วันสงกรานต์ของไทย ตรงกับวันที่ 13 – 15 เมษายนของทกุ ปี หลายคนอาจจะยงั ไม่เคยได้ รทู้ ม่ี าที่ไปของวันสงกรานต์ วันนี้เราจะมาเลา่ ประวตั คิ วามเป็นมาของวันสงกรานตค์ ร่าวๆ ให้ทกุ คนได้ รู้กัน เพื่อท่ีจะได้ตระหนกั ถึงประเพณีไทยอันงดงามท่ีมมี าช้านาน และช่วยกันรักษาประเพณีอันเป็น มงคลนีใ้ ห้คงอยตู่ ่อไป สาหรับประเพณีสงกรานตใ์ นประเทศไทย แต่เดิมจะเปน็ พิธีสงกรานตท์ ่ีจดั ข้ึน ภายในครอบครัวหรือชมุ ชนบ้านใกล้เรือนเคยี งเทา่ นน้ั อีกทงั้ ยังเป็นประเพณเี ก่าแกท่ ี่สืบทอดมาพรอ้ ม กับประเพณตี รษุ ซงึ่ คาว่าตรุษนนั้ เป็นคาในภาษาทมฬิ หมายถึง “การส้นิ ปี” เมอื่ นามารวมกับประเพณี สงกรานต์จงึ เรยี กรวมกันวา่ “ตรุษสงกรานต์” ทห่ี มายถึงการส่งทา้ ยปีเก่าต้อนรับปใี หม่ ในเวลาต่อมา เทศกาลสงกรานต์ได้เปลี่ยนไปเป็นเทศกาลท่ีหลายคนจะมาทากิจกรรมร่วมกัน เช่น การทาบุญตัก บาตร การสรงน้าพระเพ่ือความเป็นสิริมงคล และการขอพรจากผู้ใหญ่เพื่อการเริ่มต้นปีใหม่ท่ีดี รวมท้ังมีการแสดงความกตญั ญแู ละระลึกถึงบรรพบุรุษท่ีล่วงลบั ไปแล้ว มีการใช้นา้ เพ่ือดบั ร้อนและ เพื่อใหเ้ กดิ ความชมุ่ ช่นื แกก่ นั และกนั ต่อมาในปจั จุบนั นอกจากจะเป็นวนั แห่งการสาดน้าแลว้ เทศกาล สงกรานต์ยังได้แปรเปลี่ยนไปเป็นเทศกาลแห่งการกลับบ้าน เป็นเทศกาลที่ทุกคนในครอบครัวจะได้ กลบั มารวมตวั กัน หรือที่เรียกกนั วา่ วันรวมญาติ เปน็ วันครอบครวั ทีล่ ูกหลานและญาติผใู้ หญ่จะได้ใช้ เวลาและทากิจกรรมในวันสงกรานต์ร่วมกัน และในปัจจุบันก็ยังคงมีการสืบสานประเพณีสงกรานต์ ด้ังเดิมของไทยไว้ เช่น การสรงน้าพระ การรดนา้ ดาหัวผใู้ หญ่ เป็นต้น
วันท่ี 13-15 เมษายน เป็นช่วงเวลาท่ีชาวไทย และชาวต่างชาติ ต่างหล่ังไหลเข้าไปในตัวเมืองของแต่ละจังหวัด เพ่ือร่วมสนุกในเทศกาลปี ใหม่ไทย หรือ วันสงกรานต์ แต่นอกจากกิจกรรมเพื่อความสนุกสนานแล้ว ชาวไทยส่วนใหญ่ยังคงยึดถือและปฏิบัติตามประเพณีเก่าแก่ท่ีสืบทอดกัน มา ทว่าในแต่ละภาคจะมีความเช่ือ และรูปแบบของประเพณีท่ีแตกต่างกัน ออกไป ซ่ึงวนั น้กี ระปุกดอทคอมกไ็ ดร้ วมประเพณีชว่ งวนั สงกรานตข์ องแต่ ละภาค
ประเพณีสงกรานต์ภาคเหนือ วันสงกรานตล์ ้านนาในภาคเหนือ ท่ีเรียกวา่ \"ประเพณปี ี๋ใหม่เมือง\" กนั เลยจ้า ในวันที่ 13 เมษายน \"วันสังขานต์ล่อง\" วันนี้ถือเป็นวันส้ินสุดศักราชเก่าของชาวภาคเหนือ ซ่ึงจะมีการจุด ประทัดในช่วงเช้า เพราะมีความเชื่อแต่โบราณว่า เป็นการขับไล่สิ่งเลวร้ายในปีก่อนให้พ้นไป และ ในชว่ งเยน็ จะมงี านบุญขนาดใหญ่ น่ันคือการแห่พระพุทธรูปสาคญั ประจาเมืองด้วย ในช่วงนีจ้ ะมี ทั้งชาวไทย ชาวต่างชาติ มารวมตวั กันอย่างหนาแน่น แต่กไ็ ด้ท้ังบุญและความสนุกสนานกันเลย ทเี ดียว จากนั้นในวันท่ี 14 เมษายน ที่เรยี กกันว่า \"วนั เนา\" หรือ \"วันเน่า\" จะเปน็ วนั ที่หา้ มด่าทอ ว่า รา้ ยผู้อื่น ไม่เช่นน้ันจะทาให้โชครา้ ยไปตลอดทั้งปี ส่วนในวันท่ี 15 เมษายน \"วันพญาวัน\" หรอื \"วัน เถลิงศก\" เป็นวันทช่ี าวบ้านตื่นตั้งแต่ไก่โห่เพอ่ื ไปทาบญุ ตักบาตร เข้าวดั ฟังธรรม จากนนั้ จะมีการ รดน้าดาหัวผู้ใหญ่ในช่วงบ่าย พอถึงวันท่ี 16 เมษายน \"วันปากปี\" ทุกคนก็จะพากันไปรดน้าเจ้า อาวาสตามวดั ต่าง ๆ และรดน้าดาหวั ผใู้ หญเ่ พือ่ ขอขมา โดยในวนั ที่ 17 เมษายน \"วันปากเดอื น\" ซ่งึ เป็นวนั สุดท้ายของเทศกาลสงกรานต์ ชาวบ้านจะทาการปดั ตวั เพอื่ สง่ เคราะห์ตา่ ง ๆ ออกไป เพื่อ เปน็ การปิดฉากประเพณีสงกรานต์ล้านนา
ประเพณสี งกรานตภ์ าคอสี าน ภาคอีสาน ท่ีเรียกประเพณีสงกรานต์ว่า \"บุญเดือนห้า\" หรือ \"ตรุษสงกรานต์\" กันบ้าง ดกี ว่า ประเพณีพื้นบา้ นของภาคอีสานจะคอ่ นขา้ งเรียบง่าย สว่ นใหญเ่ น้นการอยู่กบั ครอบครัว แต่ จะมีกจิ กรรมตามแหล่งท่องเที่ยวต่าง ๆ เช่นกัน โดยชาวอีสานจะถือฤกษ์ในวันข้ึน ค่า เดอื น เวลาบ่าย โมง เป็นเวลาเร่ิมงาน จะมีพระสงฆ์ตีกลองโฮมเพ่ือเป็นการเปิดศักราชเข้าสู่ปีใหม่ จากน้ันญาติโยมท้ังหลายจะไปรวมตัวกันท่ีศาลาวัดต่าง ๆ เพ่ือสรงน้าพระพุทธรูป แล้วต่อด้วย การรดนา้ ดาหัวญาตผิ ใู้ หญ่ เพอ่ื ขอขมา จากนัน้ ก็จะเป็นการเล่นสาดน้าและก่อกองทรายภายในวัด หากใครตอ้ งการทาบญุ ปล่อยนก ปลอ่ ยปลา หรอื ปลอ่ ยสัตวอ์ ื่น ๆ
ประเพณสี งกรานตภ์ าคใต้ ประเพณสี งกรานตใ์ นภาคใต้ ความเป็นมาจะคอ่ นขา้ งยาวสักเล็กน้อย เพราะทางภาคใต้ จะมีความเช่ือท่ีแตกต่างจากภาคอื่น ๆ นั่นคือ ความเช่ือแบบดั้งเดิมท่ีว่า ช่วงเทศกาล สงกรานต์ เป็นชว่ งเวลาแห่งการผลดั เปลยี่ นเทวดาผู้รักษาดวงชะตาบ้านเมือง พวกเขาจงึ ถือเอา วันที่ เมษายน ซึ่งเป็นวันแรกของเทศกาลสงกรานต์เป็น \"วนั ส่งเจ้าเมืองเก่า\" โดยจะมีการทา พิธีลอยเคราะห์ลงในแม่น้า และอธิษฐานขอให้ประสบโชคดีตลอดปีใหม่ จากนั้นในวันที่ เมษายน หรือ \"วันว่าง\" ท่ีมีความเช่ือว่า ในวันน้ียังไม่มีเทวดาองค์ใหม่มาคุ้มครองดูแลเมือง ดงั น้ันเพื่อป้องกันปญั หาในการดาเนินธุรกจิ ชาวนครจะหยุดกจิ การต่าง ๆ แล้วหันหน้าไปทาบุญ ตักบาตรที่วัด สรงน้าพระพุทธรูป และรดน้าผู้อาวุโสแทน ต่อมา ในวันที่ เมษายน ท่ี เรียกว่า \"วันรบั เจ้าเมืองใหม่\" ในวนั น้ี บนสวรรค์จะมีเทวดาทเ่ี ปน็ เจา้ เมอื งใหม่ลงประจาการ ดังนั้น ชาวเมืองจึงต้องต้อนรับเทวดาเจ้าเมืององค์ใหม่ด้วยการแต่งกายด้วยเสื้อผ้าชุดใหม่ เพื่อนา อาหารไปถวายพระทว่ี ัด จากนั้นอาจจะไปรดนา้ ผู้อาวุโสทยี่ งั ไม่ได้ไปรดน้าใน \"วันวา่ ง\" เพือ่ เปน็ การ ปดิ ทา้ ยประเพณีสงกรานต์ของชาวภาคใต้
ประเพณสี งกรานตภ์ าคกลาง ประเพณวี นั สงกรานตใ์ นภาคกลางกันบา้ ง วนั สงกรานต์ หรือ วนั ปใี หม่ไทย ของภาคกลาง จะเริม่ ขน้ึ ในวันที่ 13 เมษายน เรามักเรยี กวนั นว้ี า่ \"วนั มหาสงกรานต์\" ส่วนวันที่ 14 เรียกเปน็ \"วัน กลาง\" หรอื \"วันเนา\" และในวนั ที่ 15 ถอื เป็นวนั \"วนั เถลงิ ศก\" โดยทง้ั 3 วนั น้ี ชาวภาคกลางส่วน ใหญ่จะประกอบพธิ ที างศาสนา มกี ารทาบุญตกั บาตร ปลอ่ ยนก ปลอ่ ยปลา กรวดน้าอทุ ศิ สว่ น กศุ ลให้แกญ่ าติผู้ลว่ งลับ มีการสรงน้าพระ มีการก่อพระเจดียท์ รายภายในวดั มกี ารรดนา้ ดาหวั ผูใ้ หญ่ และในบางจังหวัดจะมพี ธิ แี หน่ างแมวด้วย นอกจากนย้ี ังมีการทาความสะอาดบา้ นเรือนที่ อย่อู าศยั ตลอดจนบริเวณใกล้เคียง โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ทบ่ี ูชาพระและทเ่ี กบ็ อฐั ิบรรพบรุ ุษ เพ่อื ให้ สิ่งสกปรกหมดไปพร้อมกบั ปีเกา่ เพอ่ื เป็นการตอ้ นรบั ปีใหม่ไทย ด้วยความบริสทุ ธิ์ผุดผอ่ งนน่ั เอง
สงกรานตต์ ามประเพณที ่ีแตกตา่ ง สงกรานตผ์ กู สายสญิ จนเ์ ชอ่ื มโยงพระธาตสุ องแผน่ ดนิ หรอื สงกรานต์ นครพนม ร่ืนรมย์ บญุ ปใี หมไ่ ทย-ลาว ณ อ.เมอื ง และ อ.เรณูนคร จ.นครพนม ในงานจะ มีการฮดสรง หรอื สรงนา้ พระธาตุประจาวนั เกดิ ทง้ั แหง่ ที่มีเพียงแหง่ เดียวในประเทศ ไทย สงกรานตอ์ มุ้ สาวลงนา้ หรอื ประเพณีสงกรานตอ์ ุ้มสาวลงนา้ ณ เกาะสีชงั และเกาะขามใหญ่ จ.ชลบุรี ภายในงานมกี ิจกรรม เชน่ พธิ ที าบุญตกั บาตร สรงนา้ พระ พธิ ี กองขา้ วบวงสรวง รดนา้ ดาหัว การกอ่ พระเจดยี ท์ ราย การละเลน่ พ้นื บ้าน แขง่ ขันเรอื กระทะ เรอื ชกั เย่อ มวยตบั จาก ปาลกู ดอก แข่งขนั ตะกรอ้ ลอดบว่ ง การแสดงดนตรี และ ประเพณอี มุ้ สาวลงนา้ สงกรานตน์ างดาน หรอื เทศกาลมหาสงกรานตเ์ มืองนครศรีธรรมราช จดั ขนึ้ ณ สวนศรีธรรมาโศกราช สนามหน้าเมอื ง หอพระอิศวร สาหรบั กจิ กรรมภายในเทศกาล สงกรานตเ์ มืองนครน้ี จะมีมหกรรมขนมพ้นื บา้ น อาหารพนื้ เมอื ง กิจกรรมน่ังรถชมเมอื งพิธี พุทธาภเิ ษกนา้ ศกั ดสิ์ ทิ ธิจ์ าก แหลง่ จตคุ ามรุน่ สรงนา้ เปน็ ต้น
**ทาบญุ ตกั บาตร ทัง้ นีเ้ พ่ือใหเ้ กดิ สิริมงคลแกช่ วี ิต **ปล่อยนกปล่อยปลา คนไทยมีความเช่อื วา่ การปล่อย นกปล่อยปลา ถือวา่ เปน็ การอโหสิกรรมและชาระบาปใน ส่วนท่ีตน เป็นผู้กอ่ อกี ทง้ั ทาใหเ้ คราะหร์ ้ายทีจ่ ะเกดิ ขนึ้ หมดไป
**ให้ทานแกผ่ ทู้ ่ขี ัดสน เชน่ คนชรา เดก็ พิการ เดก็ กาพร้า เป็นต้น **สรงน้าพระพุทธรปู และสรงนา้ พระภกิ ษสุ ามเณร
**การรดน้าขอพรผู้ใหญ่ ได้แก่ บิดา มารดา ญาติ ผู้ใหญ่ และบุคคลท่ีมีพระคุณ การรดน้าผู้ใหญ่ในวัน สงกรานต์ด้วยต้อง การขอขมาสิ่งที่อาจจะล่วงเกิน ผู้ใหญ่ ในบางคร้ัง รวมถึงเป็นการขอพรเพื่อเป็นสิริ มงคล และข้อคิดเตือนใจแก่ตนเอง อีกทั้งเพ่ือเป็นการ แสดงถึงความกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณอีกด้วย การรดนา้ ถือเป็นประเพณีท่สี ืบทอดกนั มาแต่โบราณซ่ึง แสดงถึงความกตัญญูกตเวทีของบุตรหลานท่ีมีต่อ บุพการีหรือญาติผู้ใหญ่ อีกท้ังเป็นการขอพรจากบิดา มารดาญาตผิ ู้ใหญ่ เพือ่ เป็นสิรมิ งคลในวนั ข้นึ ปีใหม่
**การละเล่นสาดน้า ประเพณีน้ีถือว่าเป็นสัญลักษณ์ ของ วั นสง กร า นต์เ ลยทีเดียว ด้ว ยง า นฉลอง วั น สงกรานต์นน้ั เป็นช่วง ฤดูรอ้ น ประเพณีเริม่ จากการท่ีมี การสรงน้าพระ และรดน้าญาติผู้ใหญ่ การเล่นสาดน้า น้ันนิยมกันในหมู่ของหนุ่มสาว น้าท่ีใช้สาดกันนั้นจะใส่ น้าอบ น้าหอม แต่ในปัจจุบันประเพณีอันดีงามอันนี้ได้ จา ง ห า ย ไป ต า ม ก า ล เ ว ล า แล ะ ยุ ค ส มัย ใ น ปั จ จุบั น มี ก า ร สาดน้ากันอย่างรุนแรง รวมถึงได้มีการนาอุปกรณ์ต่าง ๆ เขา้ มาใช้ในการละเล่นสาดนา้ มากขนึ้ ด้วย
หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอจอมทอง งานการ การศึกษาตามอัธยาศัย ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั อาเภอจอมทอง
Search
Read the Text Version
- 1 - 13
Pages: