เผยแพร่เอกสารประกอบการสอนวิชาคอมพวิ เตอร์เพอ่ื งานอาชพี รหสั 2001- 0001 โดย นายเจษฎา ถาวรนุวงศ์ วิทยาลัยเทคนิคภูเก็ต สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา พ.ศ. 2553
คอมพิวเตอร์เบ้ืองต้น หน่วยที่ 1 ใบเนื้อหา Operation Sheetสอนครัง้ ท่ี 1 เวลา 3 ชวั่ โมงสาระสาคญั คอมพวิ เตอร์ (Computer) คือเครื่องมือหรืออปุ กรณ์ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ท่มี ีความสามารถในการคานวณอัตโนมตั ิตามคาสัง่ สว่ นท่ีใช้ ประมวลผลเรียกวา่ หน่วยประมวลผล ชุดของคาสง่ั ทีร่ ะบุข้นั ตอนการคานวณเรยี กวา่ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ผลลพั ธท์ ่ีได้ออกมาน้ันอาจเปน็ ไดท้ ้งั ตัวเลข ขอ้ ความ รูปภาพ เสียง หรอื อยู่ในรูปอืน่ ๆอีกมากมายเน้ือหาสาระ1. ประวัตคิ อมพิวเตอร์ คอมพวิ เตอร์ (Computer) นิยมอา่ นในภาษาไทยว่า (คอม-พ้ิว-เตอ้ ) พัฒนาการทางด้านเทคโนโลยไี ด้พฒั นาไปอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งเทคโนโลยีทางดา้ น คอมพิวเตอร์ สามารถแบ่งพัฒนาการคอมพวิ เตอรจ์ ากอดตี สู่ปจั จบุ นั เปน็ ยคุ กอ่ นการใช้ไฟฟ้าอิเล็กทรอนคิ ส์ และยคุ ท่ีเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์เปน็อปุ กรณไ์ ฟฟา้ อิเลก็ ทรอนิคสด์ งั นี้ 1.1 ววิ ฒั นาการคอมพวิ เตอร์ คอมพิวเตอร์ยคุ แรก อยรู่ ะหว่างปี พ.ศ. 2488 ถงึ พ.ศ. 2501 เป็นคอมพวิ เตอร์ทใ่ี ชห้ ลอดสญุ ญากาศซ่งึ ใช้กาลงั ไฟฟ้าสูง จึงมีปัญหาเรอื่ งความร้อนและไส้หลอดขาดบ่อย ถึงแม้จะมีระบบระบายความรอ้ นทดี่ ีมาก การสัง่ งานใช้ภาษาเคร่ืองซึ่งเปน็ รหสั ตวั เลขท่ยี ่งุ ยาก ในปี พ.ศ. 2486 วิศวกรสองคน คอืจอหน์ มอชลี (John Mouchly) และ เจ เพรสเปอร์ เอด็ เคิสร์ (J.Presper Eckert) ไดพ้ ัฒนาเครอื่ งคอมพวิ เตอร์และจดั ไดว้ ่าเป็นเครอื่ งคอมพวิ เตอรท์ ใี่ ชง้ านทั่วไปเครอื่ งแรกของโลก ชื่อว่า อินิแอค (Electronic NumericalIntergrator And Calculator : ENIAC) ในปี พ.ศ.2488 จอห์น วอน นอยแมน (John Von Neumann) ไดเ้ สนอแนวคดิ ในการสร้างเคร่ืองคอมพวิ เตอรท์ ม่ี หี นว่ ยความจา เพอ่ื ใช้เกบ็ ข้อมูลและโปรแกรมการทางานหรอืชดุ คาสงั่ คอมพิวเตอรจ์ ะทางานโดยเรยี กชุดคาสงั่ ทีเ่ ก็บไวใ้ นหนว่ ยความจามาทางาน หลกั การนี้เป็นหลกั การท่ีใช้มาจนถึงปัจจบุ ัน
รปู 1.1 แสดงคอมพิวเตอร์ยคุ แรกคอมพิวเตอรย์ คุ ทสี่ อง อยูร่ ะหวา่ งปี พ .ศ. 2502 ถึง พ.ศ. 2506 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้ทรานซสิ เตอร์โดยมแี กนเฟอรไ์ รท์ เป็นหน่วยความจา มีอุปกรณ์เกบ็ ขอ้ มูลสารองในรปู ของสื่อบนั ทกึ แมเ่ หล็ก เชน่ จานแม่เหลก็ สว่ นทางด้านซอฟต์แวร์ก็มกี ารพัฒนาดขี ้ึน โดยสามารถเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษาระดับสงู ซงึ่ เปน็ภาษาทเ่ี ขียนเปน็ ประโยคที่คนสามารถเขา้ ใจได้ เชน่ ภาษาฟอรแ์ ทน ภาษาโคบอล เปน็ ตน้ ภาษาระดับ สูงน้ีไดม้ ีการพฒั นาและใช้งานมาจนถึงปัจจบุ นั ประมาณปี พ.ศ. 2508 ไดม้ กี ารพฒั นาสรา้ งทรานซสิ เตอร์จานวนมากลงบนแผน่ ซิลกิ อนขนาดเล็ก และเกิดวงจรรวมบนแผ่นซิลิกอนทเี่ รียกวา่ ไอซี การใชไ้ อซีเป็นสว่ นประกอบทาใหค้ อมพิวเตอรม์ ขี นาดเล็กลง ราคาถกู ลง จึงมบี รษิ ัทผลิตคอมพิวเตอ ร์กนั มากขึ้นคอมพิวเตอรข์ นาดเลก็ ลง เรยี กวา่ \"มนิ คิ อมพวิ เตอร์\" รูป 1.2 แสดงคอมพวิ เตอรย์ ุคทสี่ อง คอมพิวเตอร์ยุคทสี่ าม อยู่ระหว่างปี พ .ศ. 2507 ถงึ พ.ศ. 2512 เปน็ คอมพิวเตอร์ท่ีใชว้ งจรรวม(Integrated Circuit: IC) โดยวงจรรวมแต่ละตวั จะมที รานซิสเตอรบ์ รรจุอย่ภู ายในมากมายทาให้เคร่อื งคอมพิวเตอรไ์ ด้ถกู ออกแบบใหม้ ีความสลบั ซับซ้อนมากขนึ้ และสามารถสรา้ งเป็นโปรแกรมยอ่ ยๆ ในการกาหนดชดุ คาสัง่ ตา่ งๆ ทางดา้ นซอฟต์แวร์ ก็มรี ะบบควบคุมทีม่ คี วามสามารถสูงท้ังในรูประ บบแบ่งเวลาการทางานใหก้ ับงานหลายๆอย่าง
รูป 1.3 แสดงคอมพวิ เตอร์ยคุ ท่สี าม คอมพิวเตอรย์ ุคท่ีส่ี ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2513 เป็นยุคของ เทคโนโลยีทางดา้ นการผลิตวงจรอเิ ล็กทรอนิคส์ยงั คงพัฒนาอย่างต่อเน่อื ง มกี ารสรา้ งวงจรรวมท่ีมีขนาดใหญ่มารวมในแผน่ ซลิ กิ อน เรยี กว่า วแี อลเอสไอ(Very Large Scale Intergrated circuit : VLSI) เป็นวงจรรวมที่รวมเอาทรานซสิ เตอร์จานวนเปน็ ล้านตวั มารวมอยูใ่ นแผ่นซิลกิ อนขนาด เลก็ และผลิตเปน็ หนว่ ยประมวลผลของคอมพิวเตอร์ท่ซี ับซอ้ น เรียกว่าไมโครโปรเซสเซอร์ (microprocessor) การใช้ VLSI เป็นวงจรภายในเคร่อื งคอมพิวเตอร์ ทาให้ประสทิ ธิภาพของเคร่ืองคอมพิวเตอรส์ งู ข้ึน เรยี กว่า ไมโครคอมพิวเตอร์ ซง่ึ เปน็ เคร่อื งท่แี พร่หลายและมผี ใู้ ชง้ านกนั ท่ั วโลก การทคี่ อมพวิ เตอรม์ ีขีดความสามารถสูง เพราะ VLSI เพยี งชพิ เดยี วสามารถสรา้ งเป็นหนว่ ยประมวลผลของเครื่องทง้ั ระบบหรือเป็นหน่วยความจาท่มี ีความจสุ งู หรือเปน็ อุปกรณค์ วบคมุ การทางานต่างๆขณะเดียวกนั พัฒนาของฮารด์ ดสิ ก์กม็ ขี นาดเล็กลง ราคาถูกลง เครือ่ งไมโครคอมพวิ เตอร์จงึ มีขนาดเล็กลงเช่นปาลม์ ท๊อป (Palm top) โน้ตบุค๊ (Notebook) รปู 1.4 แสดงคอมพิวเตอร์ยคุ ที่สี่ คอมพิวเตอร์ยุคที่หา้ เปน็ คอมพิวเตอรท์ ่ีมนษุ ย์พยายามนามาเพ่ือชว่ ยในการตัดสนิ ใจและแก้ปญั หาใหด้ ยี ่งิ ขึ้น โดยจะมีการเก็บความรอบรตู้ า่ งๆ เข้าไวใ้ นเครือ่ ง สามารถเรียกคน้ และดงึ ความรู้ทสี่ ะสมไว้มาใช้งานให้เป็นประโยชน์ คอมพวิ เตอรย์ คุ นีเ้ ป็นผลจากวชิ าการด้านปญั ญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI)ประเทศตา่ งๆ ทัว่ โลกไมว่ า่ จะเป็นสหรฐั อเมริกา ญี่ปนุ่ และประเทศในทวีปยุโรปกาลงั สนใจคน้ ควา้ และ
พฒั นาทางดา้ นนกี้ นั อยา่ งจริงจงั ซบั ซ้อน เครื่องคอมพิวเตอรข์ องยุคนีม้ ีขนาดใหญ่โต เชน่ มารค์ วนั (MARKI), อีนแิ อค (ENIAC), ยูนิแวค (UNIVAC) เป็นคอมพิวเตอร์ยุคเครอื ข่าย เมอื่ ไมโครคอมพิวเตอร์มขี ดีความสามารถสูงข้นึ ทางานได้เร็ว การแสดงผล การจดั การขอ้ มูลสามารถประมวลได้ครงั้ ละมากๆ จึงทาให้คอมพวิ เตอร์สามารถทางานหลายงานพร้อมกัน (multitasking) ขณะเดยี วกนั กม็ กี ารเช่ือมโยงเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ในองค์กรโดยใช้เครอื ขา่ ยทอ้ งถิ่นที่เรยี กว่า Local Area Network : LAN เม่อื เชื่อมหลายๆ กลมุ่ขององคก์ รเขา้ ดว้ ยกันเกิดเปน็ เครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ขององค์กร เรียกว่า อนิ ทราเน็ต และหากนาเครอื ขา่ ยขององคก์ รเชื่อมตอ่ เขา้ สเู่ ครอื ข่ายสากลทต่ี อ่ เช่ือมกันทั่วโลก เรียกว่า อนิ เตอร์เน็ต (Internet) คอมพิวเตอรใ์ นยคุ ปัจจุบันจงึ เปน็ คอมพิวเตอรท์ เี่ ช่ือมตอ่ กัน ทางานร่วมกนั ส่งเอกสารขอ้ ความระหว่างกนั สามารถประมวลผลรูปภาพ เสยี ง และวดิ ที ศั น์ ไมโครคอมพิวเตอรใ์ นยคุ นจ้ี งึ ทางานกับส่อื หลายชนดิ ที่เรียกว่าสอื่ประสม รปู 1.5 แสดงคอมพิวเตอร์ยุคทีห่ า้2. ประวตั ิคอมพิวเตอรใ์ นประเทศไทย คอมพวิ เตอรใ์ นประเทศไทย เริม่ ใช้ในปี พ.ศ. 2506 โดยเรมิ่ ใชใ้ นการศกึ ษา วจิ ยั เครือ่ งที่ใช้ ครัง้ แรกคือ เครื่อง IBM 1620 ซึ่งตดิ ตงั้ ท่คี ณะพาณชิ ยศาสตร์และการบญั ชี จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั และใช้ในการทาสามะโนประชากร โดยใช้เคร่ือง IBM 1401 ซงึ่ ตดิ ตง้ั ท่สี านักงานสถิติแหง่ ชาติ ผทู้ ร่ี เิ รม่ิ นาเครอ่ื งคอมพิวเตอรม์ าใชใ้ นประเทศไทยคนแร ก คือ ศาสตราจารย์บณั ฑิต กนั ตะบุตร หวั หนา้ ภาควชิ าสถิติและเลขาธิการสถิติแหง่ ชาตจิ ากน้ันมา เครือ่ งคอมพวิ เตอร์กม็ ีใชใ้ นประเทศไทย ตามลาดบั ดังนี้ พ.ศ. 2507: ไดน้ าคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานธุรกจิ ขนาดใหญค่ อื บ.ปนู ซเี มนตไ์ ทยกับธนาคารกรุงเทพ พ.ศ. 2517: ไดน้ าคอมพวิ เตอรไ์ ปใช้งานท่ีตลาดหลกั ทรัพย์ ในดา้ นการซื้อขาย โดยใช้มินิคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2522: ได้นา ไมโครคอมพิวเตอร์ ไปใชใ้ นธรุ กจิ ขนาดเลก็ มากขึน้ พ.ศ. 2525: ได้นาคอมพวิ เตอร์มาใชใ้ นดา้ นการเรียนการสอน ไดแ้ ก่ มหาวิทยาลยั โรงเรยี นต่างๆและมกี าร เปดิ สอนวชิ าคอมพวิ เตอรก์ ันอยา่ งแพรห่ ลาย
รูป 1.6 แสดงคอมพิวเตอรใ์ นประเทศไทย3. ประเภทของคอมพวิ เตอร์ ลักษณะทางกายภาพของคอมพวิ เตอรน์ น้ั มหี ลากหลาย มที ้ังขนาดท่ีใหญม่ ากจนต้องใชห้ ้องทงั้ ห้องในการบรรจุ และขนาดเล็กจนวางไดบ้ นฝา่ มอื การจดั แบ่งประเภทของคอมพวิ เตอร์สามารถจัดแบง่ ได้ตามขนาดทางกายภาพเปน็ สาคัญ ซ่งึ มกั จะแปลผนั กับประสทิ ธภิ าพความเรว็ ในการประมวลผล โดยขนาดคอมพิวเตอร์ทม่ี ขี นาดใหญท่ ี่สุดเรยี กว่า ซเู ปอรค์ อมพิวเตอร์ ใชก้ ับการคานวณผลทางวิทยาศาสตร์ ขนาดรองลงมาเรยี กวา่ เมนเฟรม มกั ใช้ในบริษทั ขนาดใหญ่ทต่ี อ้ งมีการประมวลผลธุรกรรมทางธรุ กจิ จานวนมากๆ สาหรับคอมพวิ เตอร์ขนาดเลก็ ที่ใชใ้ นระดับบุคคลเรยี กว่า คอมพวิ เตอรส์ ว่ นบุคคล และคอมพิวเตอร์สว่ นบคุ คลทพ่ี กพาได้ เรียกวา่ คอมพิวเตอรโ์ นต้ บุ๊ค สว่ นคอมพิวเตอรข์ น าดเล็กท่สี ามารถวางบนฝา่ มือได้เรียกวา่ พีดเี อ อย่างไรกต็ ามคอมพิวเตอรม์ ใี ช้กันอยา่ งกวา้ งขวางมาก ซึ่งมีอุปกรณห์ ลายๆชนิดได้นาคอมพิวเตอรไ์ ปใช้เปน็ กลไกหลกั ในการทางาน เช่น กลอ้ งดิจทิ ลั เครอ่ื งเลน่ เอม็ พสี าม หรือในรถยนต์เองก็มีคอมพิวเตอร์ที่ใช้ชว่ ยในการตรวจสอบระบบการทางานของเคร่อื งยนต์ การพฒั นาไมโครชปิ ท่ที าหน้าท่ีเป็ นไมโครโพรเซสเซอรม์ ีการกระทาอยา่ งตอ่ เน่ืองทาให้มีคอมพิวเตอร์ร่นุ ใหม่ๆ ทดี่ ีกว่าเกดิ ข้นึ เสมอ จึงเปน็ การยากท่จี ะจาแนกชนิ ดของคอมพวิ เตอร์ออกมาอยา่ งชดั เจน เพร าะเทคโนโลยีไดพ้ ฒั นาอยา่ งรวดเร็ว ขีดความสามารถของคอมพวิ เตอร์ขนาดเลก็ อาจมีประสทิ ธิภาพสูงกวา่ คอมพวิ เตอร์ขนาดใหญ่ แต่อย่างไรก็ตามพอจะจาแนกชนิดคอมพวิ เตอร์ตามสภาพการทางานของระบบเทคโนโลยที ป่ี ระกอบอยู่และสภาพการใช้งานได้ดงั นี้ 3.1 ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro Computer) ไมโครคอมพวิ เตอรเ์ ปน็ เครอื่ งคอมพวิ เตอร์ทม่ี ขี นาดเลก็ บางคนเหน็ ว่าเปน็ เครอื่ งคอมพิวเตอรท์ ี่ใช้งานส่วนบคุ คล หรือเรยี กว่า พซี ี (Personal Computer: PC) สามารถใชเ้ ป็นเคร่ืองต่อเชื่อมในเครือขา่ ย หรอื ใช้เป็นเครื่องปลายทาง (Terminal) ซง่ึ อาจจะทาหนา้ ท่เี ปน็ เพียงอุปกรณร์ บั และแสดงผลสาหรับป้อนขอ้ มูลและดูผลลัพธ์ โดยดาเนนิ การประมวลผลบนเครอ่ื งอน่ื ในเครอื ข่ายอาจจะกลา่ วไดว้ า่
ไมโครคอมพิวเตอร์ คอื เครอ่ื งคอมพิวเตอรท์ ่มี หี น่วยประมวลผลกลางเปน็ ไมโครโพรเซสเซอร์ ใช้งา นง่ายทางานในลักษณะส่วนบคุ คลได้สามารถแบง่ แยกไมโครคอมพิวเตอรต์ ามขนาดของเครอื่ งไดด้ งั นี้ คอมพิวเตอรแ์ บบต้ังโต๊ะ (Desktop Computer) เป็นไมโครคอมพิวเตอร์ท่ีมีขนาดเล็กถกู ออกแบบมาใหต้ ง้ั บนโต๊ะ มีการแยกชิ้นสว่ นประกอบเป็น ซพี ียู จอภาพ และแผงแป้นอกั ขระ รูป 1.7 แสดงคอมพิวเตอร์แบบต้งั โต๊ะ (Desktop Computer) แลป็ ทอ็ ปคอมพวิ เตอร์ (Laptop Computer) เปน็ ไมโครคอมพวิ เตอรข์ นาดเลก็ ท่วี างใชง้ านบนตกั ได้จอภาพทใ่ี ช้เป็นแบบแบนราบชนดิ จอภาพผนึกเหลว (Liquid Crystal Display: LCD) นา้ หนักของเครอื่ งประมาณ 3-8 กโิ ลกรัม รปู 1.8 แสดงแล็ปทอ็ ปคอมพิวเตอร์ (Laptop Computer) โน้ตบุค๊ คอมพวิ เตอร์ (Notebook Computer) เปน็ ไมโครคอมพิวเตอร์ทีม่ ขี นาดและความหนา น้อยกว่า แล็ปทอ็ ป นา้ หนักประมาณ 1.5-3 กโิ ลกรัม จอภาพแสดงผลเปน็ แบบราบชนดิ มีทงั้ แบบแสดงผลสเี ดียวหรือแบบหลายสี โนต้ บ๊คุ ท่ีมขี ายท่วั ไปมปี ระสทิ ธภิ าพและความสามารถเหมอื นกบั แล็ปท็อป
รูป 1.9 แสดงโนต้ บคุ๊ คอมพิวเตอร์ (Notebook Computer) ปาล์มทอ็ ปคอมพวิ เตอร์ (Palmtop Computer) เปน็ ไมโครคอมพิวเตอรส์ าหรับทางานเฉพาะอย่างเชน่ เปน็ พจนานกุ รม เปน็ สมุดจนบันทึกประจาวัน บันทกึ การนดั หมายและการเกบ็ ข้อมูลเฉพาะบางอยา่ งท่ีสามารถพกพาตดิ ตวั ไปมาไดส้ ะดวก รูป 1.10 แสดงปาล์มท็อปคอมพวิ เตอร์ 3.2 มนิ ิคอมพิวเตอร์ (Mini Computer) มินคิ อมพวิ เตอร์เปน็ เครอ่ื งทีส่ ามารถใชง้ านพร้อมๆ กนั ได้หลายคน จึงมเี คร่ืองปลายทางตอ่ได้ มนิ คิ อมพิวเตอร์ เป็นคอมพวิ เตอรท์ ีม่ ีราคาสงู สถานงี านวิศวกรรม นามาใชส้ าหรบั ประมวลผลในงานสารสนเทศขององคก์ ารขนาดกลาง จนถงึ องค์การขนาดใหญท่ ี่มีการวางระบบเป็นเครอื ขา่ ยเพือ่ ใชง้ านร่วมกนั เช่น งานบญั ชีและการเงิน งานออกแบบทางวิศวกรรม งานควบคุมการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมมนิ ิคอมพิวเตอร์เปน็ อุปกรณ์ที่สาคัญในระ บบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอรข์ ององคก์ ารทเี่ รยี กว่าเครอ่ื งให้บริการ(Server) มีหน้าทใ่ี ห้บริการกับผ้ใู ชบ้ รกิ าร (Client) เช่น ใหบ้ ริการแฟม้ ขอ้ มลู ใหบ้ ริการข้อมลู ใหบ้ รกิ ารช่วยในการคานวณ และการส่ือสาร
รูป 1.11 แสดงมนิ ิคอมพิวเตอร์ 3.3 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) เมนเฟรมคอมพิวเตอรเ์ ป็นเครอื่ งคอมพิวเตอร์ขนาดใหญท่ ี่มีการพัฒนามาตัง้ แตเ่ รม่ิ แรกเหตุท่เี รยี กวา่ เมนเฟรมคอมพวิ เตอร์ เพราะตวั เครอื่ ง ประกอบด้วยต้ขู นาดใหญท่ ีภ่ ายในตมู้ ีชิน้ ส่วนและอปุ กรณ์ต่างๆ อย่เู ปน็ จานวนมาก แต่อยา่ งไ รกต็ ามในปัจจบุ นั เมนเฟรมคอมพวิ เตอร์มขี นาดลดลงมากเมนเฟรมเป็นเครอ่ื งคอมพิวเตอรท์ มี่ ีราคาสูงมาก มกั อยูท่ ศ่ี ูนย์คอมพวิ เตอรห์ ลักขององค์กร และต้องอย่ใู นห้องท่มี ีการควบคมุ อุณหภมู ิและมกี ารดูแลรกั ษาเปน็ อยา่ งดีบริษัทผผู้ ลิตเมนเฟรมได้พฒั นาขีดความสามารถของเครื่องใหส้ งู ขึน้ ข้อเด่นของการใชเ้ มนเฟรมอยทู่ ีง่ านท่ตี ้องการให้มีระบบศนู ย์กลาง และกระจายการใช้งานไปเปน็ จานวนมาก เช่น ระบบเอทเี อ็มซึ่งเช่อื มตอ่ กบั ฐานขอ้ มลู ท่จี ดั การโดยเคร่อื งเมนเฟรม อยา่ งไรก็ตามขนาดของเมนเฟรมและมนิ คิ อมพวิ เตอรก์ ็ยากท่ีจะจาแนกจากกันให้เหน็ ชัดปัจจุบันเมนเ ฟรมได้รับความนยิ มนอ้ ยลง ทัง้ นี้เพราะคอมพวิ เตอร์ขนาดเล็กมปี ระสทิ ธภิ าพและความสามารถดขี ึ้น ราคาถูกลงขณะเดยี วกนั ระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอรก์ ็ดขี ึ้นจนทาให้การใชง้ านบนเครือข่ายกระทาได้เหมอื นการใชง้ านบนเมนเฟรม รูป 1.12 แสดงเมนเฟรมคอมพวิ เตอร์
3.4 ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) ซูเปอร์คอมพวิ เตอรเ์ ป็นเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ทีเ่ หมาะกับงานคานวณท่ีตอ้ งมีการคานวณตัวเลขจานวนหลายลา้ นตวั ภายในเวลาอนั รวดเร็ว เช่น งานพยากรณอ์ ากาศ ทต่ี ้องนาข้อมลู ต่างๆ เกี่ยวกับอากาศท้งั ระดบั ภาคพื้นดนิ และระดบั ชัน้ บรรยากาศเพอ่ื ดูการเคล่อื นไหวและการเปลย่ี นแปลงของอา กาศงานนีจ้ าเป็นตอ้ งใช้เครือ่ งคอมพิวเตอรท์ ม่ี ีสมรรถนะสูงมาก นอกจากนีม้ งี านอกี เป็นจานวนมากทตี่ ้องใช้ซูเปอร์คอมพิวเตอรซ์ ึง่ มคี วามเร็วสงู เช่น งานควบคมุ ขีปนาวุธ งานควบคมุ ทางอวกาศ งานประมวลผลภาพทางการแพทย์ งานดา้ นวทิ ยาศาสตร์ โดยเฉพาะทางด้านเคมี เภสชั วิทยา และงานด้านวิศวกรรมการออกแบบซเู ปอรค์ อมพิวเตอรท์ างานได้เร็ว และมปี ระสิทธิภาพสงู กว่าคอมพิวเตอรช์ นิดอ่ืน การทซ่ี เู ปอรค์ อมพวิ เตอร์ทางานไดเ้ รว็ เพราะมกี ารพฒั นาใหม้ โี ครงสรา้ งการคานวณพิเศษ เชน่ การคานวณแบบขนานท่ีเรยี กว่า เอม็ พีพี (Massively Parallel Processing: MPP) ซ่ึงเปน็ การคานวณท่กี ระทากับขอ้ มลู หลายๆ ตวั ในเวลาเดียวกัน รูป 1.13 แสดงซเู ปอรค์ อมพวิ เตอร์4. องค์ประกอบทางดา้ นฮารด์ แวร์ (Hardware) จากความหมายของ \"คอมพวิ เตอร์\" ก็คงจะมองออกวา่ คอมพิวเตอร์จะทางานได้ ต้องประกอบดว้ ยส่วนการทางานอะไรบา้ ง น่นั คอื คอมพิวเตอร์ตอ้ งประกอบดว้ ยส่วนรับข้อมลู และคาสั่ง ส่วนประมวลผลสว่ นที่ใชแ้ สดงผลลพั ธ์จากการประมวลผล และสว่ นในการเก็บบันทึกข้อมลู ซง่ึ เรียกรวมกนั ว่า\"องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ \" อนั ไดแ้ ก่สว่ นท่ีทาหนา้ ท่รี ับขอ้ มูล และคาส่งั เรียกว่า หน่วยรับข้อมลู(Input Unit) สว่ นท่นี าเอาขอ้ มูลและคาสง่ั ไปประมวลผล เรยี กวา่ หนว่ ยประมวลผลกลาง (CentralProcessing Unit: CPU) ส่วนท่ที าหนา้ ท่แี สดงผลลพั ธ์เรยี กว่า หนว่ ยแสดงผล (Output Unit) ส่วนทท่ี าหนา้ ที่บันทึกคาส่ังและข้อมลู อย่างถาวร เรียกวา่ หน่วยความจารอง (Secondary Storage Unit)ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถงึ ตัวเครือ่ งและอุปกรณ์ส่วนตา่ งๆ ทีส่ ามารถสัมผสั และจับตอ้ งได้ ฮาร์ดแวร์จะประกอบดว้ ยส่วนทีส่ าคัญ 4 สว่ น ดงั นี้ คือ 1. หนว่ ยประมวลผล (Processor) 2. หนว่ ยความจา (Memory) 3. อปุ กรณร์ บั เขา้ และสง่ ออก (Input – Output Devices)
4. ช่องทางสาหรบั อุปกรณต์ ่อพ่วง (Port) รูป 1.14 แสดงฮาร์ดแวร์ 4.1 หนว่ ยประมวลผล (Processor) ในระบบคอมพิวเตอรม์ หี น่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) หรอื เรยี กย่อว่าซีพียู (CPU) ซง่ึ มีความหมายทางด้านฮาร์ดแวร์ 2 ชนดิ คอื 1. ชิป (Chip) ทที่ าหน้าทค่ี วบคมุ การทางานของเครือ่ งคอมพิวเตอร์ รปู 1.15 แสดงชปิ (Chip) 2. ตวั เคร่อื งคอมพวิ เตอรห์ รอื กล่องเครอื่ ง ท่ีมีตัวชิปหรอื ซพี ียูบรรจุอยซู่ พี ียูคือชปิ คอมพิวเตอร์ท่ที าหน้าทีเ่ ปน็ สมองของระบบคอมพิวเตอร์ ในการควบคมุ การทางานของเคร่ือง รปู 1.16 แสดงกล่องเครื่อง
4.2 หน่วยความจา (Memory) หน่วยความจา (Memory) สามารถแยกประเภทได้ดังนี้ 1. หนว่ ยความจาหลัก (Main Memory) 2. หนว่ ยความจาสารอง (Secondary Storage) หนว่ ยความจาหลกั (Main Memory) หน่วยเก็บขอ้ มูลและคาสั่งต่างๆ ของเครื่องคอมพวิ เตอร์ประกอบด้วยชุดความจาขอ้ มลู ที่สามารถบอกตาแหน่งท่ีเกบ็ ขอ้ มลู หรอื คาส่งั โดยขอ้ มูลจะถกู นาไปเก็บไว้และสามารถนาออกมาใชใ้ นการประมวลผลภายหลัง ซึ่งมีซีพยี ูช่วยทาหนา้ ที่ในการนาขอ้ มูลเข้าและออกจากหน่วยความจา การทางานของคอมพวิ เตอรจ์ าเปน็ ตอ้ งใช้พนื้ ท่ขี องหนว่ ยความจาในการทางานประมวลผลและเกบ็ ข้อมลู ซึง่ สามารถหาขนาดความจุของหน่วยความจาได้ โดยคานวณได้จากคา่ จานวนพ้ืนที่ที่สามารถใชใ้ นการเกบ็ ขอ้ มลู จานวนพ้นื ที่ คือจานวนข้อมลู และขนาดของโปรแกรมที่สามารถเกบ็ ไดส้ ูงสุดในขณะทางาน ถ้าพน้ื ท่ีของหนว่ ยความจามีมากจะช่วยให้เครือ่ งคอมพวิ เตอร์ทางานได้เร็วมากยิ่งขึ้นดว้ ยหนว่ ยความจาหลักสามารถแบง่ ไดอ้ กี 2ประเภท คอื 1. แรม (RAM = Random Access Memory) 2. รอม (ROM = Read Only Memory) แรม (RAM = Random Access Memory) เปน็ หน่วยความจาทต่ี ้องอาศยั กระแสไฟฟ้าเพื่อรักษาข้อมูล ซง่ึ ข้อมลู หรือแฟ้มข้อมลู จะถูกเก็บไวช้ ว่ั คราวในขณะทางาน จนกวา่ จะปิดเครือ่ งคอมพิวเตอร์หรือไม่มีกระแสไฟฟา้ ป้อนส่งใหก้ บั เคร่อื ง เมอ่ื ปดิ เครื่องหรือไฟฟ้าดบั ขอ้ มลู ทถี่ ูกเกบ็ ไว้จะถูกลบหายไป “เรียกหนว่ ยความจาประเภทนี้วา่ หนว่ ยความจาแบบลบเลือนได้ (Volatile Memory)” รูป 1.17 แสดงแรม (RAM = Random Access Memory) รอม (ROM = Read Only Memory) เปน็ หน่วยความจาทใ่ี ชใ้ นการเก็บโปรแกรมหรือข้อ มูลพื้นฐานเกี่ยวกบั เคร่อื งคอมพิวเตอร์ ขอ้ มลู ทเ่ี กบ็ ในหน่วยความจาประเภทนจี้ ะอยแู่ บบถาวรไมข่ น้ึ กับไฟฟ้าที่ป้อนให้กับวงจร ยอมให้ซีพยี อู า่ นข้อมูลหรอื โปรแกรมไปใชง้ านอย่างเดยี ว ไม่สามารถเขยี นข้อมลู ลงไปเก็บไวไ้ ด้โดยงา่ ย ต้องใชเ้ ทคนคิ พิเศษช่วย ส่วนใหญ่ใชใ้ นการเกบ็ โปรแกรมควบคมุ เรียกหน่วยความจาประเภทนวี้ า่หน่วยความจาแบบไม่ลบเลือน (Nonvolatile Memory)
หนว่ ยความจาสารอง (Secondary Storage) มไี วส้ าหรบั สารองหรือทางานกบั ขอ้ มลู และโปรแกรมขนาดใหญ่ เนอื่ งจากขนาดของหนว่ ยความจาหลักมจี ากัด หนว่ ยความจาสารองสามารถเก็บไว้ไดห้ ลายแบบเชน่ แผ่นบันทกึ (Floppy Disk) จานบันทกึ แบบแขง็ (Hard Disk) แผ่นซดี ีรอม (CD-ROM) และจานแสดงแม่เหลก็ เปน็ ต้น จานบนั ทกึ ขอ้ มูลแบบแขง็ (Hard Disk) ประกอบด้วยแผน่ จานแมเ่ หล็กตง้ั แต่หนึง่ แผน่ จนถงึ หลายแผ่นและเครอื่ งขับจาน (Hard Disk Drive) เป็นสว่ นอุปกรณฮ์ ารด์ แวร์ มมี อเตอร์ทาหนา้ ท่หี มนุ แผ่นจานแม่เหลก็ ด้วยความเรว็ สงู มหี ัวแมเ่ หล็กทาหน้าทีอ่ า่ นและเขียนข้อมูลต่างๆ ลงบนผิวของแผ่นดงั กล่าวตามคาส่ังของโปรแกรมหรอื ผูป้ ฏบิ ตั งิ าน หัวอ่านและเขียนไมไ่ ด้สมั ผสั แผน่ โดยตรงแตเ่ คล่อื นท่ีผ่านแผ่นไปเทา่ นน้ั ส่วนการบนั ทึกข้อมลู ได้จานวนมากเพียงใดนั้นขน้ึ อยกู่ บั เครอ่ื งและร่นุ ทใี่ ช้ปัจจุบนั สามารถเก็บข้อมลู ไดต้ ั้งแต่ขนาด 500 เมกะไบต์ (Megabyte) จนถงึ 500 จกิ ะไบต์ (Gigabyte) หรอื มากกวา่ รปู 1.18 แสดงจานบันทกึ ขอ้ มูลแบบแขง็ Hard Disk แผน่ บันทึกหรือฟล็ อปปีด้ สิ ก์ (Floppy Disk) เปน็ หน่วยความจารอง ตัวแผ่นทาดว้ ยพลาสติกชนิดอ่อนมาตรฐานที่นยิ มใชใ้ นขณะนี้จะมขี นาดเสน้ ผา่ นศูนย์กลาง 3.5 นิว้ ความจขุ อ้ มลู 1.44 เมกะไบต์ บรรจุในซองพลาสติกแขง็ เพ่ือป้องกันแผ่นบนั ทกึ ไมใ่ ห้เสียหายงา่ ย ใช้เปน็ ส่ือในการถ่ายโอนหรือสาเนาแฟม้ ข้อมลูนอกจากนยี้ งั มแี ผน่ บันทกึ ชนดิ พเิ ศษสามารถเกบ็ ข้อมูลเป็นจานวนมากถึง 200 เมกะไบต์หรือมากกวา่ นนั้เช่น ซปิ ดสิ ก์ (Zip disk) แจซ๊ ดิสก์ (Jaz Disk) เป็นตน้ เครือ่ งคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน แผน่ บันทึกหรอื ฟล็อปป้ีดสิ ก์เลกิ ใช้แล้ว รูป 1.19 แสดงฟลอ็ ปปด้ี ิสก์ (Floppy Disk) ซดี รี อม (CD-ROM) ซดี ี ย่อมาจากคอมแพ็กดิสก์ และรอมเปน็ คาเดียวกับหนว่ ยความจาแบบรอมคาวา่ Read Only Memory แผ่นซีดีรอม (CD-ROM) หรือแผ่นซีดี เป็นแผ่นบนั ทึกข้อมลู ที่ใหเ้ ครอื่ งคอมพิวเตอร์อ่านข้อมลู ที่บันทกึ ไวอ้ อกมาใช้ ไมส่ ามารถบันทกึ ขอ้ มูลลงไปได้ ใช้อา่ นอย่างเดียว ลักษณะคล้ายแผ่นซดี ี
เพลง ใช้ระบบแส งเลเซอร์ในการอ่าน ข้อมูลท่เี กบ็ เปน็ ไดท้ ั้งตวั อกั ษร ตวั เลข เสียง และภาพกไ็ ด้ มคี วามจุประมาณ 650 เมกะไบต์ หรอื มคี วามจมุ ากกวา่ แผน่ เก็บขอ้ มลู ประมาณ 450 เทา่ หรือสามารถเก็บข้อมลู จากหนังสอื ประมาณ 500 เล่ม รูป 1.20 แสดงซีดรี อม(CD-ROM) 4.3 อปุ กรณร์ ับเข้าและส่งออก (Input – Output Device) อปุ กรณร์ บั เขา้ (Input Device) คอื ส่วนที่สามารถรบั ข้อมูลท่ีมาจากภายนอกโดยผา่ นอุปกรณ์อื่นๆ เช่น คีย์บอรด์ หรอื แผงแปน้ อกั ขระ เมาส์ ไมโครโฟน โมเด็ม และอืน่ ๆ รปู 1.21 แสดงอปุ กรณร์ บั เข้า แปน้ พิมพ์ (Keyboard) เป็นอุปกรณ์ทีส่ าคญั ของเคร่ืองคอมพวิ เตอร์สามารถรบั ขอ้ มูลจากการกดแป้นพิมพเ์ พอ่ื ต่อไปใหก้ ับคอมพวิ เตอรแ์ ปน้ พมิ พท์ ่นี ิยมใช้จะมี 101 แป้น และยกแปน้ อกั ขระและตัวเลขออกจากกนั สว่ นบนจะเปน็ แป้นคาสั่งพเิ ศษเพื่อให้ใช้งานได้สะดวกข้นึ รปู 1.22 แสดงแป้นพิมพ์ (Keyboard)
เมาส์ (Mouse) เมาสแ์ ปลว่าหนูเป็นอปุ กรณ์ท่ีมีลักษณะคล้ายตัวหนดู ังแสดงในรูปส่วนของสายสญั ญาณจากตัวอปุ กรณ์ทีต่ อ่ กับเคร่ืองคอมพิวเตอรม์ ีลักษณะคล้ายส่วนหางของหนู ใชเ้ มาส์ในการควบคุมตัวช้ี (Pointer) ทีป่ รากฏบนจอภาพใหส้ ามารถเล่อื นไปสตู่ าแหน่งตา่ งๆ ท่ตี ้องการได้โดยง่าย สามารถใช้ร่วมกบั โปรแกรมในการควบคมุ คาสั่งก็ได้ จะมปี ุ่มควบคุม 2 ปุ่มดว้ ยกนั โดยทาหน้าทแ่ี ตกต่างกนั ดงั นนั้ ปุ่มซา้ ยมอื ถา้ กดหน่ึงครั้งหมายถึงการเลือกและถ้ากดสองคร้ังติดต่อกนั หมายถึงสัง่ ให้โปรแกรมหรือรูปทเ่ี ลอื กทางาน ป่มุ ขวามือ ถ้ากดใหแ้ สดงฟงั กช์ นั พิเศษโดยใช้ตัวช้ีเปน็ ตัวเลือกฟงั กช์ นั ทตี่ ้องการได้ เมาส์ (Mouse)ในปัจจบุ ันมกี ารพัฒนาเมาสใ์ หม้ ีรูปร่างสวยงามและกะทัดรัดตอ่ การใชง้ า น บางรุ่นอาจมีลูกกลิง้ (TrackBall) เพือ่ เพม่ิ ประสทิ ธิภาพในการใชง้ านได้ดว้ ย เมาสร์ ่นุ ใหม่ไดร้ ับการออกแบบให้ มีรูปทรงทันสมัย ใช้งานง่ายและสะดวกเพราะบางรนุ่ ไมต่ ้องใชล้ ูกกลิง้ และมีจานวนปมุ่ เมาสม์ ากถึง 4 ปุ่ม ทง้ั ยงั ติดตง้ั ป่มุ ควบคมุScroll สาหรับการเลอ่ื นเอกสารขึ้นลงโดยไม่ต้องเคล่อื นเมาส์ และด้วยเทคโนโลยีใหม่กับการส่งสัญญาณด้วยแสง ทาใหส้ ามารถเคลือ่ นเมาส์ได้รวดเรว็ บนพ้นื ผิวทกุ ประเภท รปู 1.23 แสดงเมาส์ จอยสตกิ (Joy Stick) และเกมพอร์ต (Game Port) เปน็ อปุ กรณ์สาหรบั ควบคุมการเล่นเกมคอมพวิ เตอร์ มปี ่มุ ส่งั งานพเิ ศษทางานโดยการควบคุมผ่านสายสญั ญาณที่เชอื่ มต่อเขา้ กบั เกมพอร์ตของเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ รูป 1.24 แสดงจอยสตกิ และเกมพอร์ต
อปุ กรณ์สง่ ออก (Output Device) คือส่วนท่ีสามารถสง่ ข้อมูลทมี่ อี ยู่ภายในเคร่อื ง โดยผ่านชอ่ งสญั ญาส่งออกเพ่อื ไปแสดงผลท่อี ุปกรณ์อื่นๆได้ เชน่ จอภาพ เครอ่ื งพิมพ์ ลาโพง โมเดม็ และอน่ื ๆ รปู 1.25 แสดงอุปกรณ์สง่ ออก (Output Device) จอภาพแสดงผล (Monitor) จอภาพเป็นอปุ กรณแ์ สดงขอ้ มูลผลลัพธท์ ี่เกิดจากการประมวลผลจากเครือ่ งคอมพิวเตอร์ สามารถแสดงผลได้ท้ังตวั หนังสอื ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว โดยทว่ั ไปนยิ มใช้แบบจอภาพสี สามารถแสดงระดับความแตกตา่ งของสตี ้งั แต่ 16, 256, 65,536 และ 16,177,216 สี ความละเอียดของจุดภาพท่ีเรียกวา่ พกิ เซล (Pixel) ในการแสดงผลทปี่ รากฏบนหน้าจอภาพข้ึนอยู่กบั ขนาดแมทริกซข์ องการแสดงผล เช่น 640 x 480, 800 x 600, 1024 x 768 และ 1280 x 1024 จุด รปู 1.26 แสดงจอภาพแสดงผล (Monitor)
เคร่ืองพมิ พ์ (Printer) เครื่องพิมพเ์ ป็นอุปกรณท์ ่ใี ชใ้ นการพิมพผ์ ลภาพหรอื การรายงานผลการตรวจมที ้งั ชนดิ เครือ่ งพมิ พ์แบบจดุ (Dot Matrix Printer) เครื่องพมิ พเ์ ลเซอร์ (Laser Printer) และเคร่ืองพิมพแ์ บบฉีดหมกึ (Inkjet Printer) ความคมชัดของภาพหรือตัวหนังสอื ประมาณ 600 จุดต่อนิว้ หรือสูงกวา่ การเลือกใชเ้ ครื่องพมิ พ์ขน้ึ อยูก่ บั ความต้องการของผใู้ ช้ว่ามีความตอ้ งการคุณภาพของงานและจานวนสอี ยา่ งไร รูป 1.27 แสดงเคร่ืองพมิ พ์ (Printer) ลาโพง (Speaker) เป็นอปุ กรณ์เสริมเพ่ือใหผ้ ู้ใช้คอมพิวเตอร์สามารถใชง้ านระบบสอ่ื ประสม(Multimedia) ไดโ้ ดยสามารถดูหนังท่ีมเี สียงประกอบจากแผ่นซีดีฟงั เพลงหรอื เสยี งตา่ งๆทเี่ กดิ จากโปรแกรมทสี่ รา้ งขึ้นทาให้มีความสมบูรณใ์ นการใช้งานไดด้ ีโดยทัว่ ไปเครื่องคอมพิวเตอรจ์ ะมีลาโพงในตวั เพ่อื ใช้ งานอย่แู ล้วแตม่ รี ะบบเสียงไมด่ ีสามารถซอ้ื ลาโพงท่ีมเี คร่อื งขยายเสียงในตวั มาเพม่ิ เติมไดโ้ ดยเพิ่มแผ่นวงจรเสียงเขา้ ไปในเคร่ืองเพือ่ ให้สามารถตอ่ ระบบลาโพงภายนอกได้ รปู 1.28 แสดงลาโพง (Speaker)
4.4 ชอ่ งทางสาหรบั อปุ กรณ์ต่อพ่วง (Port) รปู 1.29 แสดงอปุ กรณต์ ่อพ่วง (Port) ชอ่ งนาเขา้ และออกแบบขนาน (Parallel Port) อยู่ดา้ นหลังเคร่อื งคอมพวิ เตอร์ โดยใช้ตอ่ เครอื่ งพิมพ์(Printer) เคร่อื งกวาดภาพ (Scanner) หรืออปุ กรณอ์ ่นื ก็ได้ การรับส่งขอ้ มูลเปน็ แบบขนาน สายทใี่ ช้ต่ออปุ กรณ์เป็นแบบเซนทรอนิกส์ (Centronics) ส่วนใหญ่จะเป็นช่องแบบตัวเมีย 25 พินเรยี กวา่ ชอ่ งนาเขา้ และนาออกแบบ DB25-PIN มี 2 แถว (แถวบนมี 13 พินและแถวล่างมี 12 พิน) ในการใชง้ านทว่ั ไปเรียกชอ่ งนวี้ ่าLPT ซงึ่ ยอ่ มาจากคาว่า Line Printer ถ้ามี 2 ช่อง จะเรียกวา่ LPT1 และ LPT2 รูป 1.30 แสดงช่องนาเข้าและออกแบบขนาน (Parallel Port) ช่องนาเขา้ และออกแบบอนกุ รม (Serial Port) อยดู่ า้ นหลังเครอ่ื งคอมพวิ เตอรเ์ ช่นเดียวกบั แบบขนานจะใช้ต่อโมเด็ม (Modem) เมาส์ (Mouse) หรืออุปกรณอ์ ืน่ การรับส่งข้อมลู เป็นแบบอนกุ รมหรอื แบบเรียงกันไปทลี ะค่า การต่อสายเปน็ แบบมาตรฐาน RS-232 ชอ่ งนาเข้าชนิดน้ที ่ีใชเ้ ป็นแบบตัวผู้ 25 พนิ (DB25-PIN)หรือแบบ 9 พนิ (DB9-PIN) อาจมี 1 หรอื 2 ช่องกไ็ ด้ เรียกว่า COM1 และ COM2 รูป 1.31 แสดงชอ่ งนาเขา้ และออกแบบอนกุ รม (Serial Port)
ชอ่ งนาเข้าและออกแบบ USB (USB Port) เปน็ พอร์ตท่ีได้รับความนยิ มมากในขณะนี้ เนื่องจากตดิ ตั้งใชง้ านงา่ ยกว่าแบบอื่น สามารถตอ่ อุปกรณต์ ่างๆ ได้มากชนิดกวา่ แบบอนุกรมและแบบขนาน รปู 1.32 แสดงช่องนาเขา้ และออกแบบ USBบทสรปุ เคร่อื งคอมพิวเตอรท์ ี่สามารถ จะทางานได้ประกอบด้วย ฮาร์ดแวรท์ ีส่ าคญั 4 สว่ น คือหน่วยประมวลผล (Processor) หน่วยความจา (Memory) อุปกรณ์รับเขา้ และส่งออก (Input – Output Devices)ชอ่ งทางสาหรับอปุ กรณ์ตอ่ พว่ ง (Port)
การติดตงั้ อุปกรณ์คอมพวิ เตอร์ หน่วยท่ี 3 ใบเนอ้ื หา Operation Sheetสอนครง้ั ท่ี 3 เวลา 3 ชัว่ โมงสาระสาคญั อุปกรณค์ อมพิวเตอร์ คือ อปุ กรณท์ เ่ี ปน็ ช้ินสว่ นทน่ี ามาประกอบกนั เป็นตัวเครือ่ ง คอมพวิ เตอร์ และจะรวมไปถึ ง อุปกรณต์ อ่ พ่วงทน่ี ามาใชง้ านร่วมกนั กับ คอมพิวเตอร์ อีกด้วย คอมพวิ เตอร์เป็นอปุ กรณ์ท่ีมนุษยไ์ ดค้ ิดประดิษฐ์ขึน้ เพื่อนามาเสรมิ ความสามารถของมนุษย์ในดา้ นกา รรับรู้ การจา การคานวณ การเปรยี บเทียบตดั สนิ ใจ และการแสดงออก ดงั น้ันคอมพวิ เตอรจ์ ึงมีโครงสร้างทป่ี ระกอบดว้ ยส่วนต่างๆ ให้สามารถทางานเปน็ ระบบสนองความต้องการของมนุษย์เนื้อหาสาระ1. การติดตงั้ อปุ กรณค์ อมพิวเตอร์ ก่อนท่ีจะเร่มิ ทาการประกอบเคร่อื งคอมพิวเตอร์ สงิ่ แรกจะตอ้ งทากค็ อื การจัดเตรยี มอปุ กรณท์ จี่ ะนามาประกอบ ซงึ่ การที่ จะเตรียมอปุ กรณ์ ต้องดูที่ความเหมาะสมกับงานท่ี ใช้ และความ เข้ากนั ได้ของอปุ กรณ์แตล่ ะประเภท ซึ่งมีอุปกรณท์ ีผ่ ลติ จ ากหลายบรษิ ทั โดยสว่ นใหญ่ท่ีจะเป็นปัญหามากทส่ี ดุ คอื การเลือกซื้อ CPU และ Mainboard เนอ่ื งจากวา่ อุปกรณท์ ัง้ สองอย่างจาเป็นตอ้ งเข้ากนั ได้ และมบี รษิ ัททผ่ี ลติCPU หลายบริษัทดว้ ยกันทาให้ต้องพิจารณาเลอื กซอ้ื ให้เหมาะสม ดังนั้นในสว่ นของการเตรยี มการ จะมาพจิ ารณาถงึ อปุ กรณแ์ ต่ละประเภทว่าเหมาะทจ่ี ะใชก้ ับงานประเภทไหน ดงั นี้2. การติดต้ังฮาร์ดไดรฟ์ (Hard Drive) Drive เป็นอุปกรณ์ทีใ่ ช้เกบ็ ข้อมลู ของคอมพวิ เตอร์ ฮารด์ ไดรฟ์ กค็ อื อุปกรณ์ ซึ่งใช้ในการเกบ็ ขอ้ มูลฮาร์ดไดร์ฟ เปรยี บเหมือนตู้เอกสาร ฉะนั้นยงิ่ ฮาร์ดไดร์ฟ มขี นาดใหญ่เท่าไรกย็ ิ่งเกบ็ ขอ้ มูลไดม้ ากข้นึ เท่านัน้หนว่ ยของการเกบ็ ขอ้ มลู ในฮารด์ ไดร์ฟเรยี กว่า เมกกะไบท์ (MB) และกกิ กะไบท์ (GB) หากต้องการจะเก็บโปรแกรมขนาดใหญ่เท่าใด ควรเลือกฮาร์ดไดรฟ์ ท่มี ีความจมุ ากข้ึนเท่านนั้ ส่วนการเลือกซื้อนน้ั ก็ จะต้องดูว่าตอ้ งการเก็บขอ้ มลู มากขนาดไหน และก็มี ให้เลือกหลาย Interface มีทงั้ ถา่ ยโอนข้อมลู ด้วยความเรว็ 33,66และ 100 mbs และกย็ ังมีความเรว็ ในการหมุนก็มใี ห้เลือกทงั้ 5400 rpm และ 7200 rpm
2.1 การตดิ ตง้ัฮารด์ ดสิ ก์ (HardDisk) Hard Disk เป็นอปุ กรณ์ที่ใชใ้ นการเกบ็ ขอ้ มลู หรอื โปรแกรมตา่ งๆ ของคอมพิวเตอร์ โดยฮาร์ดดิสก์จะมลี กั ษณะเปน็ รูปสเี่ หลี่ยมท่ีมีเปลือกนอก เปน็ โลหะแขง็ และมแี ผงวงจรสาหรบั การควบคุมการทางานประกบอยทู่ ี่ดา้ นล่าง พรอ้ มกับช่องเสียบสายสัญญาณและสายไฟเล้ียง สว่ นประกอบภายในจะถกู ปดิผนกึ ไว้อยา่ งมดิ ชดิ โดยฮารด์ ดิสก์ ส่วนใหญ่จะประกอบดว้ ยแผน่ จานแมเ่ หลก็ (Platters) สองแผน่ หรอืมากกวา่ มาจัด เรียงอยูบ่ นแกนเดียวกนั เรยี ก Spindle ทาให้แผน่ แม่เหล็กหมนุ ไปพร้อม ๆ กนั จากการขับเคลอื่ นของมอเตอร์ แต่ละหนา้ ของแผน่ จานจะมหี วั อ่านเขียนประจาเฉพาะ โดยหัวอ่านเขยี นทกุ หวั จะเช่ือมตดิ กนั คล้ายหวี สามารถเคล่อื นเขา้ ออกระหว่างแทรก็ ต่างๆ อย่างรวดเร็ว รปู 3.33 แสดงลักษณะของ HardDiskการติดตง้ั HardDisk ใหต้ ิดตงั้ ในช่องลา่ งสดุ ของ Case โดยหันสว่ นท้ายของ Hard disk ออกด้านนอกยดึ กับเคสดว้ ยนอ็ ตเกลียวหยาโบดยมขี นั้ ตอนดังนี้ 1. สารวจจมั เปอรท์ ี่อย่บู นตวั ฮาร์ดดสิ ก์ว่าเสยี บอยถู่ กู ตอ้ งแล้วหรือยัง ซ่ึงจะต้องมกี ารเซตให้เปน็Master สาหรบั การใชง้ านเป็นไดรว์ C และ เป็น Slave สาหรบั การใช้งานเป็นไดรว์อ่นื ๆ สามารถดูวิธกี ารเชตจมั เปอร์ไดจ้ ากคูม่ ือการเซตจมั เปอร์ที่จะอยูบ่ นตวั ฮาร์ดดสิ ก์ หรอื ในคมู่ อื การติดต้ัง 2. หาตาแหน่งวา่ งภายในเคส เพ่อื ใสฮ่ าร์ดดิสก์เข้าไป 3. ต่อสายเคเบิลเข้าไปยังด้านหลังของฮารด์ ดสิ กโ์ ดยหนั ด้านของสายที่มสี ีแดงไปขา้ งที่เสยี บสายไฟอยู่ แต่โดยปกติ สายเคเบลิ นก้ี จ็ ะมีการกาหนดมาใหอ้ ย่แู ล้ววา่ จะตอ้ งเสียบเข้าไปโดยหันสายไปทางดา้ นใด โดยจะมสี สี ันนนู ขึ้นมาตรงกลางของสาย เพอื่ เสียบลงไปทีฮ่ ารด์ ดิสก์ที่มีชอ่ งสาหรับใส่ไดพ้ อดี 4. ตอ่ สายเคเบิลนีเ้ ขา้ ไปยังคอนโทรลเลอร์คอนเนก็ เตอรท์ ี่อยบู่ นเมนบอรด์ โดยหันสายข้างทมี่ ีสีแดงไปยงั ดา้ นทีม่ ตี ัว เลขเขียนไว้บนเมนบอรด์ ว่า 1 5. เสียบสายไฟท่ตี อ่ ออกมาจากพาวเวอร์ซัพพลายเขา้ ไปโดยเสยี บด้านที่มี มมุ เป็นมุมโคง้ เข้าไปยงัดา้ นทมี่ มี ุมโคง้ เหมอื นกบั บนฮาร์ดดสิ ก์ (ตรงนี้ต้องเสียบใหแ้ นน่ เพราะหากเสียบหลวมแลว้ จะทาให้ฮาร์ดดิสก์เสียหายได้)
6. ขันนอ็ ตเพ่ือยึดตดิ กับชอ่ งให้เรียบรอ้ ย เพ่อื ปอ้ งกนั การกระทบกระแทกทอ่ี าจจะเกิดขึน้ เมอ่ืเคลือ่ นย้ายเคส ซ่ึงอาจจะทาให้ตวั ฮาร์ดดิสกเ์ กิดความเสยี หายขน้ึ ได้ รูป 3.34 แสดงการตดิ ตัง้ HardDisk 2.2 การติดต้ังซดี รี อม (CD-ROM) ซดี รี อม (CD-ROM) เป็นไดรฟส์ าหรบั อ่านขอ้ มูลจากแผน่ ซีดีรอม หรอื ดวี ีดรี อม ซึ่งถ้าหากต้องการบนั ทกึ ขอ้ มูลลงบนแผน่ จะตอ้ งใชไ้ ดรฟ์ ที่สามารถเขยี นแผน่ ไดค้ ือ CD-RW หรือ DVD-RW โดยความเร็วของ ซีดรี อมจะเรียกเป็น X เชน่ 16X, 32X หรือ 52X โดยจะมี Interface เดยี วกบั Hard disk การทางานของ CD-ROM ภายในแผ่นซดี รี อมจะแบ่งเปน็ แทรก็ และเซ็กเตอรเ์ หมอื นกบั แผ่นดสิ ก์ แตเ่ ซ็กเตอร์ในซดี รี อมจะมขี นาดเทา่ กนั ทุกเซก็ เตอร์ ทาใหส้ ามารถเก็บข้อมูลไดม้ ากข้นึ เม่ือไดรฟซ์ ีดรี อมเรม่ิ ทางานมอเตอรจ์ ะเร่ิมหมุนดว้ ยความเรว็ ทั้งนี้เพือ่ ใหอ้ ตั ราเร็วในการอา่ นข้อมูลจากซีดีรอมคงทสี่ มา่ เสมอ รูป 3.35 แสดงลกั ษณะของ CD-ROMการติดตั้ง CD-ROM ใหต้ ิดตง้ั CD-ROM จากดา้ นหน้า Case ชอ่ งบนสุด โดยเลอ่ื นเข้าจากทางด้านหน้ายึดนอ็ ตเกลยี วละเอยี ดทง้ั 4 ดา้ นโดยมีขั้นตอนการติดต้ังการดังนี้ 1. ปิดเคร่อื งคอมพิวเตอร์และถอดปล๊กั ไฟออกเสียก่อน 2. เปดิ ฝาเคสออกมา 3. ถอดฝาทค่ี รอบช่องดา้ นหน้าของเคสออกโดยการดนั จากด้านในออกมา 4. วางตวั ไดรวล์ งไปในชอ่ งทตี่ ้องการใสไ่ ดรว์ซีดีรอม ลงไป แล้วเล่ือนเข้าไปด้านในถา้ ตดิ สายไฟหรือสายเคเบลิ ตา่ งๆ ให้ยา้ ยออกไปทางดา้ นข้างเสยี ก่อน
5. นาสายไปเสยี บเขา้ ไปยงั ช่องสาหรบั สายไฟด้านหลังของไดรวซ์ ีดีรอม 6. เสียบสายเคเบิลสาหรับไดรวซ์ ีดีรอมไปท่ีดา้ นหลงั ของตวั ไดรว์ในชอ่ งที่มีความกว้างมากที่สุด 7. ตอ่ สายซีดอี อดิโอเขา้ ไปในชอ่ งท่อี ยถู่ ัดจากสายเคเบลิ 8. นาสายเคเบลิ ท่ีต่อจากชอ่ งตอ่ เคเบลิ ดา้ นหลังไดรว์ซีดีรอมเข้าไปยังคอนเน็กเตอรส์ าหรับ IDE ตัวทีส่ องส่วนมากจะมีการเขียนกากับไว้ว่า IDE 2 9. ต่อสายซีดอี อดโิ อไปท่ีซาวน์การ์ดหรือเมนบอรด์ 10. ขันน็อตยึดตวั ไดรวเ์ ขา้ กบั เคสใหเ้ รียบร้อย รปู 3.36 แสดงการติดตงั้ CD-ROM 2.3 การติดตั้งฟล็อปปีด้ ิสก์ (Floppy Disk Drive) Floppy Disk Drive เป็นอุปกรณท์ ก่ี าเนดิ มากอ่ นยคุ ของพีซีเสียอีก โดยเร่ิมจากทมี่ ขี นาด 8นว้ิ กลายมาเปน็ 5.25 น้วิ จนมาถงึ ปจั จุบนั ซงึ่ อยทู่ ่ี 3.5 นว้ิ ในสว่ นของความจเุ รมิ่ ตน้ ต้งั แต่ไม่กร่ี อ้ ยกิโลไบต์มาเป็น 1.44 เมกะไบต์ และ 2.88 เมกะไบต์ ตามลาดับ ในปจั จุบันการใช้งานฟล็อปป้ี ดสิ ก์นน้ั น้อยลงไปมากเพราะ เน่อื งจากจขุ ้อมูลได้นอ้ ยซึ่งไม่เพียงพอกบั ความตอ้ งการ รปู 3.37 แสดงลักษณะของ Floppy Disk Drive
การตดิ ตง้ั Floppy Disk Drive ทาเชน่ เดียวกนั กับการตดิ ต้ังCD-ROM แตใ่ ห้ใสใ่ นช่องขนาดเลก็ ด้านล่างอาจCมaีseบางตวั ต้องใสF่ loppy Disk Drive จากดา้ นหลังเนอื่ งจากดา้ นหนา้ เป็นหน้ากากทยึบึดด้วยนอ็ ตเกลียวละเอียดโดยมีขั้นตอนการตดิ ตัง้ การดงั นี้ 1. เสยี บตวั ไดรวเ์ ขา้ ไปในชอ่ งทมี่ ขี นาดเลก็ ด้านหน้า 2. ต่อสายเคเบิลของ ฟลอ็ ปปดี้ สิ ก์ เข้าไปยังดา้ นหลงั ของตัวไดรว์ โดยหนั สายของเคเบลิ ข้างทม่ี ีสีแดงไปดา้ นสาหรับเสียบสายไฟ 3. ต่อสายเคเบลิ ของ ฟลอ็ ปปี้ดสิ ก์ เข้าไปที่คอนโทรลเลอรค์ อนเนก็ เตอร์ บนเมนบอรด์ โดยหนั สายขา้ งทีม่ สี แี ดงไปทางด้านท่ีมีเลข 1 กากบั ไว้ 4. ต่อสายไฟเข้าไปยังด้านหลงั ของ ฟลอ็ ปป้ดี สิ ก์ ไดรวโ์ ดยให้ดา้ นที่มุมโค้ งหนั ไปในทศิ ทางเดยี วกันกบั ด้านท่ีอยู่ ที่ตัวไดรว์ 5. ขันน็อตเพอ่ื ยึดตวั ไดรว์ใหต้ ิดกบั ช่อง Case ใหเ้ รยี บร้อย รูป 3.38 แสดงการติดตง้ั Floppy Disk Drive3. การตดิ ต้งั อุปกรณ์ภายใน Case ของคอมพิวเตอร์ อปุ กรณค์ อมพวิ เตอร์ทีน่ ามาประกอบกนั เป็นตวั เครอ่ื งของคอมพวิ เตอร์นั้นจะประกอบดว้ ยอุปกรณ์ท่ีอย่ภู ายนอกเคส และ และภายในเคสของคอมพวิ เตอรโ์ ดยอุปกรณท์ ่ปี ระกอบกนั อยภู่ ายในของเคสคอมพวิ เตอรม์ กี ารติดตั้งดังน้ี 3.1 การติดตัง้ ซพี ยี ู (CPU) ซพี ยี ูหรอื หนว่ ยประมวลผลกลาง เรยี กอกี ชื่อหนึ่งวา่ โปรเซสเซอร์ (Processor) หรอื ชิป(Chip) นบั เปน็ อปุ กรณท์ มี่ คี วามสาคญั มากท่ีสดุ ของฮาร์ดแวร์ เพราะมีหน้าทีใ่ นการประมวลผลจากข้อมลู ท่ีผูใ้ ช้ป้อน เข้ามาทางอุปกรณน์ าเขา้ ข้อมลู ตามชุดคาสั่งหรือโปรแกรมทผี่ ้ใู ช้ต้องการใช้งานการตดิ ตง้ั ปลดขาล็อกCPU ซงึ่ มลี ักษณะเป็นคันโยกด้านขา้ Sงocket ขึน้ ตง้ั ฉากกบั Socket สังเกตบนตวั CPU จะเห็นมุมที่มสี ญั ลกั ษณ์ สามเหลย่ี ม ซ่ึงมอี ยูม่ มุ เดยี ว นา CPU มาวางบน Socket โดยให้มมุ รปู สามเหลี่ยม
ตรงกนั กบั มุมของขาลอ็ กตรวจดูวา่ CPU แนบสนิทกบั Socket ทุกมมุ ไม่มีมุมใดเอียงหรือลอยอยูล่ อ็ ค CPUโดยโยกขาล็อคลงไปขัดทด่ี ้านข้าง Socket ใหเ้ รยี บรอ้ ยรูป 3.39 แสดงลกั ษณะของคนั โยก รปู 3.40 แสดงสญั ลกั ษณ์สามเหลี่ยมรูป 3.41 แสดงนา CPU มาวางบน Socket รปู 3.42 แสดงโยกขาล็อคท่ดี า้ นขา้ ง Socket 3.2 การตดิ ตั้ง Heat Sink ของ Intel Heat Sink เปน็ ชดุ พัดลมระบายความร้อน จะใช้ตดิ ตง้ั บนตัวซีพยี ู เพือ่ ช่วยระบายความร้อนออกจาก ซพี ยี ู โดยพัดลม กับฮตี ซิงคน์ ้ัน จะมขี ายให้พร้อมกับ ซีพยี ู หรือจะซือ้ แยกต่างหากกไ็ ด้ การเลือกซอื้ ควรดูซีพียทู ใ่ี ช้ว่าเปน็ ซีพียู รุ่นไหน ความเร็วเทา่ ไหร่ เพอื่ ทจ่ี ะเลือกพดั ลมใหเ้ หมาะสม โดยพดั ลมจะมีความเร็วในการหมนุ หากมคี วามเรว็ รอบสงู ๆ จะช่วยใหก้ ารระบายความรอ้ นทาไดด้ ีการติดต้งั Heat Sink วาง Heat Sink ลงบนกรอบพลาสติกบน Mainboard โดยใหด้ ้านท่ีมสี ายไฟพัดลมอยู่ดา้ นเดียวกับขวั้ CPU Fan กดขาล็อคพดั ลมลงเบา ๆ ทีละมมุ จนคร4บมุมโยกคันโยกไขว้ล็อคพดั ลม ให้ยึดตดิแน่นกับ CPU และ Mainboard เสยี บปลั๊กสาหรับจา่ ยไฟให้กบั พดั ลม CPU
รูป 3.43 แสดงการวาง Heat Sink ลงบนกรอบ รปู 3.44 แสดงการกดขาล็อคพัดลมและเสียบปลกั๊ สาหรับจา่ ยไฟ 3.3 การตดิ ตงั้ Heat Sink ของ AMD หงาย Heat Sink ขึน้ สังเกตด้านล่าง จะมรี ะนาบทไี่ ม่เทา่ กัน โดยจะมีด้านหนึ่ง ลาดลงต่ากว่าสว่ นอืน่ (หากมีแผ่นพลาสตกิ ทีด่ า้ นลา่ งของ Heat Sink ใหล้ อกออก) หนั Heat Sink ดา้ นที่สงั เกต จากข้อก่อนหน้าน้ี ให้ตรงกบั ด้านท่เี ปน็ สันของ Socket จากนน้ั วาง Heat Sink ลงบน CPU เบาๆ โดยวางลงตรงๆ หา้ มเอยี งทามุมกับ CPU (มฉิ ะนั้น อาจทาให้ CPU เสียหายได้) นาขาล็อก Heat Sink ไปเกี่ยวกับดา้ นขา้ ง Socket ด้านหนึ่ง (สังเกตวา่ Heat Sink ยังคงแนบสนิทกบั ตวั CPU ห้ามเอียงทามมุ กบั CPU) ใชไ้ ขควงปากแบน สอดลงท่ขี าลอ็ กอกี ดา้ นหน่งึ และกดลงไปเกย่ี วกบั ดา้ นข้างของ Socket (สังเกตวา่ Heat Sinkยดึ ติดแนน่ กับ CPU และ Mainboard) เสียบปลกั๊ สาหรับจา่ ยไฟใหก้ ับพัดลม CPU รูป 3.45 แสดงการกดขาล็อคพดั ลมและเสยี บปลั๊กสาหรบั จา่ ยไฟ
3.4 การติดตั้งแรม (RAM) RAM ย่อมาจากคาวา่ Random-Access Memory เปน็ หน่วยความจาหลกั แต่ไม่ถาวร ซึง่จะต้องมไี ฟมาหลอ่ เลี้ยงอปุ กรณ์ตลอดในการทางาน โดยถา้ เกิดไฟฟ้ากระพรบิ หรอื ดับ ขอ้ มลู ทีถ่ ูกบันทกึ ไว้ในหนว่ ยความจาจะหายไปทันที โดยหลักการทางานครา่ วๆ ของแรมน้นั เริม่ ตน้ ทร่ี ับข้อมูลจากผู้ใช้ผ่านอปุ กรณ์ Input จากนน้ั กจ็ ะส่งขอ้ มูลไปยงั CPU ในการประมวลผล เมื่ อ CPU ประมวลผลเสร็จแลว้ แรมจะรับขอ้ มูลท่ีไดร้ บั การประมวลผลแลว้ ออกไปยงั อุปกรณ์ Output ตอ่ ไป รปู 3.46 แสดงลกั ษณะของ RAMการติดตง้ั แรม (RAM) เรมิ่ จากข้นั ตอนง่ายๆ ดังน้ีปลดขาล็อคของชอ่ งตดิ ตัง้ (DIMM) ออกทั้งสองขา้ ง สงั เกตขาสญั ญาณของ RAM จะถูกแบง่ ออกเป็นสองช่วงสน้ั และยาว ไมเ่ ทา่ กนั นา RAM ไปวางเทยี บ ใหข้ าสัญญาณช่วงสัน้ และยาวทตี่ ัว RAM ตรงกนั กบั ชอ่ งDIMM ใส่ RAM บนช่อง DIMM แล้วกดลงพร้อมกันทั้งสองข้างขาลอ็ กจะดีดเขา้ มาประกบกับตัว RAM เองโดยอตั โนมตั ิ 1. จับแรมบริเวณทเี่ ป็นพลาสติก 2. เสียบลงไปในดา้ นทอี่ ยูต่ รงกันข้ามกับตวั ลอ็ ก SD RAM เสียบตรงๆได้เลย 3. ดันดา้ นหลงั ของแรมไปที่ดา้ นหน้าใหต้ ัวล็อกสามารถลอ็ กเข้ากบั แรมได้พอดที ้ังสองขา้ ง ถา้ ดันเข้าไปไม่ไดอ้ ย่าพยายามฝนื ให้ลองดงึ ออกมาใหมแ่ ลว้ ดนั เขา้ ไปใหม่อกี ครัง้ หน่ึง 4. ควรใส่แรมจากด้านในสดุ ก่อน ทาใหส้ ามารถใส่แรมได้ง่ายกวา่ การใส่แรมจากดา้ นนอกรปู 3.47 แสดงการปลดขาล็อคแรม รปู 3.48 แสดงขาสัญญาณของ RAM
รูป 3.49 แสดงการจับแรม รูป 3.50 แสดงการกดแรม 3.5 การตดิ ต้งั เมนบอร์ด (Mainboard) Mainboard เป็นแผ่นวงจรไฟฟ้าแผน่ ใหญ่ท่รี วมเอาชิน้ สว่ นอเิ ล็กทรอนิกส์ท่สี าคัญๆมาไว้ด้วยกัน ซึง่ เป็นส่วนทค่ี วบคุม การทางานของ อปุ กรณต์ ่างๆ ภายในพีชที ้ังหมด มีลกั ษณะเป็นแผน่ รูปรา่ งส่เี หล่ยี มแผน่ ทใี่ หญท่ ่ีสดุ ในพชี ี ท่ีจะรวบรวมเอาชปิ และไอชี (IC = Integrated Circuit) รวมทง้ั การ์ดต่อพว่ งอ่นื ๆ เอาไวด้ ว้ ยกนั บนบอร์ดเพียงอันเดยี วเครอ่ื งพชี ที ุกเคร่อื งไม่สามารถทางาน ได้ถ้าขาดเมนบอรด์ รูป 3.51 แสดงลักษณะของ Mainboardการติดตั้งเมนบอร์ด (Mainboard) 1. ก่อนการติดตัง้ เมนบอร์ดควรตดิ ต้ัง Power Supply ลงใน Case กอ่ น 2. ถา้ เมนบอร์ดท่ีซือ้ มายงั ไม่ได้ติดต้ังซีพยี ใู ห้ตดิ ตั้งซพี ียูลงไปกอ่ น 3. นาเอาเมนบอรด์ ใสล่ งไปในเคส โดยจัดวางตาแหน่งของพลาสติกรองเมนบอรด์ ใหต้ รงกบั ตวัล็อกทีเ่ คส เมือ่ จัดวางให้ตรงกันแลว้ ก็ลอ็ กทุกจดุ ถา้ เรยี บรอ้ ยแลว้ ก็ไขน็อตยึดเมนบอรด์ ให้แน่น 4. นาสายไฟใส่เข้าไปทบ่ี อร์ดโดยปกตแิ ลว้ มกั เอาสายไฟขา้ งท่ีมสี ายดาหันเข้าหากัน หรือให้คู่กันตรงกลางจากน้นั ก็กดล งไปให้แนน่ เขา้ ไป ส่วนสายไฟต่าง ๆ เช่น สายสวิตซร์ ีเซต็ หรอื สายเทอรโ์ บ โดยดูจากคมู่ ือเมนบอรด์ วา่ สายอะไรจะเสียบเขา้ ไปท่ีไหน 5. จากน้ันกเ็ สยี บสายเคเบลิ ตา่ ง ๆ ตามตาแหนง่ ทบ่ี อกในคมู่ อื เมนบอร์ด ให้ตรวจสอบวา่ แผ งด้านหลัง (I/O Shield) ของ Case นั้นตรงกับ Back Panel ของ Mainboard หรือไม่ ถา้ ไมต่ รงให้ถอด ออก
แลว้ นาแผงด้านหลังท่ีให้มากบั Mainboard มาตดิ ตั้งแทนสังเกตช่องสาหรับขนั น็อตหกเหลี่ยม เพอื่ เปน็ ฐานสาหรับยดึ Mainboard ภายในเคส เทยี บกนั กบั ตัว Mainboard แลว้ ขันน็อตหกเหลย่ี มให้ตรงกันนาMainboard เขา้ ภายใน Case เบาๆ โดย จดั ใหด้ า้ นทเ่ี ปน็ Back Panel (I/O Port) ลอดออกมาทางแผงดา้ นหลัง(I/O Shield) กอ่ นแลว้ จึงค่อยวาง Mainboard ลง ข้ันตอนน้ีระวงั อยา่ ให้ Mainboard ไปขูดกับน็อตหกเหล่ยี มขนั น็อต ตามตาแหน่งที่รองดว้ ยนอ็ ตหกเหล่ียม โดยใชน้ ็อตเกลียวหยาบที่มีแหวนรองสแี ดง (ระวังอย่าขันแน่นจนเกนิ ไปเพราะอาจทาให้ Mainboard เสยี หายได้) รูป 3.52 แสดงการการติดต้ัง Mainboard 3.6 การตดิ ต้ังสาย Power สาหรบั Mainboard การติดตง้ั สาย Power สาหรบั Mainboard Mainboard แบบ ATX จะมีข้ัวตอ่ ไฟเลี้ยง แบบ20 Pin อย่บู รเิ วณด้านบนของ Mainboard (อาจใกล้กับ CPU หรือ RAM) ให้เลอื กปลั๊กทีม่ ีขนาดใหญท่ ่สี ุดจาก Power Supply นามาตอ่ เข้ากับขวั้ บน Mainboard สงั เกต สลกั ของปลัก๊ และข้วั ใหอ้ ยูด่ า้ นเดียวกัน (ถา้ต่อผดิ ด้าน กจ็ ะตอ่ ไมเ่ ข้า ) การตดิ ตั้งสาย Power สาหรบั CPU Intel สาหรบั เคร่ืองทใ่ี ช้ Pentium4 หรอืCeleron จะตอ้ งจา่ ยไฟเล้ียงสาหรบั CPU ดว้ ย สังเกตสายไฟสเี หลือง และปลั๊กมีลักษณะคลา้ ยสเ่ี หลยี่ ม จัตรุ ัสซ่ึงท่ีปลก๊ั และขัว้ จะมีสลักอยู่เชน่ เดียวกับไฟเลี้ยง Mainboard รปู 3.53 แสดงการติดตงั้ สาย Power
3.7 การคิดตั้งสายแพลงบน Mainboard สาหรบั Hard Disk และ CD-ROM การติดตง้ั สายแพสาหรบั Hard disk และ CD-ROMสงั เกตชอ่ ง IDE1 และ IDE2 ท่อี ยู่คกู่ นั บรเิ วณรมิ Mainboard ข้างขวา ให้สังเกตสัญลักษณ์ ของขาท่ี 1 บนลายวงจร ซ่งึ อาจเป็นหมายเลข 1 หรือเครื่องหมายสามเหลี่ยม อยู่ทฝ่ี งั่ ใดฝง่ั หน่ึงของช่อง IDE สงั เกตสายแพ IDEจะมแี ถบสีแดง (หรอื แถบสีท่ีสังเกตไดอ้ ย่างเด่นชดั ) ติดตงั้ สายแพ ลงบน Mainboard โดยให้หนั ขอบสายแพด้านทเ่ี ปน็ สีแดง ไปท่ขี าที่ 1 จากทไี่ ด้ สังเกตไว้ก่อนแล้ว (โดยท่วั ไป Mainboard จะมกี ารป้องกนั ความผดิ พลาด โดยปลายสายแพจะมปี ุ่มนูนข้ึนมา ตรงกับส่วนพลาสติกท่เี ว้นวา่ งไว้ ทชี่ ่อง IDE บน Mainboardถา้ หากตอ่ กลับด้านจะตอ่ ไม่เข้า ) รูป 3.54 แสดงการตดิ ตั้งตั้งสายแพลงบน Mainboardสาหรับ Floppy Disk Drive สายแพสาหรบั FDD จะมีขอ้ สงั เกตคือ ดา้ นหน่งึ จะมีการไขว้สายเอาไว้ คล้ายกบัเปน็ สายที่มีรอยขาด โดยให้เลือกปลายดา้ นอีกด้านหนง่ึ ที่เป็นแบบปกติ ตดิ ตง้ั ลงบน Mainboard ในลกั ษณะเดียวกับสายแพ IDE รปู 3.55 แสดงการติดตง้ั สาหรบั Floppy Disk Drive
3.8 การตดิ ต้ังสายแพ และสายไฟ สาหรับ Drive ตา่ งๆ การต่อสายสาหรบั Hard Disk เลือกปลกั๊ ไฟสาหรบั Hard disk นามาตอ่ ท่ีสว่ นท้าย Harddisk ใหแ้ นน่ แลว้ นาสายแพ จาก IDE1 บน Mainboard (มักจะมสี ีนา้ เงนิ ) มาตอ่ โดยหันแถบสแี ดง ของสายแพเขา้ หาสายไฟ ซงึ่ เปน็ แถบสแี ดงเช่นเดียวกัน (ปลายสายแพจะมปี ุ่มนูนข้นึ มา ตรงกับส่วนพลาสติกทเ่ี ว้นวา่ งไว้ ทชี่ ่องตอ่ ทีต่ ัว Hard disk ถ้าหากต่อกลับด้านจะตอ่ ไมเ่ ขา้ ) รปู 3.56 แสดงการติดตง้ั Hard Diskการตอ่ สายสาหรับ CD-ROM เลอื กปลกั๊ ไฟแบบเดียวกับทใ่ี ช้สาหรบั Hard disk มาตอ่ ทีท่ า้ ย CD-ROM ให้แน่น แล้วนาสายแพจาก IDE2 บน Mainboard มาต่อ โดยหนั แถบสแี ดงเขา้ หากนั รูป 3.57 แสดงตอ่ สาย CD-ROMการตอ่ สายสาหรบั Floppy Disk Drive เลอื กปลก๊ั ขนาดเล็ก ต่อเข้ากับดา้ นท้ายของ Drive ซ่ึงจะเปน็ ขาโลหะจานวน 4 ขา (ควรเพม่ิ ความระมัดระวงั โดยต่อให้ตรงทุกขาหากเหล่อื มกันอาจทาให้ไฟลัดวงจรได้ ) จากนน้ันาสายแพด้านทม่ี กี ารไขว้สาย มาตอ่ โดยหันแถบสแี ดงเขา้ หาสายไฟ ซ่งึ เปน็ แถบสีแดงเช่นเดยี วกัน
รูป 3.58 แสดงต่อสาย Floppy Disk Drive 3.9 การต่อสาย Front Panel เตรียมคู่มอื ของ Mainboard (Mainboard Manual) ในสว่ น Front Panel ให้พร้อมสงั เกตสายไฟต่างๆ ท่ีเชอ่ื มตอ่ จากทางดา้ นหน้าเคส ประกอบดว้ ย Power Switch, Reset Switch , HDD LED,Power LED, และ SPEAKER ต่อสายต่างๆ ตามคมู่ ือทีใ่ ห้มา โดยสายทต่ี ้องตอ่ ให้ตรงข้ัว + , – จะมีแค่ HDDLED และ Power LED เท่านัน้ (สังเกตสายสีขาวเป็นขั้วลบ) สว่ นสายอ่นื ๆ ทีเ่ หลือสามารถต่อสลับได้ รปู 3.59 แสดงการตอ่ สาย Front Panel 3.10 การตดิ ตัง้ Card การติดตงั้ VGA Card ติดตัง้ ท่ี Slot AGP ซ่ึงมอี ยชู่ ่องเดียว โดยทว่ั ไปมสี นี า้ ตาล และเปน็ชอ่ งบนสดุ สงั เกตงา่ ยกอ่ นอ่ืน เปิดแผ่ นโลหะทีต่ รงกบั ช่อง หรอื Slot ท่จี ะตดิ ตง้ั ออกใส่ Card ลงบน Slotออกแรงกดเบาๆ จนสดุ ใชน้ ็อตยึดตวั Card กับ Case ตดิ ตงั้ Card ทัว่ ไป (PCI) PCI Card ตา่ งๆ ตดิ ตง้ั ท่ี SlotPCI (โดยทัว่ ไปมีสขี าว) ทาลักษณะเดียวกันกับการติดตัง้ VGA Card ซี่ง Slot PCI จะมหี ลายชอ่ ง สามารถเลือกใช้ช่องใดกไ็ ด้ (อาจเว้นช่องทใ่ี กล้ VGA เพอ่ื การระบายความร้อนที่ดีข้นึ )
รูป 3.60 แสดงการตดิ ต้งั Card4. การติดตง้ั อุปกรณร์ อบข้างคอมพิวเตอร์ สามารถเช่อื มตอ่ อปุ กรณภ์ ายนอกเข้ากบั พอร์ต I/O บรเิ วณดา้ นหลังและด้านซา้ ยของเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ได้ BIOS ของเคร่ืองจะตรวจพบอุปกรณ์ภายนอกเมือ่ บู๊ ตเคร่อื งในครัง้ แรกหรอื บู๊ ตเคร่อื งใหม่สามารถเช่อื มตอ่ ตัวจาลองพอรต์ แบบแอดวานซ์ของเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ Dell รุน่ Latitude LS เข้ากับชอ่ งเสียบสาหรับเชือ่ มตอ่ สถานีขยาย ดา้ นใตเ้ ครือ่ งคอมพิวเตอร์ได้ อปุ กรณ์ภายนอกบางชนิดอาจต้องการให้โหลดซอฟต์แวรท์ ่เี รยี กวา่ ไดรเวอรข์ องอุปกรณ์น้ันๆ ลงในหน่วยความจาของระบบก่อนทจ่ี ะใชง้ านอปุ กรณ์นั้นๆได้ ซอฟตแ์ วร์ดีไวซไ์ ดรเวอรจ์ ะชว่ ยใหค้ อมพิวเตอรร์ ูจ้ กั กับอปุ กรณ์ภายนอก และควบคมุ การทางานของอุปกรณด์ งั กล่าวได้ โดยปกติ คาแนะนาสาหรับการติดตงั้ ซอฟตแ์ วร์นี้จะรวมอยูใ่ นชุดอปั เกรด 4.1 การต่อเมาส์ (Mouse) เมาส์ถกู ประดษิ ฐ์ขน้ึ ในปี 1963 โดยดกั ลัส เองเกลบาท (Douglas Engelbart) ทสี่ ถาบนั วจิ ัยสแตนฟอร์ด (Stanford Research Institute) หลังจากการทดสอบการใช้งานอย่างละเอยี ด (เมาส์เคยมอี กี ชอื่ น่ึงว่า “บกั ” (bug) แต่ภายหลังไดร้ บั ความนิยมนอ้ ยกว่าคาวา่ “เมาส์”) มนั เปน็ หนึง่ ในการทดลอง อุปกรณช์ ี้(Pointing Device) สาหรับ Engelbart's on-Line System (NLS) ส่วนอปุ กรณช์ อ้ี ืน่ ออกแบบมา เพื่อการเคลอ่ื นไหวในร่างกายส่วนอนื่ ๆ เชน่ อุปกรณท์ ีใ่ ช้ตดิ กบั คางหรอื จมกู แตท่ ้ายท่ีสุดแล้วเมาสก์ ็ได้รบั การคัดเลือกเพราะง่ายตอ่ การใชง้ าน รปู 3.61 แสดงการต่อเมาส์
4.2 การตอ่ คยี ์บอร์ด (Keyboard) เปน็ อปุ กรณ์ในการรับขอ้ มลู ทีส่ าคัญทสี่ ุด มลี ักษณะคล้ายแป้นพิมพ์ ของเคร่ืองพิมพด์ ีด มีจานวนแปน้ 84 - 105 แป้น ข้ึนอย่กู ับแปน้ ทเ่ี ป็น กลุม่ ตวั เลข (Numeric keypad) กลมุ่ ฟงั กช์ นั (Functionkeys) กลมุ่ แปน้ พเิ ศษ (Special-purpose keys) กลมุ่ แป้นตวั อักษร (Typewriter keys) หรอื กลมุ่ แปน้ ควบคุมอื่นๆ (Control keys) ซึ่งการสง่ั งานคอมพิวเตอรแ์ ละการทางานหลายๆ อย่างจาเปน็ ต้องใชแ้ ป้นพิมพ์เป็นหลกั รูป 3.62 แสดงการต่อคยี ์บอร์ด (Keyboard) 4.3 การต่อจอภาพ เป็นอุปกรณ์แสดงผลที่มคี วามสาคัญมากที่สุด เพราะจะติดต่อโดยตรงกับผใู้ ช้ ชนดิ ของจอภาพท่ใี ชใ้ นเคร่อื งพซี โี ดยทวั่ ไปจะแบ่งได้เปน็ 2 ชนิดจอซีอาร์ที (CRT: Cathode Ray Tube) โดยมากจะพบในคอมพวิ เตอร์ตงั้ โต๊ะ ซึ่งลักษณะ จอภาพชนิดน้ีจะคล้ายโทรทศั น์ ซ่ึงจะใชห้ ลอดสุญญากาศจอแอลซีดี (LCD: Liquid Crystal Display) ซึ่งมี ลกั ษณะแบนราบ จะมี ขนาดเล็กและบาง เมื่อเปรียบเทยี บกบั จอภาพแบบซีอารท์ ี รูป 3.63 แสดงการตอ่ จอภาพ
4.4 การตอ่ สายไฟ สายไฟฟา้ เปน็ ส่ิงจาเป็นอยา่ งย่ิง เพราะสายไฟเปน็ ตัวนาทจ่ี ะนาให้กระแสไฟฟา้ ไหลผา่ นไปตามสายจากแห่งหนงึ่ ไปอกี แห่งหนง่ึ ไดต้ ามตอ้ งการ สายไฟฟา้ ท่นี ยิ มใช้งานทวั่ ๆไปมีหลายลกั ษณะทค่ี วรทราบ มดี งั นี้ สายไฟทน่ี ิยมใชท้ ่วั ๆ ไปคอื สายไฟทที่ าจากลวดทองแดง มีเนอ้ื ทไี่ มน่ ้อยกวา่ 98 ส่วนใน 100และหมุ้ ด้วยฉนวนไว้สาหรับรบั แรงดนั ไม่ตา่ กวา่ 250 โวลท์ สายไฟทีใ่ ช้มีอุณหภูมิไม่เกนิ 40 องศา C และจะต้องเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมสถานท่ี และลกั ษณะการนาไปใช้งาน เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความคงทนของสายไฟและไม่กอ่ ให้เกิดอันตรายตอ่ ชวี ติ และทรัพยส์ ินรปู 3.64 แสดงการตอ่ สายไฟ รปู 3.65 แสดงการเสยี บปลั๊กรปู 3.66 แสดงการเปดิ เครือ่ ง รปู 3.67 แสดงภาพหน้าจอสรุป อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการประกอบเปน็ เครื่องคอมพิวเตอร์นั้นมอี ยหู่ ลายประเภท เปน็ แต่ละประเภทก็ใช้กับอปุ กรณ์คนละอยา่ งกนั ฉะนั้นจงึ มีความจาเปน็ อยา่ งมาก ทีจ่ ะตอ้ งทาความรจู้ ักกับอปุ กรณ์ต่างๆ เหลา่ นี้ เพือ่ ใหท้ ราบถึงหน้าท่ี สมบัติ และความเข้ากนั ไดก้ ับอปุ กรณ์ ท่ี เลอื กมาประกอบเป็นชุดคอมพิวเตอร์
การติดตงั้ ระบบปฏบิ ตั ิการ หนว่ ยที่ 5 ใบเนือ้ หา Operation Sheet สอนคร้ังที่ 5 เวลา 3 ชัว่ โมงสาระสาคญัระบบปฏิบตั กิ าร เปน็ โปรแกรมที่ทางานเปน็ ตัวกลางระหวา่ งผู้ใชเ้ ครอื่ งและฮารด์ แวร์ โดยมีวัตถปุ ระสงค์เพ่ือจัดสภาพแวดล้อมใหผ้ ูใ้ ช้ระบบสามารถปฏิบัตงิ านบนเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ได้ โดยจะเอ้ืออานวยการพัฒนาและการใชโ้ ปรแกรมต่างๆ รวมถงึ การจดั สรรทรัพยากรต่างๆ ใหไ้ ดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ ระบบปฏบิ ัติการเป็นโปรแกรมควบคมุ การทางาน (ควบคุมการRun) ของโปรแกรมประยุกต์ทาหนา้ ทโี่ ต้ตอบและเป็นส่ือกลางระหว่างโปรแกรมประยุกต์และฮาร์ดแวร์ (Hardware)เนอ้ื หาสาระ1. การติดตง้ั ระบบปฏิบัตกิ าร เปน็ การติดต้ังโปรแกรมท่ีทางานเป็นตัวกลางระหวา่ งผู้ใชเ้ คร่ืองและฮาร์ดแวร์ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่อื จัดสภาพแวดล้อมใหผ้ ูใ้ ชร้ ะบบสามารถปฏิบตั ิงานบนเครือ่ งคอมพิวเตอรไ์ ด้ โดยจะเออื้ อานวยกา พฒั นาและการใชโ้ ปรแกรมตา่ งๆ รวมถึงการจดั สรรทรัพยากรต่างๆ ใหไ้ ด้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพวธิ กี ารติดต้งั Windows XP ยังสามารถแบง่ ออกได้เปน็ 3 แบบดังนี้1. ติดตง้ั แบบอพั เกรดจาก Windows ตัวเดิม โดยใส่แผน่ CD และเลือกติดตง้ั จาก CD นน้ั ได้เลย2. ติดต้งั โดยการบู๊ตเคร่อื งใหมจ่ าก CD ของ Windows XP Setup และทาการตดิ ต้งั3. ตดิ ตั้งจากฮาร์ดดสิ ก์ โดยทาการ Copy ไฟล์ทั้งหมดจาก CD ไปเก็บไว้ในฮาร์ดดิสก์ก่อนตดิ ตั้ง2. การติดต้ังระบบปฏิบตั กิ าร Windows XP Professional การติดต้งั ระบบปฏิบตั กิ าร Windows XP โดยปกติ จะสามารถทาได้ 2 แบบคือ การตดิ ตงั้ โดยการอพั เกรดจาก Windows ตวั เดมิ หรอื ทาการติดต้ังใหม่เลยทงั้ หมด สาหรบั ในที่น้ี จะขอแนะนาวธิ กี าร ข้นั ตอนการติดต้งั Windows XP แบบลงใหม่ทัง้ หมด ซึ่ง จะมีปัญหาในการใช้งานน้อยกว่าแบบอัพเกรด ขน้ั ตอนตงั้ แต่เรมิ่ ต้น การติดตัง้ Windows XP เรม่ิ ตน้ โดยการเซตให้บู๊ตเครอ่ื งจาก CD-Rom Driveก่อน โดยการเขา้ ไปปรบั ตั้งค่าใน Bios ของเครือ่ งคอมพิวเตอร์ โดยเลือกลาดบั การ บู๊ต ใหเ้ ลอื ก CD-RomDrive เปน็ ตัวแรก เมอ่ื เซตบู๊ตจากแผ่นแลว้ เมือ่ เปิดเครือ่ งจะมีหน้าจอมดี าบอกวา่ กดปมุ่ ใดกไ็ ด้เพือ่ บู๊ตจากแผน่ CD กใ็ ห้กด Enter
1. กด Enter เพือ่ ยืนยนั การติดตง้ั Windows รูป 5.68 แสดงการกด Enter เพอื่ ยืนยนั การตดิ ต้งั Windows2. กด F8 เพอ่ื ยอมรบั ขอ้ ตกลง รูป 5.69 แสดงการกด F8 เพือ่ ยอมรับขอ้ ตกลง
3. แสดงหนา้ วา่ มีฮารด์ ดสิ ก์อยกู่ ่ีพาติช่ัน หากไม่มีซักพาติชัน่ กก็ ด C เพอ่ื สรา้ งพาติช่นั หรือมอี ยู่แลว้ กใ็ ห้กด D เพื่อลบพาติช่ัน (แล้วคอ่ ยสร้างใหม่) รปู 5.70 แสดงหนา้ ว่ามีฮารด์ ดสิ ก์อยกู่ ่พี าตชิ ่ัน4. กด Enter เพอ่ื ยันยืนการลบพาติชัน่ รูป 5.71 แสดงการกด Enter เพอื่ ยนั ยนื การลบพาตชิ ่ัน
5. กด L เพอื่ ยืนยันการลบขอ้ มลู กด Esc เพื่อกลับไปหน้าทแ่ี ล้วเพื่อลงวินโดว์โดยไมล่ า้ งไดร์ฟ C รูป 5.72 แสดงการกด L เพอื่ ยืนยนั การลบขอ้ มลู6. ลบเสร็จแลว้ ก็จะเห็นว่าไดรฟ์ C หายไปแลว้ กก็ ด C เพื่อสรา้ งพาติช่ันข้ึนมาใหม่ รูป 5.73 แสดงการกด C เพอื่ สร้างพาติช่นั
7. ใสข่ นาดไดรฟ์ C ท่ตี อ้ งการ รูป 5.74 แสดงการใส่ขนาดไดรฟ์ C8. ใหเ้ ลือกวา่ จะฟอรแ์ มท เปน็ ระบบไหน ใหเ้ ลอื กเป็นระบบ NTFS รปู 5.75 แสดงการเลือกเปน็ ระบบ NTFS
9. การตดิ ตงั้ ทาการฟอรแ์ มทฮาร์ดดสิ ก์ รูป 5.76 แสดงการฟอร์แมทฮาร์ดดสิ ก์10. เม่ือฟอร์แมทเสร็จแล้วกจ็ ะเริม่ กอ๊ ปป้ีไฟล์ลงฮาร์ดดิสกข์ องเคร่อื ง รปู 5.77 แสดงการกอ๊ ปป้ีไฟลล์ งฮาร์ดดิสก์
11. จะขึ้นหนา้ ให้เซตภาษา ใหก้ ด Customize เพอ่ื เพิ่มภาษา รปู 5.78 แสดงการเซตภาษา ใหก้ ด Customize12. ใหก้ ดแท็ป Languages แลว้ คลิกถูกทงั้ สองชอื่ ดังรปู แล้วกด Apply รปู 5.79 แสดงการกดแท็ป Languages
13. แล้วคลกิ แท็ป Regional Options แลว้ เลือกเป็น ภาษา Thai อนั ล่างกเ็ ซตเปน็ ประเทศ Thailand รปู 5.80 แสดงการเลือกเปน็ ภาษา Thai14. แล้วคลกิ แท็ป Advanced เลือกเปน็ Thai ตามรปู รปู 5.81 แสดงการคลกิ แท็ป Advanced เลอื กเปน็ Thai
15. ใสร่ ายละเอยี ดตามทต่ี อ้ งการ รูป 5.82 แสดงการใส่รายละเอยี ด16. ตัง้ ชือ่ เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ รูป 5.83 แสดงการตัง้ ชื่อเคร่อื งคอมพวิ เตอร์
17. เลอื กโซนเวลาเมืองไทยก็ + 07 รปู 5.84 แสดงการเลอื กโซนเวลาเมอื งไทย18. กาลังติดตง้ั ระบบ Network รปู 5.85 แสดงการตดิ ตง้ั ระบบ Network
19. เลือก Typical Settings รปู 5.86 แสดงการเลือก Typical Settings20. ใส่ช่อื Workgroup รปู 5.87 แสดงการใส่ชอ่ื Workgroup
21. การติดต้ังเสรจ็ แลว้ กด Next รูป 5.88 แสดงการตดิ ตงั้ การติดตัง้ เสร็จ22. เลือก Not right now แลว้ กด Next รูป 5.89 แสดงการเลอื ก Not right now
23. เช็คการเชอื่ มตอ่ อินเตอรเ์ น็ต ใหก้ ด Skip เพอื่ ข้ามไป รูป 5.90 แสดงการเช็คการเชอ่ื มตอ่ อินเตอรเ์ น็ต24. ถามวา่ จะ Register กับไมโครซอฟ ไหม เลอื ก No. not at this time แลว้ กด Next รูป 5.91 แสดงการเลอื ก No. not at this time
25. ใช่ชื่อของผู้ใชค้ อมพิวเตอร์ . รปู 5.92 แสดงการใชช่ ่ือของผู้ใชค้ อมพิวเตอร์26. กด Finish รูป 5.93 แสดงการกด Finish
3. การติดตง้ั ระบบปฏิบัติการ Windows 7 เพ่ือเปน็ แนวทางสาหรับการตดิ ตัง้ Windows 7 วธิ กี ารตดิ ตง้ั Windows 7 นั้นงา่ ยแบบทใี่ ครๆกท็ าได้เลอื กตดิ ตงั้ แบบลงใหมท่ ้งั หมดมีแผ่น DVD ติดต้ัง และเคร่ือง PC1. ข้ันแรก Boot ระบบดว้ ยแผ่น DVD Windows 7 ระบบจะทาการโหลดไฟล์ setting ลงไปในเครอื่ ง รปู 5.94 แสดงการ Boot ระบบ2. โลโก้ Boot screen แบบอนิเมชนั สวยงาม รูป 5.95 แสดงโลโก้ Boot screen
Search