรการทางกฎหมายท่ีเกยี่ วกับการปอ้ งกนั การกระทาผิดซา้ 1.3 แนวทางในการบรู ณาการการทางานรว่ มกนั ของหน่วยงานในกระบวนการยุตธิ รรม 1.4 รปู แบบและมาตรฐานในการสอบสวนผู้ทาผิดท่ีมีลกั ษณะพิเศษ เช่น เด็กและเยาวชน เพ่ือความ ถูกต้อง รวดเรว็ และเปน็ ธรรม 1.5 การศกึ ษาผลสัมฤทธ์ิของกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉนั ท์ 2) นวัตกรรมทางนิติวิทยาศาสตร์ 2.1 การพัฒนากระบวนการจัดการและวเิ คราะห์วตั ถุพยานทางนติ วิ ทิ ยาศาสตร์ในคดีตา่ งๆ 2.2 การพฒั นาระบบป้องกันการเสพติดซา้ ของเด็กและเยาวชน 2.3 การพฒั นานวตั กรรมการตรวจวเิ คราะหส์ ารเสพตดิ เพ่ือเฝา้ ระวังการเสพยา 2.4 การวิจยั และพฒั นารปู แบบหอ้ งสอบสวนเด็กและเยาวชนทเี่ หมาะสมในประเทศไทย กรอบการวจิ ยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P9a-4
กรอบการวิจยั และนวัตกรรม 3) นวตั กรรมดา้ นฐานขอ้ มูล 3.1 การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์สาหรับวิเคราะห์อาชญากรรมที่เก่ียวข้องกับการกระทา ความผิด 3.2 การพัฒนาเทคโนโลยรี ะบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์เพือ่ การปอ้ งกนั การกระทาความผดิ 3.3 การพัฒนาระบบภาคเี ครือข่าย เพ่อื สง่ เสรมิ ใหเ้ กิดการปอ้ งกันการกระทาความผดิ กรอบการวจิ ยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P9a-5
แผนงานวจิ ัยด้านทุนท้าทายไทยเพ่อื สังคมและความมนั่ คงของชี วติ 4 โครงการวจิ ัยเพ่อื แกไ้ ขปั ญหา การกระทาผิดซ้ า KR 2.9a.1 จานวนองค์ความรู้เชิงระบบ เทคโนโลยี และนวัตกรรมท่ีตอบโจทย์ชัดเจนในการแก้ไข ปัญหาหรือยกระดบั การพฒั นาอยา่ งยั่งยนื ด้านสังคม (100 ชิ้น) ผลผลิต 1) องค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมท่ีนาไปสู่การปรับปรุงวิธีการปฏบิ ัติงานทล่ี ดอุปสรรคในการ เขา้ ถึงความยุตธิ รรมของประชาชน 2) แนวทางการเพ่ิมผลสัมฤทธ์ิและมาตรฐานของโครงสร้าง ระบบงาน และบุคลากรขององค์กร ในกระบวนการยุติธรรม เพื่ออานวยความยุติธรรมแก่ประชาชนได้อย่างทั่วถึง เข้าถึง สะดวก รวดเร็ว และ มีประสทิ ธภิ าพทีส่ อดคลอ้ งตามหลักสากล 3) กฎหมายท่ีมกี ารประเมินผลกระทบและไดรับการปรับปรุงแกไข ทมี่ ีความสอดคลอ้ งและเหมาะสม กบั ความเปลย่ี นแปลงของระบบเศรษฐกิจ สงั คม การเมือง และเทคโนโลยี ตลอดจนพันธกรณแี ละความรว่ มมือ ระหวา่ งประเทศทปี่ ระเทศไทยเข้าร่วมเป็นภาคี 4) หน่วยงานมีระบบฐานข้อมูลและนวัตกรรมที่ช่วยบูรณาการข้อมูลระหว่างหน่วยงานและเพิ่ม ประสทิ ธิภาพของกระบวนการยุตธิ รรม กรอบการวจิ ยั และนวตั กรรม 1) การวิจัยเพ่ือลดความเหลือ่ มล้าและเพม่ิ โอกาสในการเข้าถึงความยตุ ธิ รรม 2) การวิจยั เพื่อสนับสนนุ การมีสว่ นรว่ มของประชาชนในกระบวนการยุตธิ รรม 3) การวิจัยเพ่ือประเมินผลกระทบของกฎหมาย และความสอดคลองของกฎหมายกับสภาพการณ์ ปจั จุบัน 4) การวจิ ยั เพ่อื พัฒนาระบบข้อมูลและนวตั กรรมของกระบวนการยุตธิ รรม 5) การพัฒนาระบบบริหารและการจัดการงานวจิ ัยเพอื่ พัฒนากระบวนการยตุ ิธรรม กรอบการวิจัยและนวตั กรรม ประจาปี 2565 P9a-6
แผนงานวิจัยด้านทุนท้าทายไทยเพ่ือสงั คมและความมนั่ คงของชี วิต 5 ประเทศไทยในอนาคต KR 2.9a.1 จานวนองค์ความรู้เชิงระบบ เทคโนโลยี และนวัตกรรมที่ตอบโจทย์ชัดเจนในการแก้ไข ปญั หาหรือยกระดับการพัฒนาอย่างยัง่ ยนื ด้านสังคม (100 ช้ิน) ผลผลติ ข้อเสนอ/แนวทาง/มาตรการจากผลงานวจิ ยั และนวัตกรรม 5 มาตรการ/ข้อเสนอ กรอบการวิจยั และนวัตกรรม การศึกษาภาพ (อนาคต) ของประเทศไทยในอนาคตในระยะเวลารวม 20 ปี โดยแบ่งช่วงการศึกษา ออกเป็น 4 ระยะเวลา คือ 5, 10, 15 และ 20 ปี สาหรับประเด็นสาคัญ ได้แก่ ประชากรและโครงสร้างสังคม, สงั คม ชนบท ท้องถิ่น, การศึกษา, โครงสร้างพ้ืนฐาน สิ่งแวดล้อมและพลังงาน, เศรษฐกจิ ผู้ประกอบการและ อตุ สาหกรรม, เศรษฐกิจไทย เศรษฐกิจโลก เกษตรกรรมและการบรกิ าร, วฒั นธรรมและภาษาไทย (อัตลักษณ์ ความเป็นไทย), การเมือง, บริบทโลก ปัจจัยคุกคามและความม่ันคงของประเทศ โดยให้คลอบคลุมใน ระดับประเทศและระดับนานาชาติ รวมถึงการศึกษาจากปัจจัยที่จะมีผลกระทบ อันเนื่องมาจากบริบทโลกต่าง ๆ โดยมีภาพอนาคตที่วางอยู บนรูปแบบพ้ืนฐานความเป็น จริงของข้อมูลปัจจุบันที่มีแนวโน้มท่ีจะเกิดข้ึน (Plausible and most-likely scenario) กรอบการวจิ ัยและนวตั กรรม ประจาปี 2565 P9a-7
แผนงานวจิ ัยด้านยุทธศาสตร์เป้ าหมาย (Spearhead): การพฒั นาระบบ บรกิ ารเพ่ือการดแู ลสุขภาวะดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสุขอย่างครบวงจร KR 2.9a.1 จานวนองค์ความรู้เชิงระบบ เทคโนโลยี และนวัตกรรมท่ีตอบโจทย์ชัดเจนในการแก้ไข ปญั หาหรอื ยกระดับการพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื ด้านสังคม (100 ช้ิน) KR 2.9a.2 ร้อยละขององค์ความรู้เชิงระบบ เทคโนโลยี นวัตกรรมและนโยบายที่ถูกนาไปใช้ทาง ปฏิบตั ิ เพอื่ การแกไ้ ขปญั หา หรือยกระดบั การพฒั นาอย่างย่งั ยืนดา้ นสงั คม (ร้อยละ 60 เทียบกบั องค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมท่ีถูกสร้างท้ังหมดใน 3 ปี คือ 2563 - 2565) ผลผลติ 1) องคค์ วามรดู้ ้านระบบการจัดการข้อมูลสารสนเทศและการใช้ประโยชน์ 2) องคค์ วามรเู้ ร่อื งมาตรฐานระบบบรกิ ารการแพทย์ฉุกเฉิน 3) องค์ความรู้เร่อื งระบบการดแู ลตอ่ เน่ืองหลังการดูแลฉุกเฉนิ 4) องค์ความรู้เรื่องระบบการป้องกันและเพ่ิมความตระหนักสู่สาธารณะ (Public awareness) ใน ประชาชนและกลมุ่ เสี่ยง 5) โมเดลตน้ แบบในการบริหารจัดการระบบการเฝา้ ระวังและดแู ลผู้ป่วยฉุกเฉนิ แบบ Smart system ไปหนว่ ยบริการอ่นื 6) ระบบการเฝ้าระวงั และรองรับสถานการณ์อบุ ตั ภิ ัย โรคติดเช้ืออุบตั ภิ ยั อบุ ัตซิ ้า 7) นวัตกรรมเพื่อการดูแล ปอ้ งกนั และรกั ษาโรค กรอบการวิจยั และนวัตกรรม การวจิ ยั และพัฒนาเพือ่ เพม่ิ ประสทิ ธิภาพระบบบรกิ ารดูแลผ้ปู ่วยฉุกเฉินท่ีครบวงจร นาไปสู่การลด อัตราการตายของผู้ป่วยฉุกเฉิน ลดอัตราความพิการ (Disability) ของผู้ป่วยหลังการดูแลภาวะฉุกเฉินและ ภาวะแทรกซอ้ น โดยมีกรอบการวิจยั ดงั นี้ 1) การวิจัยและพัฒนาระบบการจัดการข้อมลู สารสนเทศและการใช้ประโยชน์ 2) การวิจัยและพัฒนาคุณภาพมาตรฐานระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน (Emergency care service: ECS) 3) การวิจยั และพฒั นาระบบการดแู ลตอ่ เนื่องหลังการดูแลฉุกเฉิน 4) การวจิ ัยและพัฒนาระบบการปอ้ งกันและเพิ่มความตระหนักสู่สาธารณะ (Public awareness) ในประชาชนและกลมุ่ เส่ยี ง 5) การพัฒนานวัตกรรมและงานวิจัยเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินท่ีครบ วงจร 6) การวจิ ยั และพัฒนาสมุนไพรเพือ่ เป็นทางเลือกในการป้องกัน และรกั ษาโรคแบบครบวงจร กรอบการวจิ ยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P9a-8
แผนงานวิจัยดา้ นการพัฒนาความมนั่ คงของเศรษฐกิจชุมชน KR2.9a.1 จานวนองค์ความรู้เชิงระบบ เทคโนโลยี และนวัตกรรมท่ีตอบโจทย์ชัดเจนในการแก้ไข ปญั หาหรอื ยกระดับการพฒั นาอยา่ งยั่งยืนดา้ นสงั คม (100 ชิน้ ) KR2.9a.2 ร้อยละขององค์ความรู้เชิงระบบ เทคโนโลยี นวัตกรรมและนโยบายที่ถูกนาไปใช้ทาง ปฏิบตั ิ เพอื่ การแกไ้ ขปัญหา หรอื ยกระดับการพัฒนาอย่างยงั่ ยนื ด้านสังคม (รอ้ ยละ 60 เทยี บกับองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมทถี่ ูกสรา้ งทั้งหมดใน 3 ปี คือ 2563 - 2565) KR2.9a.3 ร้อยละขององค์ความรู้เชิงระบบ เทคโนโลยี นวัตกรรมและนโยบายด้านสังคมท่ีนาไปใช้ ขยายผลต่อยอดจากโครงการต้นแบบหรือโครงการขนาดเล็ก ไปยังพื้นท่ีอ่ืน หรือ กลุ่มเปา้ หมายอน่ื เพือ่ การแกไ้ ขปัญหา หรือยกระดับการพฒั นาอย่างย่งั ยืน (ร้อยละ 60 เทียบกับองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมจากโครงการต้นแบบหรือ โครงการขนาดเล็กท้งั หมดใน 3 ปี คอื 2563 - 2565) ผลผลติ 1) องค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมที่ตอบโจทย์ชัดเจนในการยกระดับการพัฒนาความมั่นคง ของเศรษฐกจิ ชุมชนอย่างเป็นระบบ 2) องค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรมและนโยบายท่ีถูกนาไปใช้ในทางปฏิบัติ เพื่อการยกระดับการ พัฒนาความม่นั คงของเศรษฐกจิ ชมุ ชนอยา่ งเป็นระบบ 3) องค์ความรู้ เทคโนโลยี นวตั กรรมและนโยบายท่นี าไปใชข้ ยายผลต่อยอดจากโครงการตน้ แบบหรือ โครงการขนาดเล็ก ไปยงั พื้นท่ีอื่น หรอื กลุ่มเปา้ หมายอ่นื ในวงกว้าง เพือ่ การยกระดบั การพฒั นาความม่ันคงของ เศรษฐกจิ ชมุ ชนอย่างเป็นระบบ 4) นักวิจัยเศรษฐกิจชุมชนทั้งผู้เป็นสมาชิกชุมชนและบุคคลจากภายนอกชุมชน ท่ีมีความสามารถ/ ทักษะในการพัฒนาและประยุกต์ใช้องค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรมและนโยบายเพ่ือยกระดับเศรษฐกิจของ ชุมชนอยา่ งเปน็ ระบบ 5) ชุมชนเป้าหมายท่ีสามารถยกระดับการพัฒนาความม่ันคงของเศรษฐกิจชุมชนโดยใช้องค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรมและนโยบายอยา่ งเปน็ ระบบ 6) กลุ่มประชากรรายได้ต่าสุดรอ้ ยละ 40 ในชุมชนเป้าหมาย มีรายได้เพ่ิมข้ึนหรือรายจ่ายลดลง และ มีความสามารถในการจดั การหน้สี ินอย่างเปน็ ระบบ กรอบการวิจยั และนวัตกรรม 1) การวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรมและนโยบาย รวมท้ังศักยภาพและกลไก ของชุมชน/ท้องถิ่น สาหรับนาไปใช้ในทางปฏิบัติรวมท้ังขยายผลเพื่อการยกระดับการพัฒนาความม่ันคงของ เศรษฐกิจชุมชน โดยใชก้ ระบวนการวจิ ยั แบบเสริมพลังชุมชน (community empowerment) 2) การวิจัยและพัฒนาเพื่อลดความเหลื่อมล้า โดยมุ่งเน้นการยกระดับความม่ันคงทางเศรษฐกิจ ของผู้มีรายได้น้อย รวมถึง การพัฒนาทักษะและศักยภาพผู้มีรายได้น้อย สู่การเป็นผู้ประกอบการธุรกิจ และ สร้างโอกาสเขา้ ถงึ ตลาด กรอบการวจิ ัยและนวตั กรรม ประจาปี 2565 P9a-9
กรอบการวจิ ัยและนวตั กรรม 3) การวิจัยและพัฒนาศักยภาพในการบริหารจัดการหน้ีสินอย่างยั่งยืน โดยการสร้างภูมิคุ้มกัน ทางการเงินให้กับประชากรท่ีมีรายได้น้อย เช่น ผ่านการส่งเสริมการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและส่งเสริมความรู้และวินัยทางการเงิน การจัดทาบัญชีครัวเรือน นาไปสู่การออมเพ่ือเป็นทุนและ หลักประกันในการลงทนุ 4) การวิจัยและพัฒนากลไกและโครงสร้างดดู ซับมลู ค่าทางเศรษฐกิจและการกระจายรายได้กลับ สชู่ ุมชน เพือ่ สร้างการเตบิ โตและการหมนุ เวยี นของเศรษฐกจิ ชมุ ชน 5) การวิจยั และพฒั นาการใชน้ วตั กรรมทางการเงนิ เพื่อสนับสนนุ แหล่งทนุ ให้กับเศรษฐกจิ ชมุ ชน 6) การวิจัยและพัฒนาเพ่ือยกระดับความมั่นคงของเศรษฐกิจชุมชน ทั้งในด้านความสามารถใน การแข่งขัน และการพึ่งพาตนเอง รวมถึงการใช้ที่ดิน แหล่งน้า ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรเหลือใช้ และภูมิ ปัญญาทอ้ งถ่ิน ในการเพม่ิ มูลค่า เช่น การเกษตรสร้างมลู ค่า เกษตรแปรรปู เกษตรอัตลักษณ์พื้นถ่ิน การท่องเทยี่ ว และผลติ ภัณฑท์ อ้ งถิ่น/ชุมชน กรอบการวิจัยและนวตั กรรม ประจาปี 2565 P9a-10
แผนงานจัดการความรู้การวิจัยและถ่ายทอดเพ่ือการใช้ ประโยชน์ KR 2.9a.3 ร้อยละขององค์ความรู้เชิงระบบ เทคโนโลยี นวัตกรรมและนโยบายด้านสังคมท่ีนาไปใช้ ขยายผลต่อยอดจากโครงการต้นแบบหรือโครงการขนาดเล็ก ไปยังพ้ืนท่ีอื่น หรือ กลมุ่ เปา้ หมายอ่นื เพ่ือการแกไ้ ขปัญหา หรือยกระดบั การพัฒนาอย่างยง่ั ยืน (ร้อยละ 60 เทียบกับองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมจากโครงการต้นแบบหรือ โครงการขนาดเล็กท้ังหมดใน 3 ปี คือ 2563 - 2565) ผลผลติ องค์ความรู้จากผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่ผ่านการจัดการความรู้และถ่ายทอดสู่ผู้ใช้ประโยชน์ โดยความรว่ มมือกบั หน่วยงานทเ่ี ก่ยี วข้องเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของผ้รู ับประโยชน์ ไม่น้อยกว่า 50 องคค์ วามรู้ มีผู้รับประโยชน์จากองค์ความรู้การวิจัยและนวัตกรรม ไม่น้อยกว่า 10.000 คน กรอบการส่งเสริมและสนบั สนุนการวิจยั (การจดั การความรู้การวิจัยและถา่ ยทอดเพ่อื การ ใช้ ประโยชน)์ 1) การจัดการความรู้การวิจยั และถ่ายทอดเพื่อการใช้ประโยชนเ์ ชงิ นโยบายสาธารณะ 1.1 ด้านการพัฒนาและจัดการพลังงานทดแทน ครอบคลุมการจัดการความรู้การวิจัยและ นวัตกรรมเพอ่ื การขับเคล่ือนใหเ้ กดิ นโยบายสาธารณะทางด้านพลังงานทดแทน ทั้งในระดับชุมชน ระดับพ้ืนท่ี ระดับภูมิภาค และระดับประเทศ รวมถึงการส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนจากวัสดุทางธรรมชาติและ พลงั งานทางเลอื ก การพัฒนาส่งเสริมเทคโนโลยพี ลงั งานทดแทน เชน่ เชื้อเพลิงชวี ภาพ วัสดุเหลอื ใช้ พลงั งาน แสงอาทติ ย์ พลงั งานไฟฟ้า พลังงานน้า พลงั งานชวี มวล ฯลฯ 1.2 ด้านการพัฒนาฟ้ืนฟูและรักษาส่ิงแวดล้อม ครอบคลุมการจัดการความรู้การวิจัยและ นวัตกรรมเพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรดิน การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง และการ พัฒนาและฟ้ืนฟูสภาพส่ิงแวดล้อม 1.3 ด้านการพัฒนาระบบโลจิสติกส์และโซอ่ ปุ ทาน ครอบคลุมการจัดการความรู้การวิจยั และ นวัตกรรม เพ่ือการยกระดับมาตรฐานและกระบวนการบริหารจัดการโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทาน ในภาคอุตสาหกรรม ภาคการเกษตร และภาคบริการ การยกระดับประสิทธิภาพการจัดการโลจิสติกส์เพื่อ สร้างโซ่คุณค่าและมูลค่าเพ่ิมในสินค้าเกษตรท่ีสาคัญ เช่น สินค้าอาหารทะเลแช่แข็งและแปรรูป และธุรกิจ บริการให้มีมูลค่าสูง การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ที่มีความสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาเมืองหลักและ เมืองรองอย่างบูรณาการ เช่น การจัดการด้านการจราจรและการขนส่ง การใช้ยานยนต์สมัยใหม่ในระบบ ขนสง่ ในเขตเมือง ระบบการจราจรอัจฉริยะ เปน็ ตน้ 2) การจัดการความรู้การวจิ ัยและถ่ายทอดเพ่อื การใช้ประโยชนเ์ ชิงความม่ันคง 2.1 ด้านระบบการป้องกันประเทศและความมั่นคง รวมถึงระบบความปลอดภัยในสังคม ครอบคลุมการจัดการความรู้การวจิ ัยและนวตั กรรมที่เกี่ยวกับการพัฒนาวัสดุ อุปกรณ์ เทคโนโลยีสารสนเทศ ยุทโธปกรณ์ด้านความมน่ั คง ระบบบริหารจัดการภยั พิบตั ิ ตลอดจนภัยคุกคามในรูปแบบต่างๆ และนวตั กรรม ดา้ นความมั่นคง สถานการณว์ กิ ฤต ภาวะสงคราม และระบบความปลอดภัยในสงั คม 2.2 ดา้ นกฎหมายและกระบวนการยตุ ธิ รรม 2.2.1 การจัดการความรู้การวิจัยและนวัตกรรมด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม เพ่ือลดความเหลื่อมล้าและสร้างความความเช่ือม่นั ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมในแต่ละ ข้ันตอนได้อย่างเสมอภาคและเท่าเทียมตามหลักธรรมาภิบาล รวมถึงมาตรการคุ้มครองเจ้าหน้าท่ีของรัฐใน การปฏิบัติหน้าท่ี การสร้างการรับรู้ดา้ นกฎหมายและกระบวนการยตุ ิธรรม อนั จะนามาซ่ึงวัฒนธรรมแห่งการ เคารพกฎหมาย (Culture of Lawfulness) และการป้องกันอาชญากรรมและลดการกระทาผิดซา้ กรอบการวิจยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P9a-11
กรอบการส่งเสริมและสนบั สนนุ การวิจยั (การจัดการความรู้การวจิ ัยและถา่ ยทอดเพ่ือการ ใช้ ประโยชน)์ 2.2.2 การจดั การความรู้การวจิ ยั และนวัตกรรม เพื่อการพฒั นากฎหมายและกระบวนการ ยุติธรรมผ่านการจัดทากฎหมายให้มีความทันสมัยสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศ การประเมิน ผลสัมฤทธิ์การบังคับใช้กฎหมายผ่านเคร่ืองมือหรือตัวช้ีวัด (Law Enforcement Indicators) ท่ีได้รับการ ยอมรับในระดับสากล รวมไปถึงการยกเลิกกฎหมาย หรือทบทวนกฎหมายที่ไม่มีความจาเป็น (Regulatory Guillotine) เพ่ือลดข้ันตอนที่ไม่จาเป็นหรือเป็นอุปสรรคต่อการประกอบอาชีพและการดาเนินธุรกิจของ ประชาชน 3) การจดั การความรูก้ ารวจิ ัยและถา่ ยทอดเพอ่ื การใชป้ ระโยชนเ์ ชิงชุมชน สงั คม 3.1 ด้านการพัฒนาผลผลติ ทางการเกษตร การแปรรปู อาหารและการตลาด ครอบคลมุ การ จัดการความรู้การวิจัยและนวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับการผลิตทางการเกษตรเพื่อเพ่ิมมูลค่าทางการตลาดของ ผลผลติ การเกบ็ รกั ษา และการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร และการผลิตอาหารแห่งอนาคตให้มีมาตรฐาน เปน็ ที่ยอมรับ เพื่อนาไปสู่การผลติ ในเชงิ พาณิชย์ 3.2 ด้านการส่งเสริมนวัตกรรมของชุมชนและท้องถ่ิน โดยการจัดการความรูจ้ ากผลงานวิจัย และนวัตกรรมเพื่อส่งเสริมนวัตกรรมของชุมชนและท้องถ่ินทางด้านสังคม ศิลปวัฒนธรรม สถาปัตยกรรม การพัฒนาผลิตภัณฑ์ ผลติ ภัณฑ์สขุ ภาพ ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ สมุนไพร สปา สินค้าบริการ การคิดสร้างสรรค์ ด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ เสื้อผ้า เคร่ืองประดับ และเครื่องใช้สอยต่างๆ รวมถึงรูปแบบการท่องเที่ยวใน ยุค New Normal การส่งเสริมทางด้านนวัตกรรมดิจิตอล ด้านวัสดุ อุปกรณ์ เทคโนโลยีสารสนเทศ การ ส่งเสริมคุณภาพด้านสุขภาพอนามัย การจัดระบบสวัสดิการผู้สูงอายุ และระบบบริหารจัดการภัยพิบัติที่ เสริมสรา้ งความเข้มแข็งใหแ้ ก่ชุมชนและทอ้ งถน่ิ 4) การจัดการความรู้การวิจัยและถ่ายทอดเพื่อการใช้ประโยชน์ในการพัฒนาชุมชนพ่ึงตนเอง ตามแนวทางพระราชดาริ 4.1 การส่งเสริมชมุ ชนพึ่งตนเองด้วยการพัฒนาการเกษตรกรรมตามปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง ครอบคลุมการจัดการความรกู้ ารวิจัยและนวัตกรรมท่ีเชอ่ื มโยงหลักการพัฒนาตามแนวพระราชดาริ หรือ พระบรมราโชบาย นาสู่การใช้ประโยชน์ในงานด้านเกษตรกรรม กสิกรรม ปศุสัตว์ หรือ กิจการอ่ืนๆ ท่ีก่อให้เกิดชุมชนพ่ึงตนเองได้ต้ังแต่ระดับหมู่บ้าน ตาบล ท้องถิ่น จังหวัด หรือ เครือข่ายชุมชนพึ่งตนเองที่ เข้มแข็ง มีกลไกพัฒนาแบบครบวงจรต่อเน่อื งและย่ังยืน 4.2 การส่งเสริมชุมชนพึ่งตนเองด้วยการสร้างอาชีพนอกภาคการเกษตร ครอบคลุมการ จัดการความรู้การวิจัยและนวัตกรรมที่เชื่อมโยงหลักการพัฒนาตามแนวพระราชดาริ รวมถึงพระบรม ราโชบายที่นาสู่การใช้ประโยชน์ในงานสร้างอาชีพนอกภาคการเกษตร เพ่ือให้ชุมชนพึ่งตนเองได้ ด้วยการ สรา้ งงาน สรา้ งอาชพี สรา้ งรายได้ 4.3 การส่งเสริมชุมชนพ่ึงตนเองด้วยการพัฒนาศักยภาพแหล่งนา ครอบคลุมการจัดการ ความรูก้ ารวจิ ัยและนวตั กรรมที่เชือ่ มโยงหลักการพฒั นาตามแนวพระราชดาริ และพระบรมราโชบาย ท่ี นาไปสู่การพ่งึ ตนเอง ในการใช้ประโยชน์จากแหล่งน้าเพื่อการอุปโภค บริโภค และการฟื้นฟูแหล่งกักเก็บน้า หมนุ เวียนชมุ ชนเพอ่ื การเกษตรในฤดูแล้ง รวมถึงการจัดการแหล่งน้าเพื่อการป้องกนั อุทกภัย หมายเหตุ : การจัดการความรู้การวิจัย มิใช่เป็นการวิจัยใหม่ หรือการวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ (Basic research) หรือการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental research) โดยมแี นวทางหลกั ในการดาเนนิ งาน ดังนี้ กรอบการวจิ ยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P9a-12
1. การจดั การความรู้การวิจัยและถ่ายทอดเพ่ือการใชป้ ระโยชนท์ ้ัง 4 มิตกิ ารใช้ประโยชน์ ทใ่ี ห้การ สนับสนุนเป็นการบริหาร/จัดการความรู้จากผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่เสร็จสมบูรณ์แล้ว และมีชุดข้อมูลองค์ ความรู้ที่พร้อมขยายผลไปสู่การใช้ประโยชน์ในมิติต่างๆ โดยมีกระบวนการนาส่งองค์ความรู้ท่ีสาธารณชน หรือ กลุ่มเป้าหมายสามารถเข้าใจ เข้าถึง และใช้ประโยชน์ได้อย่างเป็นรูปธรรมตามบริบทความต้องการของพ้ืนท่ี ระดบั ตา่ งๆ 2. ข้อเสนอกิจกรรม ต้องแสดงให้เห็นถึงวิธีการดาเนินกิจกรรมที่ชัดเจน เป็นขั้นเป็นตอน มีกระบวนการนาส่งองค์ความรู้ที่ครบถ้วน นาสู่การสร้างผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบที่นาสู่การใช้ประโยชน์ ในมิติน้ันๆ และกลุ่มเป้าหมายได้ใช้ประโยชน์จากองค์ความรู้การวิจัย ในการนาสู่การพัฒนาประเทศด้วย ฐานความรดู้ า้ นการวิจยั และนวตั กรรม 3. ข้อเสนอกิจกรรม ต้องแสดงให้เห็นถึงความร่วมมือกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ หน่วยงาน ภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน และ NGO ในการดาเนินงานจดั การความรแู้ ละถา่ ยทอดขยายผลในพ้ืนทเี่ ปา้ หมายใน ลกั ษณะเครือข่าย (cluster) เพ่ือสรา้ งความยง่ั ยืนในการใช้ประโยชน์องค์ความรู้การวจิ ัยและนวัตกรรม กรอบการวจิ ยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P9a-13
โปรแกรม 9b ส่งเสริมการวจิ ัยด้านสงั คมและมนุษยอ์ ยา่ งรอบดา้ น เป้ าหมาย (Objectives: O) O2.9b สง่ เสรมิ การวิจัยดา้ นสังคมและมนุษย์อย่างรอบด้านเพ่ือแกไ้ ขปัญหาท้าทายและยกระดับ การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน ผลสัมฤทธิท์ ่สี าคญั (Key Results: KRs) KR 2.9b.1 ร้อยละขององค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมด้านสังคมและมนุษย์ ที่ถูกนาไปใช้ในทาง ปฏิบัติ เพ่ือการแก้ไขปัญหาหรือยกระดับการพัฒนาอย่างย่ังยืน เพื่อตอบโจทย์ท้าทายของ สังคม (ร้อยละ 30 เทียบกับองค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ถูกสร้างทั้งหมดใน 3 ปี คอื 2563-2565) KR 2.9b.2 ร้อยละขององค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมด้านสังคมและมนุษย์ที่นาไปใช้ขยายผล ต่อยอดจากโครงการต้นแบบหรือโครงการขนาดเล็ก ไปยังพื้นที่อ่ืน หรือกลุ่มเป้าหมายอ่ืน เพื่อการแก้ไขปัญหา หรือยกระดับการพัฒนาอย่างยั่งยืน หรอื สามารถสร้างคุณคา่ /มูลค่าเพ่ิม ให้กับประเทศ (ร้อยละ 60 เทียบกับองค์ความรู เทคโนโลยี และนวัตกรรมจากโครงการ ตน้ แบบหรือโครงการขนาดเล็กทั้งหมดใน 3 ปี คอื 2563-2565) กรอบการวจิ ยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P9b-1
แผนงานวิจัยด้านการส่งเสรมิ การวจิ ัยทางสงั คมศาสตร์ มนษุ ย์ศาสตร์ สรรพศาสตร์ และศิลปะสร้างสรรค์ KR 2.9b.1 ร้อยละขององค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมด้านสังคมและมนุษย์ ที่ถูกนาไปใช้ในทาง ปฏิบัติ เพื่อการแก้ไขปัญหาหรือยกระดับการพัฒนาอย่างยั่งยืน เพื่อตอบโจทย์ท้าทายของ สังคม (ร้อยละ 30 เทียบกับองค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ถูกสร้างท้ังหมดใน 3 ปี คอื 2563-2565) ผลผลติ 1) องค์ความร้ทู างด้านมนุษยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ สรรพศาสตร์ และศิลปะสรา้ งสรรค์ ทถี่ กู นาไปใช้ ในทางปฏิบัติ เพื่อการแก้ไขปัญหา หรอื ยกระดบั การพัฒนาอยา่ งยงั่ ยืน เพ่ือตอบโจทย์ทา้ ทายของสงั คม 2) การพฒั นานักวิจัยทางดา้ นมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ สรรพศาสตร์ และศิลปะสรา้ งสรรค์ กรอบการส่งเสริมและสนับสนนุ การวจิ ัย ส่งเสริมการวิจัยท่ีนาไปสู่การสร้างกลไกเพ่ือปรับเปลี่ยนประเทศไทยไปสู่ประเทศท่ีขับเคลื่อนด้วย นวตั กรรมอย่างมีประสิทธิภาพ โดยอาศยั องค์ความร้ดู ้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ สรรพศาสตร์ และศิลปะ สร้างสรรค์ โดยมุ่งหวังให้การวิจัยในประเด็นดังกล่าวสามารถสร้างแนวทางในการสร้างจิตสานึกความเป็น พลเมืองและพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืนของคนไทย เพื่อให้คนในชาติได้ตระหนักถึงความสามัคคี รักใคร่ กลมเกลียวกัน และอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข รวมทั้งสร้างและส่งเสริมให้เกิดการนาคุณธรรมและจริยธรรม มาปรับใช้ในชีวิตประจาวัน รวมไปถึงการสร้างและส่งเสริมให้เกิดคุณภาพและมาตรฐานการวิจัยด้านการ สร้างสรรค์งานศิลปกรรมในทุกแขนง เพ่ือต่อยอดเข้าสู่ การนาทุนทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยมาใช้ใน การพัฒนาศักยภาพการแข่งขันของประเทศบนฐานวัฒนธรรม ด้วยการส่งเสริมอุตสาหกรรมวัฒนธรรม สรา้ งสรรค์แบบครบวงจร 1) งานวิจัยทางด้านมนุษยศาสตร์ เช่น ศาสนา ปรัชญา ภาษาศาสตร์ ศิลปะ อารยธรรม ตรรกศาสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ และวรรณคดี 2) งานวิจัยทางด้านสังคมศาสตร์ เช่น มานุษยวิทยา สังคมวิทยา เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ นติ ิศาสตร์ 3) งานวจิ ยั ทางด้านศลิ ปกรรมศาสตร์ กรอบการวจิ ัยและนวตั กรรม ประจาปี 2565 P9b-2
โปรแกรม 10a ยกระดบั ความสามารถการแขง่ ขันและวางรากฐานทางเศรษฐกิจ เพ่ือการพ่งึ พาตนเองในระดบั ประเทศในอุตสาหกรรมเป้ าหมายอ่ืนท่ไี มใ่ ช่ เศรษฐกิจชี วภาพ เศรษฐกจิ หมุนเวยี น และเศรษฐกิจสเี ขียว (Non-BCG) เป้ าหมาย (Objectives: O) O3.10a ยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันด้วยการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมใน อุตสาหกรรมเป้าหมายอื่นที่ไม่ใช่ เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจ สีเขยี ว (Non-BCG) ผลสัมฤทธิท์ ่สี าคัญ (Key Results: KRs) KR 3.10a.1 จานวนองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมที่ถูกสร้างขึ้นเพ่ือส่งเสริมการพัฒนา อุตสาหกรรมเป้าหมายอื่นที่ไม่ใช่ เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจ สเี ขียว (Non-BCG) (10 ชนิ้ ) KR 3.10a.2 รอ้ ยละขององค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมสาหรับอุตสาหกรรมเป้าหมายอื่นที่ไม่ใช่ เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (Non-BCG) ถูกนาไปใช้ ประโยชน์ในดา้ นพาณชิ ย์ และอุตสาหกรรม (รอ้ ยละ 20 ของโครงการท่มี ุ่งใชป้ ระโยชน์ด้านพาณิชยแ์ ละอตุ สาหกรรม) KR 3.10a.3 ร้อยละท่ีเพิ่มข้ึนของการลงทุนวิจัยและนวัตกรรมของผู้ประกอบการไทยใน อุตสาหกรรมเปา้ หมาย (S-Curves) (ร้อยละ 15) KR 3.10a.4 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของผู้ประกอบการไทยขนาดกลางและขนาดย่อมในอุตสาหกรรม เป้าหมาย (S-Curves) ที่ร่วมลงทุนพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมกับกองทุน ววน. (ร้อยละ 10) กรอบการวจิ ัยและนวตั กรรม ประจาปี 2565 P10a-1
1แผนงานวิจัยด้านประยุกตข์ ัน้ ต้นเพ่อื พฒั นาอุตสาหกรรมมุง่ เป้ า ระบบโลจิสติกส์ KR 3.10a.1 จานวนองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมท่ีถูกสร้างข้ึนเพื่อส่งเสริมการพัฒนา อตุ สาหกรรมเป้าหมายอืน่ ท่ีไม่ใช่ เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจ สีเขียว (Non-BCG) (10 ช้ิน) KR 3.10a.2 ร้อยละขององคค์ วามรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมสาหรบั อุตสาหกรรมเปา้ หมายอน่ื ทไ่ี มใ่ ช่ เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (Non-BCG) ถูกนาไปใช้ ประโยชน์ในด้านพาณชิ ย์ และอุตสาหกรรม (ร้อยละ 20 ของโครงการทีม่ ุ่งใชป้ ระโยชน์ด้านพาณิชย์และอตุ สาหกรรม) ผลผลติ องค์ความรู้บนบริบทโลจิสติกส์และโซ่อุปทานของภาคอุตสาหกรรม ภาคเกษตร และภาคบริการ เพื่อเพิ่ม ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ลดต้นทุนโลจิสติกส์ เพ่ิมมูลค่าสินค้าและบริการ เพ่ิมประสิทธิภาพ โครงข่ายโลจิสติกส์ สามารถเพิ่มประสิทธิภาพและยกระดับมาตรฐานการบริหารจัดการ โลจิสติกส์และ โซอ่ ปุ ทาน ได้อย่างย่ังยนื กรอบการวจิ ัยและนวัตกรรม 1) การเพิ่มประสิทธิภาพระบบขนส่ง เช่น การปรับรูปแบบการขนส่ง (Mode shift) การขนส่ง ต่อเน่ืองหลายรูปแบบ (Multi-modal) การลดปริมาณการเดนิ รถเทย่ี วเปลา่ (Empty backhauling) เพ่ือเพ่ิม ขดี ความสามารถในการขนส่งและลดตน้ ทุนทางด้านโลจสิ ติกส์ 2) การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ท่ีมีความสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาเมืองอย่างบูรณาการ เช่น การจัดการด้านการจราจรและการขนส่ง (transportation demand management) การใช้ยานยนต์ สมัยใหมใ่ นระบบขนสง่ ในเขตเมือง (urban transportation system) ระบบการจราจรอจั ฉรยิ ะ (intelligent traffic system) เมืองอัจฉริยะ (Smart city) เพ่ือเสริมสร้างความเป็นอยู่ของประชากรให้มีความปลอดภัย ลดโอกาสการเกิดอุบัตเิ หตุ มีระบบขนสง่ ที่สอดรับกับการดาเนินชีวิต ลดมลพิษจากการลดการใชร้ ถยนต์ส่วน บุคคล 3) การวิจัยและพัฒนาระบบโลจิสติกส์ในคลังสินค้าเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพและลดปัญหาการ ขาดแคลนกาลงั คน เพ่ือเพ่ิมขดี ความสามารถ/ประสทิ ธภิ าพในการทางานของบคุ ลากร 4) การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบรางและการจัดการการขนส่งทางราง เพื่อเพ่ิมขีด ความสามารถในการขนสง่ และลดต้นทุนทางด้านโลจสิ ตกิ ส์ 5) ระบบสารสนเทศท่ีบริหารจัดการด้านโลจิสติกส์ (E-Logistics) อาทิเช่น การจัดการการขนส่ง ทางรถ (Parking Management System) ระบบบริหารการขนส่ง (Phase Management System) ระบบ บริหารคลังสินค้า การรับสินค้า การจัดเก็บ การจ่ายสินค้า (Warehouse Management System) การ บริการการจัดการ Logistics ในรปู แบบของ One stop service เปน็ ตน้ เพ่ืออานวยความสะดวกและรวดเร็ว ในการให้บรกิ ารและเพิ่มขดี ความสามารถในการแข่งขันในการขนสง่ กรอบการวจิ ัยและนวตั กรรม ประจาปี 2565 P10a-2
2แผนงานวิจัยด้านประยุกต์ขัน้ ต้นเพ่ือพฒั นาอุตสาหกรรมมุ่งเป้ า พฒั นาเทคโนโลยวี จิ ัยด้านการพฒั นา ยานยนต์สมยั ใหมแ่ ละอเิ ล็กทรอนกิ ส์อจั ฉรยิ ะ KR 3.10a.1 จานวนองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมที่ถูกสร้างข้ึนเพื่อส่งเสริมการพัฒนา อุตสาหกรรมเป้าหมายอ่ืนที่ไม่ใช่ เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจ สเี ขยี ว (Non-BCG) (10 ช้ิน) KR 3.10a.2 ร้อยละขององค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมสาหรบั อุตสาหกรรมเป้าหมายอน่ื ทไี่ มใ่ ช่ เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (Non-BCG) ถูกนาไปใช้ ประโยชน์ในดา้ นพาณิชย์ และอตุ สาหกรรม (รอ้ ยละ 20 ของโครงการทมี่ ่งุ ใช้ประโยชน์ดา้ นพาณิชย์และอุตสาหกรรม) ผลผลิต วิจัยพัฒนาการออกแบบ กระบวนการผลิต ประกอบ การใช้เทคโนโลยีทันสมัย การกักเก็บพลังงาน การพัฒนามาตรฐานท่ีเก่ียวข้องทั้งในระดับชิ้นส่วนและผลิตภัณฑ์ และการพัฒนานวัตกรรมเพ่ือเพ่ิมมูลค่าและ เพ่ิมโอกาสทางการแข่งขันตามบริบทของโลกได้แก่ สังคมผู้สูงอายุ และการคานึงถึงพลังงานและสิ่งแวดล้อม ในภาคอุตสาหกรรมยานยนตแ์ ละอเิ ล็กทรอนิกส์ กรอบการวจิ ัยและนวตั กรรม 1) การวิจัยและพัฒนาท่ีเก่ียวข้องกับเทคโนโลยีอัจฉริยะ (Smart technology) ในอุตสาหกรรม ยานยนต์และอเิ ล็กทรอนกิ ส์ - ด้านฮาร์ดแวร์ (Hardware) การออกแบบ อุปกรณ์ ชิ้นส่วน หรือเครื่องมือท่ีมีความซับซ้อน ทเี่ ป็นเทคโนโลยีใหม่สาหรับใชใ้ นอุตสาหกรรมยานยนต์ หรืออตุ สาหกรรมอเิ ลค็ ทรอนิกส์ - ด้านซอฟต์แวร์ (software) หรือโปรแกรม หรือแอพพลิเคชั่น ท่ีส่งเสริมการทางานของ อตุ สาหกรรมยานยนต์ หรืออุตสาหกรรมอเิ ล็กทรอนิกส์ - การผลิตสมัยใหม่ที่นาเทคโนโลยีเขา้ ไปปรับปรงุ สง่ เสรมิ ใหม้ ีประสิทธภิ าพการผลติ ท่ีดีขึ้น เช่น การผลติ 4.0 การออกแบบกระบวนการผลติ รูปแบบใหม่ 2) การวิจัยและพัฒนาเพ่ือรองรับการเปล่ียนแปลงเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุและเทคโนโลยีเพื่อสุขภาพ และความปลอดภัย อาทิเช่น การออกแบบ ผลิต และประกอบระบบกรองอากาศในยานยนต์ การติดต้ัง เคร่อื งวดั ความดันในยานยนต์ การพฒั นาระบบตรวจจบั สญั ญาณอันตราย เปน็ ต้น 3) การวิจัยและพัฒนาท่ีตอบสนองนโยบายพลังงานของประเทศและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เช่น ระบบควบคุมการปล่อย CO2 ในรถยนต์ ยานยนต์ไฟฟ้า (EV) การพัฒนาหรือช้ินส่วนหรืออุปกรณ์ด้านพลังงาน ในอตุ สาหกรรมที่เกย่ี วขอ้ ง อาทิเช่น แบตเตอร่ี มอเตอร์ เปน็ ต้น 4) การวิจัยและพัฒนาด้านการออกแบบการทดสอบหรือการพัฒนาประสิทธิภาพชิ้นส่วนอุปกรณ์ หรือต้นแบบที่เกีย่ วข้องกับอุตสาหกรรมยานยนต์และอิเล็กทรอนิกส์ เช่น การออกแบบโครงสร้างน้าหนักเบา การออกแบบต้นแบบที่ผ่านมาตรฐานการชน การออกแบบและพัฒนาชิ้นส่วนเบรค การออกแบบและผลิต เซ็นเซอร์ กรอบการวจิ ยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P10a-3
3แผนงานวิจยั ด้านประยุกต์ขนั้ ต้นเพ่ือพฒั นาอุตสาหกรรมมุง่ เป้ า พัฒนาเทคโนโลยวี ัสดขุ นั้ สงู เพ่อื อุตสาหกรรม KR 3.10a.1 จานวนองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมท่ีถูกสร้างข้ึนเพ่ือส่งเสริมการพัฒนา อตุ สาหกรรมเป้าหมายอ่ืนท่ีไม่ใช่ เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจ สีเขยี ว (Non-BCG) (10 ชนิ้ ) KR 3.10a.2 รอ้ ยละขององคค์ วามรู้ เทคโนโลยี และนวตั กรรมสาหรบั อตุ สาหกรรมเป้าหมายอืน่ ท่ไี ม่ใช่ เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (Non-BCG) ถูกนาไปใช้ ประโยชนใ์ นดา้ นพาณิชย์ และอตุ สาหกรรม (รอ้ ยละ 20 ของโครงการทมี่ ุง่ ใช้ประโยชน์ด้านพาณิชยแ์ ละอุตสาหกรรม) ผลผลติ การวิจัยและพัฒนาทั้งในเชิงกระบวนการและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ท่ีสามารถช่วยให้เกิดการเพ่ิม ประสทิ ธภิ าพเพ่อื การขบั เคล่อื นการพัฒนาอุตสาหกรรมด้านเทคโนโลยีวัสดุข้ันสูงของประเทศ กรอบการวจิ ยั และนวตั กรรม 1) พัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีด้านการผลิตวัสดุท่ีสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในเชิงอุตสาหกรรมได้ เพอื่ เพม่ิ ขีดความสามารถ/ประสทิ ธิภาพในการผลติ ภาคอุตสาหกรรม 2) พัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีวัสดุด้านพลังงานและพลังงานทดแทน เพื่อนาองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวตั กรรมไปตอ่ ยอดในภาคอตุ สาหกรรมอยา่ งยั่งยนื 3) พัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีวัสดุตั้งต้น (วัสดุต้นน้า) ท่ีมีสมบัติเหมาะสมต่อการนาไป ประยุกต์ใช้ในภาคอุตสาหกรรม และทดแทนหรือลดการนาเข้าจากต่างประเทศ อาทิเช่น วัสดุตั้งต้นทาง การแพทย์ วัสดุอิเล็กทรอนิกส์ วัสดุเพื่ออุตสาหกรรมยานยนต์ และวัสดุเพื่อการเกษตร เป็นต้น เพื่อนาองค์ ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมไปต่อยอดในภาคอตุ สาหกรรมอย่างย่งั ยืน กรอบการวิจยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P10a-4
4แผนงานวิจัยดา้ นประยุกตข์ นั้ ต้นเพ่ือพฒั นาอุตสาหกรรมมุ่งเป้ า พฒั นาเทคโนโลยคี วามมนั่ คง และเทคโนโลยีอวกาศ KR 3.10a.1 จานวนองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมท่ีถูกสร้างข้ึนเพ่ือส่งเสริมการพัฒนา อุตสาหกรรมเป้าหมายอ่ืนที่ไม่ใช่ เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจ สีเขยี ว (Non-BCG) (10 ช้นิ ) KR 3.10a.2 ร้อยละขององคค์ วามรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมสาหรับอตุ สาหกรรมเป้าหมายอืน่ ท่ีไมใ่ ช่ เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (Non-BCG) ถูกนาไปใช้ ประโยชน์ในดา้ นพาณชิ ย์ และอุตสาหกรรม (รอ้ ยละ 20 ของโครงการท่มี ุ่งใช้ประโยชนด์ ้านพาณิชย์และอุตสาหกรรม) ผลผลิต สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาด้านอุตสาหกรรมความม่ันคง (ที่เป็นการป้องกัน มิใช่การทาลายล้าง) และ เทคโนโลยีอวกาศ ท่ีสามารถผลิตและคิดค้นเทคโนโลยีใหม่เพื่อใช้งานข้ึนเอง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดการนาเข้า เทคโนโลยีจากตา่ งประเทศ เน้นในสว่ นของงานวิจัยท่ีมาจากผใู้ ช้งานจริงและสามารถต่อยอดในเชงิ พาณชิ ย์ได้ กรอบการวิจัยและนวตั กรรม 1) ด้านความมัน่ คง งานวิจัยทางด้านความมั่นคงทางทหาร ตารวจ นิติวิทยาศาสตร์ เพ่ือพัฒนานวัตกรรมหรือ เทคโนโลยที ี่ สามารถใช้ในหน่วยงานความมั่นคงได้ ลดการนาเขา้ จากต่างประเทศ โดยมีความต้องการมาจาก หน่วยงานผู้ใชจ้ ริง 2) ดา้ นเทคโนโลยอี วกาศ - งานวิจยั ดา้ นการตดิ ต่อส่ือสาร และการประยกุ ตใ์ ช้ดาวเทียม ท่ีตอบโจทย์อุตสาหกรรมอวกาศยุค ใหม่ท่เี นน้ การใช้งานดาวเทียมวงโคจรต่าขนาดเลก็ เพื่อยกระดับการพัฒนาอย่างย่ังยนื ด้านเทคโนโลยีอวกาศ - งานวิจยั และพัฒนาส่วนประกอบของดาวเทยี ม เพื่อยกระดับการพฒั นาอย่างย่ังยืนดา้ นเทคโนโลยี อวกาศ - งานวิจยั ดา้ นวัสดแุ ละเชื้อเพลิงสาหรับใชบ้ นอวกาศ เพื่อแก้ไขปญั หาเรื่องการนาเข้าวัสดุต่างๆ เพอื่ นามาใช้วจิ ัย รวมไปถงึ เปน็ รากฐานสาหรับทา่ อวกาศยานในอนาคต กรอบการวจิ ยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P10a-5
แผนงานการส่งเสริมและสนับสนนุ การพฒั นาต่อยอด บญั ชี ส่ิงประดษิ ฐ์ ผลงานวจิ ยั และนวัตกรรม KR 3.10a.1 จานวนองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมท่ีถูกสร้างขึ้นเพ่ือส่งเสริมการพัฒนา อตุ สาหกรรมเป้าหมายอ่นื ที่ไม่ใช่ เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจ สีเขียว (Non-BCG) (10 ชนิ้ ) KR 3.10a.2 ร้อยละขององคค์ วามรู้ เทคโนโลยี และนวตั กรรมสาหรับอุตสาหกรรมเป้าหมายอน่ื ท่ีไม่ใช่ เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (Non-BCG) ถูกนาไปใช้ ประโยชน์ในด้านพาณชิ ย์ และอตุ สาหกรรม (ร้อยละ 20 ของโครงการท่ีมงุ่ ใชป้ ระโยชนด์ า้ นพาณิชย์และอตุ สาหกรรม) ผลผลิต 1) ผลงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ และนวัตกรรม ได้รับการรับรองมาตรฐานด้านประสิทธิภาพและความ ปลอดภยั อันจะนาไปสกู่ ารผลติ และจาหนา่ ยได้ในเชิงพาณชิ ย์ 2) ผลงานวิจยั สิ่งประดิษฐแ์ ละนวตั กรรมมกี ารขยายผลสู่การใชป้ ระโยชนใ์ นมิติต่าง ๆ กรอบการส่งเสรมิ และสนับสนุนการวจิ ัยและนวัตกรรม 1) การพัฒนาผลงานวิจัยและส่ิงประดิษฐ์ของไทยที่มีต้นแบบอยู่แล้วให้ได้รับการรับรองมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ สู่การผลติ และจาหน่ายในเชิงพาณชิ ยอ์ ยา่ งมมี าตรฐานในระดับท่เี ชื่อถอื ได้ 2) การส่งเสริมและสนับสนุนนักประดิษฐ์/นักวิจัยไทย รวมถึงผู้ประกอบการไทยในการพัฒนา ผลงานวจิ ยั และสิ่งประดษิ ฐ์ไทยร่วมกนั เพ่อื ประโยชนใ์ นการซือ้ ขายระหวา่ งภาครัฐและเชิงพาณชิ ย์ 3) การนาผลงานวจิ ยั และสิง่ ประดษิ ฐ์ไปขยายผลส่กู ารใชป้ ระโยชนใ์ นมิตติ า่ ง ๆ กรอบการวิจัยและนวตั กรรม ประจาปี 2565 P10a-6
โปรแกรม 10b ยกระดับความสามารถการแข่งขนั และวางรากฐานทางเศรษฐกิจ เพ่อื การพ่งึ พาตนเองในระดับประเทศในเศรษฐกิจชี วภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (BCG) เป้ าหมาย (Objectives: O) O3.10b ใช้การวิจยั และนวัตกรรมเพ่ือพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกจิ หมุนเวียน และเศรษฐกิจ สเี ขยี ว (BCG) โดยเฉพาะอย่างยง่ิ เกษตรและอาหาร สุขภาพและการแพทย์ ผลสมั ฤทธทิ์ ่สี าคญั (Key Results: KRs) KR 3.10b.1 จานวนองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อส่งเสริมการพัฒนา เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (BCG) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ดา้ นเกษตรและอาหาร สุขภาพและการแพทย์ (100 ชิ้น) KR 3.10b.2 ร้อยละขององค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมสาหรับเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจ หมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (BCG) ถูกนาไปใช้ประโยชน์ในด้านพาณิชย์ และ อุตสาหกรรม (ร้อยละ 20 ของโครงการทีม่ ุ่งใชป้ ระโยชนด์ ้านพาณิชยแ์ ละอตุ สาหกรรม) KR 3.10b.3 ร้อยละที่เพ่ิมข้ึนของการลงทุนวิจัยและนวัตกรรมของผู้ประกอบการไทยในเศรษฐกิจ ชีวภาพ เศรษฐกจิ หมุนเวยี น และเศรษฐกิจสีเขียว (BCG) (ร้อยละ 15) KR 3.10b.4 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของผู้ประกอบการไทยขนาดกลางและขนาดย่อมในเศรษฐกิจ ชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว ( BCG) ที่ร่วมลงทุนพัฒนา เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมกับกองทนุ ววน. (ร้อยละ 10) กรอบการวิจยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P10b-1
1แผนงานวิจัยด้านประยุกตข์ ัน้ ต้นเพ่อื พฒั นาอุตสาหกรรมมุง่ เป้ า พัฒนาเทคโนโลยีวิจยั ด้านอาหารแหง่ อนาคต KR 3.10b.1 จานวนองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อส่งเสริมการพัฒนา เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (BCG) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ด้านเกษตรและอาหาร สุขภาพและการแพทย์ (100 ชนิ้ ) KR 3.10b.2 ร้อยละขององค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมสาหรับเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจ หมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (BCG) ถูกนาไปใช้ประโยชน์ในด้านพาณิชย์ และ อตุ สาหกรรม (ร้อยละ 20 ของโครงการทมี่ ุ่งใชป้ ระโยชน์ดา้ นพาณชิ ยแ์ ละอุตสาหกรรม) ผลผลติ โครงการวิจัยด้านอุตสาหกรรมอาหารท่ีตอบสนองต่อการยกระดับของอุตสาหกรรมอาหารแห่ง อนาคต โดยโจทย์วิจัยเป็นไปตามความต้องการของภาคเอกชน และมีการพัฒนาเทคโนโลยีหรือนวัตกรรม ที่สอดคล้องกับทิศทางของตลาด ลดการนาเข้าเทคโนโลยีจากต่างประเทศ สร้างความม่ันคงทางอาหาร ความม่นั คง ทางเศรษฐกจิ และสขุ ภาวะทีด่ ขี องประชากรในทุกช่วงวยั กรอบการวิจัยและนวัตกรรม 1) พัฒนาเคร่ืองจักรกล/กระบวนการผลิตอาหารแปรรูปด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ ระบบติดตาม/ ควบคุมอัตโนมัติต้นแบบ หรือขยายขนาดกระบวนการผลิต (Scale up) เพ่ือเพิ่มขีดความสามารถ/ ประสทิ ธิภาพในการทางานของบุคลากรภาคการผลติ 2) พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพ (Health food) หรืออาหารใหม่ (Novel food) ที่จาเป็นต้องมี ผลการศึกษาในมนุษย์ (Clinical trial) เพ่ือลดการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) โรคที่เกิดในผู้สูงอายุ และ เสริมสร้างสุขภาวะที่ดขี องประชากรทุกชว่ งวยั ในประเทศ 3) พัฒนาเทคนิคหรอื เครอ่ื งมอื ท่ีใชต้ รวจสอบ/ควบคุม คณุ ภาพและความปลอดภยั อาหาร เพอ่ื เสรมิ สร้าง สุขภาวะท่ดี ขี องประชากรทุกชว่ งวยั ในประเทศ 4) การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ฉลาด (Smart packaging) และฟิล์มหรือบรรจุภัณฑ์ท่ีรับประทานได้ (Edible film or packaging) สาหรับผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป เพ่ือลดปริมาณขยะและเสริมสร้างความม่ันคง ทางเศรษฐกิจ กรอบการวิจยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P10b-2
2แผนงานวิจัยดา้ นประยุกตข์ นั้ ตน้ เพ่อื พฒั นาอุตสาหกรรมมุง่ เป้ า พัฒนาเทคโนโลยวี ิจัยด้านการพัฒนาผลิตภณั ฑ์อาหาร เคร่ืองสาอางและเวชสาอาง (Innovative house) KR 3.10b.1 จานวนองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมท่ีถูกสร้างข้ึนเพื่อส่งเสริมการพัฒนา เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (BCG) โดยเฉพาะอย่างย่ิง ด้านเกษตรและอาหาร สขุ ภาพและการแพทย์ (100 ช้ิน) KR 3.10b.2 ร้อยละขององค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมสาหรับเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจ หมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (BCG) ถูกนาไปใช้ประโยชน์ในด้านพาณิชย์ และ อตุ สาหกรรม (รอ้ ยละ 20 ของโครงการทมี่ ุ่งใชป้ ระโยชน์ด้านพาณชิ ย์และอตุ สาหกรรม) ผลผลิต กระบวนการผลิต เทคโนโลยี และนวัตกรรมของผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปอาหารเพื่อสุขภาพ เคร่ืองสาอางและเวชสาอาง จากภาคการเกษตรและผู้ประกอบการขนาดเล็กและขนาดกลางท้ังในระดับพื้นท่ี และในระดับประเทศ ท่ีสามารถต่อยอดนาไปใช้ประโยชน์และจัดจาหน่ายได้ สามารถเพิ่มกาไรหรือลดต้นทุน ให้กับผปู้ ระกอบการได้ กรอบการวจิ ัยและนวัตกรรม 1) ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยที่สร้างและพัฒนาองค์ความรู้ กระบวนการผลิตและเทคโนโลยี หรือนวัตกรรมต่างๆ ในการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร เคร่ืองสาอางและเวชสาอาง เพื่อให้เกิดความมั่นคงทาง สังคมและเศรษฐกจิ และเพมิ่ ขดี ความสามารถ/ศักยภาพของบคุ ลากรท้ังภาคการผลิตและการวิจยั 2) พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปทั่วไปและอาหารเพื่อสุขภาพ (Health Food) ที่ไม่จาเป็นต้องมี ผลการศึกษาในมนุษย์รองรับ เพ่ือลดความเสี่ยงในการเกิดโรคไม่ติดต่อเร้ือรัง (NCD) โรคที่เกิดในผู้สูงอายุ และสร้างสขุ ภาวะทีด่ ีให้แก่ผบู้ ริโภคและประชาชนในทกุ ช่วงวยั 3) พัฒนาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ (Active Ingredient) จากวัตถุดิบทางการเกษตร/ผลิตผลพลอยได้ (By-product) เพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์อาหาร เคร่ืองสาอางและเวชสาอาง เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะ ท่ดี ีของประชากรทกุ ช่วงวยั ในประเทศ กรอบการวิจัยและนวตั กรรม ประจาปี 2565 P10b-3
3แผนงานวิจัยดา้ นประยุกตข์ ัน้ ตน้ เพ่อื พฒั นาอุตสาหกรรมมุง่ เป้ า พฒั นาเทคโนโลยีวจิ ัยด้านอุตสาหกรรมเกษตร และเทคโนโลยชี ี วภาพ KR 3.10b.1 จานวนองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมที่ถูกสร้างข้ึนเพื่อส่งเสริมการพัฒนา เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (BCG) โดยเฉพาะอย่างย่ิง ดา้ นเกษตรและอาหาร สขุ ภาพและการแพทย์ (100 ช้ิน) KR 3.10b.2 ร้อยละขององค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมสาหรับเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจ หมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (BCG) ถูกนาไปใช้ประโยชน์ในด้านพาณิชย์ และ อตุ สาหกรรม (ร้อยละ 20 ของโครงการทมี่ ุ่งใชป้ ระโยชน์ด้านพาณชิ ยแ์ ละอตุ สาหกรรม) ผลผลิต เทคโนโลยีหรือนวัตกรรมต่างๆท่ีช่วยส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ การปรับปรุงผลิตภาพ นวัตกรรมผลิตภัณฑ์และรูปแบบธุรกิจส่ิงแวดล้อม ที่รองรับการเกิดขึ้นของสถานการณ์ “ปรกติใหม่” เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ การปรับปรุงมาตรฐานและระบบคุณภาพ เพ่ือมุ่งสู่ความ ย่งั ยืนของอุตสาหกรรม กรอบการวจิ ยั และนวัตกรรม 1) การพฒั นาเทคโนโลยีการเกษตรตลอดหว่ งโซ่การผลติ - การพัฒนาเทคโนโลยีการเกษตรสมัยใหม่ (Agriculture Technology) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตพืช - การจดั การฟารม์ เพือ่ ควบคมุ คณุ ภาพผลติ ผล - การพัฒนาระบบการปลกู พชื ในระดับโรงงานผลติ - การพัฒนาเทคนคิ ทางอณพู นั ธุศาสตรส์ าหรบั การปรบั ปรุงพันธุ์พืชเพอื่ เพิม่ คุณภาพและผลติ ผล ในการปลูก - การพฒั นาเทคโนโลยีการสนับสนุนการผลิตด้านการเกษตร ได้แก่ การพัฒนาวัสดฐุ านชวี ภาพ สาหรับการเพ่ิมประสิทธิภาพในการปลูกพืช การพัฒนาเครื่องจักรกลการเกษตร การใช้เทคโนโลยีข้ันสูง ในการคัดกรองคณุ ภาพของผลผลติ ทางการเกษตรก่อนและหลังการเก็บเกีย่ ว - วัสดแุ ละบรรจุภัณฑเ์ ชิงหนา้ ทสี่ าหรบั การยืดอายุและรักษาคณุ ภาพของผลิตผลทางการเกษตร - การใช้ประโยชนจ์ ากวัตถุดิบทางการเกษตรเพ่ือเพม่ิ มลู คา่ ผลิตภณั ฑ์ทางการเกษตร 2) การใชเ้ ทคโนโลยีทางชวี ภาพเพือ่ ปรับปรงุ คณุ ภาพสตั วเ์ ศรษฐกิจ - การพฒั นาเทคนคิ ทางอณูพันธุศาสตรส์ าหรบั การผลิตสัตว์ และปรบั ปรงุ พนั ธ์ุสตั ว์ - การพฒั นาการจัดการ และระบบการเลี้ยงสัตว์ใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพเพอื่ เพ่มิ อตั ราการผลติ - การพฒั นาแหลง่ วตั ถุดิบใหม่สาหรบั อาหารสัตว์และผลติ ภัณฑ์เสริมอาหารสตั ว์ - การพัฒนาส่วนผสม สารเสริม วัตถุเจือปนในอาหารสัตว์ เพ่ือการผลิตผลิตภัณฑ์ชีวภาพเพื่อ ความอยูด่ มี สี ุขของสัตว์เศรษฐกจิ เพ่มิ ประสิทธิภาพและความสามารถในการแข่งขัน - การพัฒนาและวิจัยเก่ียวกับโรคของสัตว์เศรษฐกิจ รวมถึงการพัฒนาวัคซีนและกระบวนการ ติดตามโรคในสัตว์ กรอบการวิจยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P10b-4
4แผนงานวิจยั ด้านประยุกต์ขนั้ ต้นเพ่อื พฒั นาอุตสาหกรรมมุ่งเป้ า พัฒนาเทคโนโลยวี ิจัยด้านเช้ื อเพลิงชี วภาพ และเคมชี ี วภาพ KR3.10b.1 จานวนองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมที่ถูกสร้างขึ้นเพ่ือส่งเสริมการพัฒนา เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (BCG) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ด้านเกษตรและอาหาร สขุ ภาพและการแพทย์ (100 ช้นิ ) KR3.10b.2 ร้อยละขององค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมสาหรับเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจ หมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (BCG) ถูกนาไปใช้ประโยชน์ในด้านพาณิชย์ และ อตุ สาหกรรม (รอ้ ยละ 20 ของโครงการทมี่ ุ่งใช้ประโยชนด์ ้านพาณชิ ยแ์ ละอุตสาหกรรม) ผลผลิต การวิจัยพัฒนา เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรตามหลักเศรษฐกิจหมุนเวียน ( Circular economy) เสริมสร้างความเข้มแข็งด้านเทคโนโลยีการผลิต ผ่านการพัฒนาเทคโนโลยีฐานด้านตัวเร่งปฏิกิริยา (Catalyst platform) และต่อยอดผลิตภัณฑ์ในประเทศสู่ผลิตภัณฑ์มูลค่าสูงด้วยการพัฒนากระบวนการผลิต สารโอลิโอเคมี (Oleochemical platform) ตลอดจนส่งเสริมเทคโนโลยีเพ่ือการสร้างประโยชน์จากวัสดุเหลือใช้ (Waste2Profit) ที่ครอบคลุมการแปรรูปวัสดุเหลือใช้เป็นพลังงาน (Waste2Energy) การแปรรูปวัสดุเหลือใช้ เป็นวสั ดุมลู ค่าเพ่ิม (Waste2Material) การจัดการวัสดุเหลือใช้ข้ันสุดท้ายอยา่ งเหมาะสม (Waste2Land) และ การกาหนดนโยบายเพ่อื การจดั การวสั ดุเหลอื ใช้อย่างยั่งยืน (Waste2Policy) เพอ่ื เปน็ การยกระดับอุตสาหกรรม เช้ือเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพไทยให้ก้าวสู่อุตสาหกรรมที่มีศักยภาพเชิงเศรษฐกิจและนาพาประเทศให้หลุดพ้น จากกบั ดักประเทศรายไดป้ านกลางในอนาคต กรอบการวจิ ัยและนวัตกรรม 1) พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตให้กับอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพในปัจจุบันที่ใช้ วตั ถดุ บิ เป็นชวี มวล 2) พัฒนาผลิตภัณฑ์เชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพชนิดใหม่โดยใช้วัตถุดิบเป็นชีวมวล (Primary products) 3) คน้ หาวัตถุดิบชีวมวลชนดิ ใหมท่ ่ีมีศักยภาพเพื่อเป็นวตั ถุดิบในอตุ สาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและ เคมีชีวภาพในอนาคต 4) พัฒนาเทคโนโลยกี ารผลติ ผลติ ภณั ฑ์ฐานชีวภาพทใ่ี ชเ้ ช้ือเพลิงชวี ภาพและเคมชี วี ภาพเปน็ วตั ถดุ ิบ (Secondary products) 5) พัฒนาเทคโนโลยีฐานด้านตัวเร่งปฏิกิริยา (Catalyst platform) การผลิตสารโอลิโอเคมี (Oleochemical platform) และการใช้ประโยชน์จากของเสียอย่างบูรณาการ (Waste2Value platform) ครอบคลมุ ขยะอินทรยี ์และขยะพลาสติก กรอบการวิจยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P10b-5
5แผนงานวิจยั ดา้ นประยุกตข์ นั้ ต้นเพ่อื พฒั นาอุตสาหกรรมมุ่งเป้ า การพฒั นาเทคโนโลยีด้านการแพทย์ สุขภาพ และสาธารณสุข KR3.10b.1 จานวนองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมที่ถูกสร้างขึ้นเพ่ือส่งเสริมการพัฒนา เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (BCG) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ด้านเกษตรและอาหาร สขุ ภาพและการแพทย์ (100 ชิ้น) KR3.10b.2 ร้อยละขององค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมสาหรับเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจ หมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (BCG) ถูกนาไปใช้ประโยชน์ในด้านพาณิชย์ และ อตุ สาหกรรม (รอ้ ยละ 20 ของโครงการทมี่ งุ่ ใชป้ ระโยชน์ดา้ นพาณิชย์และอุตสาหกรรม) ผลผลิต การพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมดา้ นการแพทย์และสุขภาพเพ่ือสนับสนุนการแก้ไขปัญหาท้าทาย ด้านสังคม พร้อมทั้งยกระดับการพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืนในประเด็นด้านการแพทย์ สุขภาพ และสาธารณสุข และความมั่นคงทกุ มิติ กรอบการวจิ ยั และนวัตกรรม 1) ผลิตภัณฑ์ ระบบ บริการ วัสดุ อุปกรณ์และเคร่ืองมือทางการแพทย์ท่ีมีเป้าหมายเพ่ือการดูแล ผสู้ ูงอายุ ผพู้ ิการ ทพุ พลภาพ และผ้ดู ้อยโอกาส 2) ผลิตภัณฑ์หรือบริการทางแพทย์ที่มีเป้าหมายเพ่ือการดูแลสุขภาพและช่วยให้ประชาชนเข้าถึง บรกิ ารทางการแพทย์ รวมถงึ การยกระดบั มาตรฐานผลติ ภณั ฑ์ บรกิ าร และสถานพยาบาล 3) ระบบหรอื บรกิ ารทางแพทย์ทีช่ ่วยลดภาระและอานวยความสะดวกให้กบั บคุ ลากรทางการแพทย์ และสถานพยาบาล 4) เทคโนโลยชี ่วยเพ่มิ ทักษะความรขู้ องบุคลากรแพทย์ 5) การพฒั นายา (Drug Development) และระบบเพอ่ื การเขา้ ถึงยาของประชาชน กรอบการวจิ ยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P10b-6
โปรแกรม 10c วิจยั และสรา้ งนวตั กรรมด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ วทิ ยาการหุ่นยนต์ ปั ญญาประดษิ ฐ์ (AI) ดจิ ิทัลเทคโนโลยแี ละเศรษฐกจิ ดจิ ิทลั เป้ าหมาย (Objectives: O) O3.10c ใช้การวิจัยและนวัตกรรมเพ่ือพัฒนาและยกระดับวิทยาการคอมพิวเตอร์ วิทยาการ หุ่นยนต์ ปัญญาประดิษฐ์ (AI) ดิจิทลั เทคโนโลยแี ละเศรษฐกิจดิจิทัล เพือ่ พัฒนาเศรษฐกิจ และตอบสนองตอ่ การพลกิ โฉมฉับพลนั ผลสมั ฤทธิท์ ่สี าคัญ (Key Results: KRs) KR 3.10c.1 จานวนนวัตกรรมและเทคโนโลยีด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ วิทยาการหุ่นยนต์ ปัญญาประดิษฐ์ (AI) ดิจิทัลเทคโนโลยีและเศรษฐกิจดิจิทัล เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและ ตอบสนองตอ่ การพลิกโฉมฉับพลนั (50 ชนิ้ ) KR 3.10c.2 ร้อยละของนวัตกรรมและเทคโนโลยีด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ วิทยาการหุ่นยนต์ ปัญญาประดิษฐ์ (AI) ดิจิทัลเทคโนโลยีและเศรษฐกิจดิจิทัลที่พัฒนาขึ้น ถูกนาไปใช้ ประโยชน์เพอ่ื พฒั นาเศรษฐกจิ และตอบสนองต่อการพลิกโฉมฉับพลนั (รอ้ ยละ 20) กรอบการวิจยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P10c-1
1แผนงานวิจยั ด้านประยุกตข์ ัน้ ต้นเพ่ือพฒั นาอุตสาหกรรมมุง่ เป้ า พฒั นาเทคโนโลยวี ิจยั ดา้ นดจิ ิทัล KR 3.10c.1 จานวนนวัตกรรมและเทคโนโลยีด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ วิทยาการหุ่นยนต์ ปัญญาประดิษฐ์ (AI) ดิจิทัลเทคโนโลยีและเศรษฐกิจดิจิทัล เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและ ตอบสนองต่อการพลิกโฉมฉับพลนั (50 ชน้ิ ) KR 3.10c.2 ร้อยละของนวัตกรรมและเทคโนโลยีด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ วิทยาการหุ่นยนต์ ปัญญาประดิษฐ์ (AI) ดิจิทัลเทคโนโลยีและเศรษฐกิจดิจิทัลที่พัฒนาขึ้น ถูกนาไปใช้ ประโยชนเ์ พ่อื พฒั นาเศรษฐกิจและตอบสนองต่อการพลิกโฉมฉับพลัน (รอ้ ยละ 20) ผลผลติ การพัฒนาศักยภาพพ้ืนฐานที่เป็นโครงสร้างดิจิทัล (Digital Infrastructure) โดยการใช้เทคโนโลยี ดิจิทัลในการสร้างระบบแพลตฟอร์ม เพ่ือให้เกิดข้อมูล (Big Data) เพื่อนาไปสู่การวิเคราะห์ข้อมูลและสร้าง ระบบนิเวศน์ทางเศรษฐกจิ (Ecosystem) ภายใต้ธรุ กิจนวัตกรรม (Innovation Business) กรอบการวิจยั และนวตั กรรม 1) Edge Computing & AI Platform 2) Smart Tourism Platform 3) Smart Economy Platform 4) Smart Governance Platform 5) Smart Ecology Platform (Energy and Environment) 6) SME Digitalization & e-Commerce กรอบการวิจยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P10c-2
2แผนงานวจิ ัยด้านประยุกตข์ ัน้ ต้นเพ่อื พฒั นาอุตสาหกรรมมุง่ เป้ า แผนงานพฒั นาเทคโนโลยวี จิ ยั ดา้ นหุ่นยนต์ และระบบอัตโนมตั ิ KR 3.10c.1 จานวนนวัตกรรมและเทคโนโลยีด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ วิทยาการหุ่นยนต์ ปัญญาประดิษฐ์ (AI) ดิจิทัลเทคโนโลยีและเศรษฐกิจดิจิทัล เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและ ตอบสนองต่อการพลิกโฉมฉบั พลนั (50 ช้นิ ) KR 3.10c.2 ร้อยละของนวัตกรรมและเทคโนโลยีด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ วิทยาการหุ่นยนต์ ปัญญาประดิษฐ์ (AI) ดิจิทัลเทคโนโลยีและเศรษฐกิจดิจิทัลที่พัฒนาข้ึน ถูกนาไปใช้ ประโยชน์เพอื่ พัฒนาเศรษฐกจิ และตอบสนองต่อการพลิกโฉมฉับพลนั (รอ้ ยละ 20) ผลผลิต อุตสาหกรรมและบริการเทคโนโลยีดิจิตัล ข้อมูลและปัญญาประดิษฐ์มีการขยายตัวเพ่ิมข้ึน โดยยกระดับ ความสามารถของผู้ผลิต ผู้พัฒนา ผู้ออกแบบรวมถึงการสร้างระบบของไทยให้เกิดการลงทุนท้ั งในและ ตา่ งประเทศ มงุ่ เน้นการใช้ปัญญาประดิษฐ์ ซ่ึงครอบคลุมถึงระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์ อิเล็กทรอนิกสอ์ ัจฉริยะ ม่งุ เนน้ การสร้างคลัสเตอร์ของอตุ สาหกรรมและการมกี ลไกสนับสนุนการขบั เคล่ือนอุตสาหกรรมแบบครบวงจร กรอบการวจิ ัยและนวตั กรรม 1) การวิจัยและพัฒนาแพลตฟอร์มเทคโนโลยีและโมดูลหุ่นยนต์อุตสาหกรรม (industrial Robot) หุ่นยนต์เคลื่อนท่ี (Mobile Robot) ในโรงงาน หุ่นยนต์ทางานร่วมกับมนุษย์ (Collaborative Robot) และ ระบบอตั โนมตั ใิ นกระบวนการผลิต ยกเวน้ นวตั กรรมอาหาร 2) การวิจัยและพัฒนาหุ่นยนต์ให้บริการและหุ่นยนต์ทางานเฉพาะทาง เช่น หุ่นยนต์ใน กระบวนการผลิตเวชภัณฑ์ที่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ หุ่นยนต์บริการในที่พัก สถานประกอบการและ สถานพยาบาล หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติที่ใช้ในการเกษตรเพ่ือช่วยในการปลูกพืชและเก็บเกี่ยว และ หุ่นยนตเ์ พอ่ื การศึกษา เปน็ ตน้ 3) การวิจัยและพัฒนาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติท่ีส่งเสริมการถ่ายทอดเทคโนโลยี เช่น ระบบ แมชชีนวิช่ัน (Machine vision system) ระบบแมชชีนเลิร์นนิ่ง (Machine Learning) ระบบการเรียนรู้ เชิงลกึ (Deep Learning) และระบบปญั ญาประดษิ ฐ์ (Artificial Intelligence) เป็นต้น กรอบการวิจัยและนวตั กรรม ประจาปี 2565 P10c-3
โปรแกรม 16 ปฏิรูประบบการอุดมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม เป้ าหมาย (Objectives: O) O16 พฒั นาระบบ อววน. เพื่อให้เกิดระบบนิเวศทเี่ ออื้ ต่อความต้องการของประเทศ ดา้ น ววน. ผลสมั ฤทธิท์ ่ีสาคญั (Key Results: KRs) KR 16.1 จานวนมหาวิทยาลัยมุ่งเน้นวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมขั้นสูงในพ้ืนที่เมือง นวัตกรรมในระเบียงนวัตกรรมภาคตะวันออก (ECCi) เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของ ภาคอตุ สาหกรรมเปา้ หมาย (10 มหาวทิ ยาลยั ) KR 16.2 จานวนระบบจัดสรรและบริหารงบประมาณด้าน ววน. แบบบูรณาการที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ ผ่านกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม ในรูปแบบ Multi-year, Block grant ที่เกิดประสิทธิผลและมีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล ปฏิบัติงานให้บรรลุ ตามวตั ถุประสงค์ มีตน้ ทนุ หรือการใช้ทรพั ยากรอยา่ งเหมาะสม มีความคมุ้ ค่า (1 ระบบ) KR 16.3 จานวนระบบติดตามประเมินผลการลงทนุ ด้าน ววน. ที่วดั ได้ทงั้ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความคมุ้ คา่ ในการลงทุน (1 ระบบ) KR 16.4 จานวนระบบบริหารจัดการข้อมูลที่มีการบูรณาการข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับ อววน. อย่างมี ประสิทธภิ าพ ตรงตามความต้องการของผใู้ ช้ (1 ระบบ) KR 16.5 จานวนระบบจดั สรรทนุ และบริหารแผนงาน โครงการวิจัยและนวัตกรรม เพื่อให้เกิดการ ทางานร่วมกันกับเครือข่ายระดับโลก และตอบโจทย์ตามยุทธศาสตร์ อววน. ได้อย่างมี นยั สาคัญ (1 ระบบ) กรอบการวจิ ัยและนวตั กรรม ประจาปี 2565 P16-1
แผนงานวิจัยดา้ นการพฒั นาเครือข่ายความรว่ มมือนานาชาติ เพ่ือการวจิ ยั ด้านสงั คม (เช่ื อมไทย เช่ื อมโลก) KR16.5 จานวนระบบจดั สรรทนุ และบริหารแผนงาน โครงการวิจัยและนวัตกรรม เพื่อให้เกิดการ ทางานร่วมกันกับเครือข่ายระดับโลก และตอบโจทย์ตามยุทธศาสตร์ อววน. ได้อย่างมี นัยสาคัญ (1 ระบบ) ผลผลิต 1) ระบบจัดสรรทุนและบริหารแผนงานโครงการวิจัยและนวัตกรรมที่เช่ือมโยงเครือข่ายทางวิชาการ ของประเทศไทยกบั ประชาคมโลกที่เอื้อต่อความต้องการของประเทศดว้ ย ววน. 2) องค์ความรู้และแนวทางเพ่ือรองรับการเปล่ียนแปลงของสังคมไทยและสังคมโลกรวมถึงการ นาไปใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวาง ตลอดจนก่อใหเ้ กดิ ความอยา่ งยง่ั ยืนต่อไปในอนาคต 3) ข้อเสนอเชิงนโยบายในประเด็นสาคัญ สาหรับหน่วยงานและภาคส่วนต่างๆท่ีสามารถตอบโจทย์ ตามยทุ ธศาสตร์ อววน. และสอดรบั กบั ประเดน็ ยทุ ธศาสตรช์ าติ 4) ระบบการติดตามและประเมินผล ทวนสอบกลับ กรอบการวิจัยและนวัตกรรม ระบบบริหารจัดการงานวิจัยเชิงรุกท่ีสนับสนุนการต่อยอดความร่วมมือเครือข่ายนานาชาติ และมุ่ง ตอบโจทยป์ ระเดน็ ยุทธศาสตร์ชาติ และยุทธศาสตร์ อววน. ในลักษณะการสร้างนวัตกรรมและข้อเสนอแนะเชิง นโยบายทห่ี น่วยงานและภาคสว่ นทเ่ี ก่ียวข้องสามารถนาไปขยายผล และใช้ประโยชนไ์ ดจ้ ริง ยุทธศาสตรช์ าติ 6 ด้าน โดยเนน้ ประเดน็ สาคญั Issue Based 1) BCG Model 2) Aging Society (สังคมสงู วยั ) 3) Big Rock Projects (โครงการสาคัญที่จะส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมายของแผนการปฏิรูป ประเทศ) 4) Reduced Inequalities (การลดความเหล่ือมลา้ ) 5) PM2.5 (การเปลยี่ นแปลงของสภาพอากาศและฝุน่ พษิ ) กรอบการวจิ ัยและนวตั กรรม ประจาปี 2565 P16-2
โครงการพัฒนาเครือขา่ ยความร่วมมือวิจยั และนวตั กรรมนานาชาติ KR16.5 จานวนระบบจดั สรรทุนและบริหารแผนงาน โครงการวิจัยและนวัตกรรม เพื่อให้เกิดการ ทางานร่วมกันกับเครือข่ายระดับโลก และตอบโจทย์ตามยุทธศาสตร์ อววน. ได้อย่างมี นัยสาคญั (1 ระบบ) ผลผลติ ระบบจัดสรรทุนและบริหารแผนงานโครงการวิจัยและนวัตกรรมท่ีตอบโจทย์ตามยุทธศาสตร์ อววน. และเชือ่ มโยงเครือขา่ ยทางวชิ าการกบั ตา่ งประเทศ อย่างนอ้ ย 1 ระบบ กรอบการวิจัยและนวัตกรรม ระบบบริหารจัดการงานวิจัยและนวัตกรรมท่ีตอบโจทย์ตามยุทธศาสตร์ อววน. และสอดรับกับ ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติ เกิดการทางานร่วมกับเครือข่ายวิจัยนานาชาติ สามารถแก้ไขปัญหา ต่อยอดและ พัฒนาประเทศให้มีขีดความสามารถสูงข้ึน เกิดการพัฒนาอย่างย่ังยืน ตลอดจนหน่วยงานและภาคส่วนท่ี เกี่ยวข้องสามารถขยายผลเพ่ือนาไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ ประเดน็ มุง่ เน้น 1) การวิจยั และนวัตกรรมท้าทายเพ่อื แก้ไขปัญหาที่ท่วั โลกใหค้ วามสาคัญ เชน่ โรคติดเชอ้ื อุบัติใหม่ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การจัดการของเสีย การเข้าถึงสวัสดิการสุขภาพ การลดความเหล่ือมล้า ความมัน่ คงทางด้านอาหาร และพลงั งาน เป็นตน้ 2) การวิจัยและนวัตกรรมที่ช่วยเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน ตอบโจทย์ความต้องการของ ประเทศ มีส่วนร่วมกับภาคธุรกิจ อุตสาหกรรม start-ups องค์กรพัฒนาเอกชน หรือองค์กรการกุศล โดย ผลักดันการวิจัยไปสู่การขยายผลในเชิงพาณิชย์ เช่น เทคโนโลยีท่ีเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมแห่งอนาคตหรือ การเกษตรกรรม เป็นตน้ 3) การวิจัยและนวัตกรรมท่ีเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงองค์ความรู้ที่สาคัญของโลก การรับและการ ถา่ ยทอดเทคโนโลยี ความชานาญจากนานาประเทศ รวมถึงการพฒั นาอย่างย่ังยืนในทกุ มิติ 4) การวิจัยและนวัตกรรมที่เช่ือมโยงเครือข่ายการวิจัยกับนานาชาติ โดยมุ่งเน้นการพัฒนา บคุ ลากรการวจิ ัย รวมถึงการสร้างทักษะและความเชี่ยวชาญท่ีจาเป็นและขาดแคลนของนกั วิจัยไทย 5) การวิจัยและนวัตกรรมที่สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับบุคคลหรือหน่วยงานต่างประเทศ เพ่ือให้ได้สหวิทยาการและเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพและเหมาะสมในระบบการ บริหารและจัดสรรทนุ กรอบการวิจัยและนวตั กรรม ประจาปี 2565 P16-3
โปรแกรม 17 แกป้ ั ญหาวิกฤตเรง่ ดว่ นของประเทศ เป้ าหมาย (Objectives: O) O2.17a ประเทศไทยมีความสามารถในการจัดการและฟื้นตัวอย่างมีประสิทธิภาพ (Resilience) ต่อการเกดิ ภาวะวกิ ฤตเิ ร่งด่วนของประเทศ ผลสมั ฤทธิท์ ่สี าคญั (Key Results: KRs) KR 17a.1 จานวนชุดความรู้สาธารณะเก่ียวกับปัญหาและการจัดการเมื่อประสบภัยพิบัติและภาวะ วกิ ฤตเิ ร่งดว่ นอย่างเปน็ ระบบ มีความรู้ในการจัดการตนเอง (50 ชิน้ ) KR 17a.2 จานวนฐานข้อมูลและศูนย์ข้อมลู ที่จาเป็นเพอ่ื การจัดการในระดับประเทศและระดับพื้นที่ (10 ช้นิ / ศนู ยข์ ้อมูล) KR 17a.3 จานวนนวัตกรรมและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายทเ่ี ป็นผลงานจาก ววน. เพอ่ื การจัดการภัย พิบัติและภาวะวกิ ฤตเิ ร่งดว่ น (50 ชิ้น/ เรือ่ ง) KR 17a.4 ร้อยละของนวัตกรรมและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายท่ีเป็นผลงานจาก ววน. เพ่ือการ จัดการภยั พิบตั แิ ละภาวะวิกฤติเร่งดว่ นที่ถกู นาไปใช้ประโยชน์ (รอ้ ยละ 80) กรอบการวจิ ยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P17-1
แผนงานวิจัยการวจิ ัยและนวตั กรรมเพ่ือรองรับการระบาดของโรคโควิด-19 KR 17a.1 จานวนชุดความรู้สาธารณะเกี่ยวกับปัญหาและการจัดการเม่ือประสบภัยพิบัติและภาวะ วกิ ฤติเรง่ ดว่ นอย่างเป็นระบบ มีความรใู้ นการจดั การตนเอง (50 ชน้ิ ) KR 17a.2 จานวนฐานข้อมูลและศูนย์ขอ้ มูลที่จาเป็นเพือ่ การจัดการในระดับประเทศและระดับพื้นท่ี (10 ช้นิ / ศนู ย์ขอ้ มูล) KR 17a.3 จานวนนวัตกรรมและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายทเ่ี ปน็ ผลงานจาก ววน. เพื่อการจดั การภัย พิบตั ิและภาวะวกิ ฤตเิ ร่งด่วน (50 ชน้ิ / เรอ่ื ง) KR 17a.4 ร้อยละของนวัตกรรมและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายท่ีเป็นผลงานจาก ววน. เพ่ือการ จัดการภยั พบิ ัตแิ ละภาวะวิกฤติเร่งดว่ นที่ถูกนาไปใช้ประโยชน์ (ร้อยละ 80) ผลผลิต การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อแก้ไขปัญหา และลดผลกระทบจากการระบาดของโรคโควิด-19 ท้ังด้าน การแพทย์ สาธารณสขุ เศรษฐกจิ และสงั คม กรอบการวิจัยและนวัตกรรม 1) การวิจัยเพ่ือรองรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ของประเทศไทย กรณีที่ สถานการณ์การระบาดได้ขยายตัวไปท่ัวโลก (pandemic) รวมทั้ง การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคในการ เดินทางระหวา่ งประเทศ และในกลมุ่ แรงงานตา่ งดา้ ว 2) การวิจัย และพัฒนาวิธีการรักษาใหม่ที่ช่วยลดอัตราป่วยตายและระยะเวลาในการพักรักษาตัว ของผูป้ ว่ ยในโรงพยาบาล 3) การใช้ปัญญาประดิษฐ์ วิทยาศาสตร์ข้อมูลและเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการเฝ้าระวัง วินิจฉัย สอบสวนและควบคุมการระบาดของโรคโควิด-19 4) การพัฒนาชุดเวชภัณฑ์ อุปกรณ์ ชุดตรวจวินิจฉัย และเคร่ืองมือทางการแพทย์ เพื่อรองรับ ปญั หาวิกฤต และมีความเหมาะสมกับสถานการณ์ท่ีเปลี่ยนแปลงไปเพ่อื การรองรับการระบาดในอนาคต และ รองรับปัญหาโรคอุบัติใหม่อื่นๆ ท่ีอาจเกิดข้ึนได้ โดยต้องมีการเชื่อมโยงกับหน่วยงานใช้ประโยชน์ และถูก นาไปใชห้ ลังเสร็จส้นิ โครงการ 5) การวิจัยและพัฒนาสารออกฤทธ์ิจากสมุนไพรท่ีใช้ป้องกันหรือรักษาโรคโควิด-19 เพ่ือเพ่ิม มูลคา่ สมุนไพรไทยเพอ่ื นามาใช้ทางการแพทย์ 6) การวิจัยและพัฒนาวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 (COVID-19) ท่ีพร้อมดาเนินการทดลองใน มนษุ ย์ เพ่อื รองรับสถานการณ์การระบาดทส่ี ามารถนาไปปรบั ใชใ้ นการวิจยั พฒั นาวัคซนี ได้ในภาวะฉุกเฉิน 7) การวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้เพื่อพัฒนานโยบายและมาตรการด้านสาธารณสุข ในการ แกป้ ญั หาการตดิ เชื้อโรคโควดิ -19 ทมี่ ีประสทิ ธิภาพ 8) การวิจัยเชิงนโยบายเพื่อลดผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคม และการศึกษา รวมถึงชีวิตความ เป็นอยู่ของประชาชน ที่เกิดขึ้นจากภาวะวิกฤตโควิด-19 และการศกึ ษาผลสมั ฤทธิข์ องนโยบายและมาตรการ ของรฐั ต่อประชาชนท้งั ในด้านเศรษฐกจิ และสังคม 9) การวิจัยและพัฒนาเพ่ือสร้างความเข้มแข็ง และความยั่งยืนทางเศรษฐกิจต่อแรงงานที่ เคลื่อนยา้ ยกลบั สู่ท้องถิ่น และแรงงานท่ีต้องหางานใหม่ 10) การพัฒนาความเข้มแข็งของกลไกการแก้ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 รวมทั้ง โรคติดต่ออุบัตใิ หม่เชิงพนื้ ท่ี เช่น บทบาทของ อสม. อบต. และคณะกรรมการโรคติดต่อระดบั จังหวดั กรอบการวจิ ยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P17-2
กรอบการวจิ ยั และนวตั กรรม 11) การวิจัยโครงสร้างทะเบียนแรงงานแห่งชาติ เพื่อรองรับมาตรการเยียวยาแรงงานทั้งในและ นอกระบบ รวมถงึ แรงงานตา่ งด้าวให้ทั่วถงึ 12) การวิจัยต้นแบบการบริหารจัดการเศรษฐกิจชุมชนในท้องถิ่น (National e-commerce platform) เพ่อื กระต้นุ เศรษฐกิจฐานรากและลดการไหลออกของเงินตรงไปตา่ งประเทศ 13) การวิจัยและพฒั นาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศสาหรับจดั การ COVID – 19 และรองรับ โรคอุบตั ิการณ์ใหม่ในอดุ มคติ 14) การวิจัยและพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนเพื่อบริหารจัดการ COVID – 19 และรองรับ โรคอุบตั ิการณ์ใหม่ กรอบการวิจยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P17-3
แผนงานวจิ ยั และนวัตกรรมด้านภยั แลง้ และวิกฤติน้า เป้ าหมาย ลดความเส่ียงหรือความเสียหายจากการขาดแคลนน้า อุทกภัย และน้าไม่มีคุณภาพ ลงรอ้ ยละ 50 ผลผลติ 1) แนวทาง/มาตรการในการเพ่ิมประสทิ ธิภาพในการจากัดหรือลดผลกระทบจากภยั แล้ง 2) เทคโนโลยีในการเพิม่ นา้ ต้นทุน และการเตมิ นา้ ใตด้ ิน 3) ต้นแบบกลไกในการสนับสนุนการดาเนินงานร่วมกันระหว่างภาควิชาการ ชุมชน และหน่วยงาน ภาครัฐ 4) ข้อมลู เพอ่ื สนบั สนนุ และพฒั นาการดาเนินงาน/มาตรการเพ่อื ป้องกัน และแกไ้ ขปัญหาภยั แลง้ 5) แนวทางปฏบิ ตั ิหรือการพฒั นาระบบบรหิ ารจัดการภัยแลง้ เชงิ พ้นื ท่ี 6) แนวทางการเปล่ียนแปลงการใช้ทดี่ นิ เพอื่ ใหเ้ หมาะสมกบั ศกั ยภาพน้าตน้ ทนุ ภมู อิ ากาศ และพน้ื ที่ กรอบการวจิ ัยและนวตั กรรม 1) มาตรการจูงใจการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินเพื่อการเกษตรให้เหมาะสมกับศักยภาพของ พ้ืนที่ศกั ยภาพน้า และภมู อิ ากาศ ประเดน็ มงุ่ เน้น - ปัจจัยที่มีผลต่อการเปล่ียนแปลงการใช้ที่ดินเพ่ือการเกษตร เช่น มาตรการช่วยเหลือ และ การชดเชย - ถอดบทเรียนของเกษตรกรที่ประสบความสาเร็จในการปรับเปล่ียนนาไปสู่การปรับ กฎระเบยี บ 2) การเตรียมการป้องกันและลดผลกระทบภยั แลง้ ประเด็นมุง่ เนน้ - การศึกษาวิเคราะห์ระบบข้อมูลสารสนเทศ การคาดการณ์ เฝ้าระวัง เตือนภัยวิกฤตภัยแล้ง ระยะสั้น/ระยะกลาง/ระยะยาวในระดับพนื้ ที่ ระดบั ประเทศ ระดบั ภูมิภาค เพ่ือการจัดการภัยแล้ง(เทยี บเคียง การศึกษาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของ IPCC) - การพัฒนาแหล่งน้าท่ีเหมาะสมกับสภาพทรัพยากรน้าภูมิประเทศ เศรษฐกิจสังคมและ สิ่งแวดล้อม (ดา้ นการเพมิ่ ปรมิ าณนา้ ตน้ ทุน) - การปรบั ปรุงประสิทธผิ ลของกลุ่มผู้ใช้น้า (ด้านความตอ้ งการนา้ ) บนฐานข้อมูลทรพั ยากรน้า ในพนื้ ที่ที่ไดร้ ับการยอมรบั รว่ มกัน รวมถงึ การสรา้ งระบบเครอื ขา่ ยอาสาสมคั รและฐานข้อมูลเครือข่าย - การพัฒนาพืชทนแล้งและพืชท่ีใช้น้าน้อยและมีมูลค่าสูง การศึกษาภาวะภัยแล้งที่ส่งผล กระทบต่อพชื สาคัญ 3) การเตรยี มพรอ้ มรับภัยแลง้ (Preparedness) ประเดน็ มุง่ เน้น - การวจิ ัยการจัดหานา้ สะอาดเพอื่ ช่วยเหลือผู้ประสบภัยแลง้ ในการอุปโภค บริโภค - การวิจยั เพ่อื ใช้การประกนั ภยั พชื ผลทางการเกษตรทดแทนระบบเยียวยา - การส่งเสริมการเรียนรู้ในเร่ืองการจดั การภัยแล้งในสถานศึกษา สถานประกอบการ ชุมชน และพื้นทที่ เ่ี ส่ียงตอ่ การเกดิ ภัยแล้ง กรอบการวิจยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P17-4
กรอบการวจิ ัยและนวตั กรรม 4) การจดั การหลังการเกิดภัยแล้ง ประเด็นม่งุ เน้น - การถอดบทเรียนจากสถานการณ์ภัยแล้ง และการบริหารจัดการภัยแล้งเชิงพ้ืนท่ี รวมท้ัง บทบาทของภาคส่วนตา่ ง ๆ - การจัดทาแนวทางและขอ้ เสนอแนะในการจัดทาแผนฟ้ืนฟูหลังภยั แล้ง กรอบการวิจยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P17-5
Search