Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รับเด็กแยกเล่มข้อควรรู้

รับเด็กแยกเล่มข้อควรรู้

Published by ddaee99, 2021-02-01 03:56:23

Description: รับเด็กแยกเล่มข้อควรรู้

Search

Read the Text Version

ขอ้ ควรร้ใู นการรับเดก็

ข้อควรรู้ 1 : การให้วติ ามนิ เค (Vitamin K) • วติ ามินเค (Vitamin K) เป็นวติ ามนิ ในกลุม่ ทลี่ ะลายไดด้ ใี นไขมนั รูปแบบทพ่ี บใน ธรรมชาติ มี 2รูปแบบ ไดแ้ ก่ วติ ามินเค I (Vitamin KI) หรอื ฟิ ลโลควโิ นน (phylloquinone) เป็นรูปแบบทพ่ี บในพืชและสตั ว์ และวติ ามนิ เค I (Vitamin KII) หรอื เมนาควโิ นน(menaquinon) เป็นรูปแบบทพ่ี บในเน้ือเยอื่ ตบั และยงั สามารถสรา้ ง ไดโ้ ดยแบคทเี รยี ทอี่ าศยั อยใู่ นรา่ งกายสาหรบั วติ ามนิ เค II (Vitamin KII) หรอื เมนา ไดโอน(menadione) นนั้ เป็นโมเลกุลทส่ี งั เคราะหข์ ้ึน ปัจจบุ นั ไมม่ ที ใ่ี ชแ้ ลว้ เนื่องจากมี รายงานวา่ ทาใหเ้ กิดภาวะซดี จากภาวะเม็ดเลอื ดแดงแตก (Hemolytic anemia)

ขอ้ ควรรู้ 1 : การให้วติ ามนิ เค (Vitamin K) (ตอ่ ) • หนา้ ทห่ี ลกั ของวติ ามนิ เคคอื ชว่ ยในการแข็งตวั ของเลือด โดยรา่ งกายใช้ วติ ามินเคในกระบวนการเติมหมูค่ ารบ์ อกซลิ ของกรดกลูตามิก (glutamic acid) ซง่ึ จาเป็นตอ่ การจบั กบั แคลเซยี มของโปรตนี ทม่ี ีหมูค่ ารบ์ อกซลิ ใน ตาแหน่งแกมมา (Y-carboxylated proteins) เชน่ โบรทรอมบิน หรอื แฟค เตอร์ II (prothrombin or factorII), แฟคเตอร์ VII, IX และ X (factors VII, IX and X),โปรตนี ซี (protein C), โปรตีนเอส (protein S) ดงั นน้ั ใน ภาวะขาดวติ ามนิ เคทาใหแ้ คลเซยี มไมส่ ามารถมาจบั กบั แฟคเตอรด์ งั กลา่ ว ขา้ งตน้ ได้ สง่ ผลใหก้ ระบวนการการแข็งตวั ของเลือดเสียไป

สาเหตกุ ารให้วติ ามินเคในทารกแรกเกิด • ทารกในครรภไ์ ดร้ บั วติ ามินเคไมเ่ พียงพอเนื่องจากการดูดซมึ ของวติ ามินเค ผา่ น placental berrier นอ้ ยมาก ในขณะเดยี วกนั นา้ นมแมก่ ็มีวติ ามนิ เคไม่ เพียงพอเชน่ เดยี วกนั โดยเฉพาะในกรณีทเ่ี ล้ยี งดว้ ยนมแมเ่ พียงอยา่ งเดยี ว ทารกแรกเกิดทกุ รายควรไดร้ บั วติ ามนิ เค(Vitamin K) เพื่อป้ องกนั โรค เลอื ดออกง่ายในเดก็ (VKDB)โดยการฉีดยาขนาด 0.๕ - ๑ มิลลิกรมั เขา้ กลา้ มเน้ือครง้ั เดยี ว (ณฐั ฐณิ ี ศรสี นั ตโิ รจน,์ 2554)

ขอ้ ควรรู้ 2 : การให้ Hepatitis B Vaccine ทารกทุกรายควรไดร้ บั การฉีด Hepatitis B Vaccine ตง้ั แตแ่ รก เกิด ซงึ่ เช้อื ไวรสั ตบั อกั เสบบีตดิ ตอ่ จากคนสูค่ นผา่ นการไดร้ บั หรือ สมั ผสั เลอื ด ผลิตภณั ฑข์ องเลอื ด หรอื สารคดั หลงั่ ทปี่ นเป้ือนเช้อื ของผทู้ เ่ี ป็นภาหะ ทารกแรกเกิดสามารถตดิ เช้อื จากมารดาทเี่ ปน พาหะในขณะคลอดและระยะหลงั คลอดได้ ระยะฟักตวั หลงั ไดร้ บั เช้อื เฉลี่ย 60-90 วนั ในผูต้ ดิ เช้อื เฉยี บพลนั สว่ นใหญส่ ามารถหาเองได้ และรา่ งการจะสรา้ งภูมคิ มุ้ กนั หรอื อาจกลายเป็นผูร้ บั เช้อื เร้อื รงั ไป ตลอดชวี ติ

ข้อควรรู้ 2 : การให้ Hepatitis B Vaccine (ตอ่ ) โดยทว่ั ไปการตดิ เช้อื ในขอบปีแรกมีโอกาสกลายเป็นภาหะรอ้ ยละ 80-90 ซง่ึ การตดิ เช้อื เร้อื รงั สว่ นใหญจ่ ะเกิดจากการตดิ เช้อื ขณะคลอด หากมารดาทเ่ี ป็น พาหะมี HBsAg และHBeAg เป็นบวกทง้ั คู่ พบวา่ บุตรทต่ี ดิ เช้อื จะกลายเป็น พาหะรอ้ ยละ 90 และถา้ มารดามี HBsAg เป็นบวก แต่ HBeAg เป็นลบ บุตรจะเป็นพาหะรอ้ ยละ 10 ซงึ่ ผูเ้ ป็นพาหะไวรสั ตบั อกั เสบบีมีโอกาสเจบ็ ป่ วย ลุกลามไปเป็นโรคตบั เร้อื รงั โรคตบั แข็ง ตบั วาย หรอื มะเรง็ ตบั ได้

ขอ้ ควรรู้ 2 : การให้ Hepatitis B Vaccine (ตอ่ ) • Hepatitis B Vaccine เป็นวคั ซนี ชนิดนา้ จดั เก็บระหวา่ ง 2 ° C ถึง 8 ° C อยา่ แชแ่ ข็งเพราะจะลดประสทิ ธภิ าพลง มี HBsAg ขนาด 10-20 microgram วคั ซนี ของแตล่ ะบรษิ ทั จะมีปรมิ าณแอนตเิ จนไมเ่ ทา่ กนั แตม่ ปี รมิ าณเทา่ กนั คอื 0.5 ml ตอ่ ครงั้ ในเดก็ ทารก ฉีดเขา้ ชนั้ กลา้ มเน้ือบรเิ วณกึ่งตน้ ขาดา้ นหนา้ คอ่ น ไปดา้ นนอก ไมแ่ นะนาใหฉ้ ีกทส่ี ะโพก เพราะอาจฉีดเขา้ ชน้ั ไขมนั ใตผ้ วิ หนงั ไมล่ งลึกถึงชน้ั กลา้ มเน้ือ ซง่ึ ทาใหเ้ กิดการสรา้ งภูมิคมุ้ กนั ตา่ กวา่ การให้ Hepatitis B Vaccine ตามมาตรฐาน มดี งั น้ี

ข้อควรรู้ 2 : การให้ Hepatitis B Vaccine (ต่อ) 2.1 ในทารกทเ่ี กดิ จากมารดาทเี่ ป็นพาหะ ใหฉ้ ดี ภายใน 12 ชว่ั โมงหลงั เกิด รว่ มกบั Hepatitis B immunoglobulin (HBIG) และใหท้ อี่ ายุ 1 เดอื น จากนน้ั ให้ ตอ่ เน่ืองตามปกตทิ อ่ี ายุ 2, 4, 6 เดอื น และไมค่ วรขาดเข็มที่ 1 เดอื น เพราะภมู คิ มุ้ กนั อาจไมเ่ พียงพอทจ่ี ะป้ องกนั การตดิ เช้อื ถงึ อายุ 2 เดอื น 2.2 ในทารกทเ่ี กิดจากมารดาทไ่ี มเ่ ป็นพาหะ ใหฉ้ ดี 3 ครง้ั (0, 1, 6) ครง้ั แรกใหฉ้ ดี ภายใน 24 ชวั่ โมงหลงั เกิด ครงั้ ท่ี 2 ใหห้ า่ งจากครงั้ แรกอยา่ งนอ้ ย 4 สปั ดาห์ มกั ใหเ้ มือ่ อายุ 1 เดอื น ครงั้ ที่ 3 ใหห้ า่ งจากครงั้ ทสี่ องอยา่ งนอ้ ย 4 สปั ดาห์ ควรให้ ในชว่ งอายุ 4-6 เดอื น (ปิยะนุช ขูโต, 2562)

ขอ้ ควรรู้ 2 : การให้ Hepatitis B Vaccine (ตอ่ ) การดูแลภายหลงั ไดร้ บั วคั ซนี ทารกบางรายอาจมีอาการปวด บวมบรเิ วณทฉี่ ดี อาจมีไขต้ า่ ๆ (ไขม้ ากกวา่ 37.7 ° C ) พบรอ้ ยละ 1-6 มกั มอี าการ 3-4 ชว่ั โมง หลงั ฉดี และไมน่ านเกิน 24 ชวั่ โมง ดแู ลเชด็ ตวั ลดไขแ้ ละควรใหย้ าลดไขใ้ นราย ทที่ ารกมีไขแ้ ละรอ้ งกวนมาก (Tejasvi Chaudhari, 2020)

ขอ้ ควรรู้ 3 : การฉดี วัคซนี เขา้ ในชั้นกล้ามเน้อื บรเิ วณหนา้ ขา (Intramuscular route) • การฉดี วคั ซนี เขา้ ในชนั้ กลา้ มเน้ือหนา้ ขา หมายถึงการฉดี ลกึ ถึงชนั้ กลา้ มเน้ือ Vastus Lateralis บรเิ วณหนา้ ขา ใชก้ บั วคั ซนี ทม่ี ี Adjuvant เชน่ วคั ซนี รวม คอตบี ไอกรน บาดทะยกั , วคั ซนี ตบั อกั เสบบี หรอื วคั ซนี รวม DTP-HB หากฉีดวคั ซนี เหลา่ น้ีผิดชนั้ เชน่ เขา้ ชน้ั ใตผ้ ิวหนงั จะระคายเคอื ง ทาใหเ้ กิดการอกั เสบเป็นไตแข็งเฉพาะทห่ี รือเป็นฝี ไรเ้ ช้อื อายุทคี่ วรไดร้ บั การ ฉดี วคั ซนี เขา้ ในชน้ั กลา้ มเน้ือหนา้ ขา ตงั้ แตแ่ รกเกิดจนถึงเดก็ อายุ 2 – 3 ปี

ตาแหน่งการฉดี • โดยการฉีดเขา้ กลา้ มเน้ือ Vastus Lateralis วดั ตาแหน่งการฉดี โดยแบง่ หนา้ ขาเป็น 3 สว่ น จากป่ ุมกระดกู ตน้ ขา (greater trochanter) ถึงกระดกู สะบา้ หวั เขา่ หรอื pettella ใหฉ้ ดี ตรงตาแหน่งสว่ นกลางดา้ นหนา้ คอ่ นไป ทางดา้ นนอก

การจัดท่าเดก็ • การจดั ทา่ เดก็ เล็กโดยใหเ้ ดก็ นอนหงาย และตรงึ บรเิ วณหนา้ ขาและเขา่ ใหอ้ ยู่ นิ่งกอ่ นฉดี โดยผตู้ รงึ เด็กใหใ้ ชบ้ รเิ วณงา่ มน้ิวหวั แมม่ ือและน้ิวช้กี ดบรเิ วณใต้ เขา่ เล็กนอ้ ยลงไปกบั พ้ืนและอกี มือใหจ้ บั ตน้ ขาไวแ้ นน่ พอควรเปิดบรเิ วณตน้ ขาใหเ้ ห็นชดั ตง้ั แตก่ ระดกู ตน้ ขาถึงหวั เขา่ เด็ก กรณีเด็กใสผ่ า้ รองกน้ ปิดถึง กระดกู ตน้ ขาควรปลดออกใหเ้ ห็นกระดูกตน้ ขาชดั เจน เพ่ือป้ องกนั การวดั ตาแหน่งผดิ พลาด

อปุ กรณส์ าหรบั การฉีดวคั ซนี เข้าในชนั้ กล้ามเนื้อ 1. Syringe ขนาดบรรจุ 3 cc. 2. เข็มฉดี ยาตามขนาดอายุเดก็ - ทารกแรกเกิดใชเ้ ข็มเบอร์ 26 G - 27 G ยาว 5/8 – 1 น้ิว - เดก็ อายุ 2-12 เดอื น ใชเ้ ข็มเบอร์ 25 G ยาว 5/8-1 น้ิว - เดก็ ขนาด 1 ปี ข้นึ ไปใชเ้ ข็มเบอร์ 24-25 G ยาว 1 น้ีว 3. เข็มเบอร์ 25 G สาหรบั ดูดยา 4. Transfer forceps5. กระปุกสาลี 2 ใบ บรรจสุ าลีแหง้ 1 ใบ 5. สาลชี บุ Alcohol 70% 1 ใบ 6. Alcohol 70%

เทคนิคการฉีด 1. จบั กระบอกฉดี ยาทเี่ ตรยี มยาไวพ้ รอ้ มฉดี ดว้ ยมือขา้ งหน่ึง มอื อกี ขา้ งตรงึ ผวิ หนงั บรเิ วณ ฉดี ใหต้ งึ และกดดงึ กลา้ มเน้ือใหเ้ ฉยี งลงเป็นรูปตวั z-tract เล็กนอ้ ยกอ่ นแทงเข็มเพ่ือกนั ไมใ่ ห้ มีเลือดซมึ ออกหลงั ฉีดวคั ซนี เสร็จ และลดความเจบ็ ปวดได้ 2. ฉดี วคั ซนี โดยทามุมตง้ั ฉากกบั กระดกู หนา้ ขา ฉีดลึก ¾ -1 น้ิว 3. ก่อนดนั ยาตอ้ งดงึ แกนในกระบอกฉดี ยาข้ึนทกุ ครง้ั เพื่อทดสอบการฉีดยาเขา้ หลอดเลือด กรณีพบวา่ มเี ลอื ดเขา้ มาในกระบอกฉีดยา ไมค่ วรฉีดวคั ซนี ตอ้ งเลอ่ื นเข็มฉีดยาเพื่อฉีดใหม่ ทุกครงั้ 4. ใชส้ าลีแหง้ กดตาแหน่งทฉี่ ดี ยา(เทคนิคการฉีดตามแตค่ วามถนดั ของผทู้ าหตั ถการ)

ปฏิกริ ิยาและคาแนะนา 1. ปฏิกิรยิ าบวม แดงเฉพาะท่ี ควรประคบดว้ ยความเย็นและใหย้ าแก้ ปวดทนั ทภี ายใน 24 ช.ม. 2.เป็นกอ้ นแข็งและเป็นฝี ไรเ้ ช้อื (Sterile abscess) เกิดจากการฉดี ต้นื เกินไปไมล่ กึ ถึงชนั้ กลา้ มเน้ือ แนะนาให้ ประคบเยน็ แตห่ ากไมด่ ขี ้นึ หรอื ฝี มีขนาดใหญค่ วรไปพบแพทย์ หากเป็นฝี มเี ช้อื ตอ้ งใหย้ าปฏิชวี นะ

ปฏิกิริยาและคาแนะนา (ต่อ) • 3. มีไข้ รอ้ งกวน ปวดบวม แดง รอ้ นบรเิ วณทฉ่ี ดี วคั ซนี อาการมกั จะเรมิ่ 3 – 4 ชว่ั โมงหลงั ฉดี และมีอาการนานไมเ่ กิน 2 วนั ควรแนะนามารดาใหเ้ ชด็ ตวั ดว้ ยนา้ เย็นธรรมดา และใหย้ าลดไข้ • 4. กรณีเกิดผนื่ ลมพิษหลงั ฉดี ทนั ที (ภายในเวลาไมก่ ี่วนิ าท)ี อาจเป็น Anaphylaxis ได้ ตอ้ งสงั เกตอาการอยา่ งใกลช้ ดิ และรบี สง่ พบแพทย์ • 5. ควรสงั เกตอาการแพว้ คั ซนี หลงั ฉดี วคั ซนี 30 นาที ในบรเิ วณใกลๆ้ สถานทท่ี ี่ สามารถชว่ ยเหลอื เด็กไดท้ นั ภายใน 4 นาที

ข้อควรรู้ 4 : การประเมินสัญญาณชพี (ปยิ ะนุช ชูโต, 2562) • อุณหภมู ิ • คา่ ปกตขิ องทารกแรกเกิด คอื 36.5-37.5 องศาเซลเซยี ส หลกั การวดั อณุ หภมู ิ ผวู้ ดั ตอ้ ง สลดั เทอรโ์ มมิเตอรใ์ หต้ า่ กวา่ 35 องศาเซลเซยี ส หลอ่ ลื่นดว้ ยวาสลนี (ในทนี่ ้ีใชเ้ จลในการ หลอ่ ลน่ื ) ในทารกครบกาหนด วดั ทางทวารหนกั นาน 3 นาที สอดปรอทลกึ 3 และการวดั ทางรกั แร้ วดั นาน 8 นาที สาหรบั ในทารกเกดิ กอ่ นกาหนด การวดั ทางทวารหนกั ใหว้ ดั นาน 3นาที สอดปรอทลกึ 2.5 และการวดั ทางรกั แรว้ ดั นาน 5 นาที การวดั อณุ หภมู ิทาง ทวารหนกั มคี วามแมน่ ยาสงู และถูกตอ้ งมากทส่ี ดุ แตท่ ารกเสยี่ งตอ่ การไดร้ บั บาทเจบ็ ผู้ วดั ตอ้ งจบั เทอรโ์ มมเิ ตอรไ์ วต้ ลอดเวลา โดยไมป่ ลอ่ ยคาไวเ้ พราะอาจเลอ่ื นหลุด ควรวดั อุณหภมู ทิ ารกแรกเกิดทุกๆ 30 นาที จนครบ 2 ชว่ั โมง เมอื่ คงทแ่ี ลว้ วดั ทกุ 8 ชว่ั โมง

ขอ้ ควรรู้ 4 : การประเมนิ สัญญาณชพี (ปิยะนชุ ชูโต, 2562) (ตอ่ ) • อตั ราการหายใจ • ทารกแรกเกิดปกตมิ อี ตั ราการหายใจ 35-60 ครงั้ ตอ่ นาที โดยการเคลื่อนไหวของ กระบงั ลมเป็นจงั หวะสมั พนั ธก์ บั การเคลื่อนไหวของกลา้ มเน้ือหนา้ ทอ้ ง อาจหายใจ เรว็ ถึง 80 ครง้ั ตอ่ นาที และอาจมีการหยุดหายใจเป็นพกั ๆ แตไ่ มเ่ กิน 5-10 วนิ าที โดยไมม่ ีการเปลย่ี นแปลงของสผี วิ หรอื อตั ราการเตน้ ของหวั ใจ การหายใจชา้ (Bradypnea) คอื นอ้ ยกวา่ 25 ครง้ั ตอ่ นาที และการหายใจเร็ว(Tachypnea) คอื มากกวา่ 60 ครงั้ ตอ่ นาที

ข้อควรรู้ 4 : การประเมินสัญญาณชีพ (ปิยะนชุ ชูโต, 2562) (ต่อ) • อตั ราการเตน้ ของหวั ใจ • ทารกแรกเกิดครบกาหนด ปกตใิ นสภาวะตนื่ มีอตั ราการเตน้ ของหวั ใจ 120-160 ครงั้ ตอ่ นาที ชว่ งหลบั ลกึ มอี ตั รา 85-90 ครงั้ ตอ่ นาที และขณะรอ้ งไหม้ ีอตั รา 180 ครงั้ ตอ่ นาที การวดั ตอ้ งวดั ครบ 1 นาที เพราะขณะวดั อาจมีคา่ ข้นึ ๆลงๆได้ การเตน้ ของหวั ใจชา้ (Bradycardia) คอื นอ้ ยกวา่ 100 ครงั้ ตอ่ นาที และการเตน้ ของหวั ใจเร็ว (Tachycardia) คอื มากกวา่ 160 ครง้ั ตอ่ นาที

ขอ้ ควรรู้ 4 : การประเมินสัญญาณชีพ (ปิยะนุช ชูโต, 2562) (ต่อ) • ความดนั โลหติ • ปกตไิ มม่ ีการวดั จะวดั กรณีคะแนนแอพการต์ า่ หรอื มขี อ้ บง่ ช้ที างคลนิ ิก ทารกแรกเกิดปกตจิ ะมีคา่ ความดนั systolic 60-80 mmHg และความดนั diastolic 40-50 mmHg เมอ่ื มอี ายุ – วนั ความดนั โลหติ จะเพ่ิมเป็น 10 การวดั ใหไ้ ดค้ า่ ทถ่ี กู ตอ้ งตอ้ งใช้ cuff ทมี่ ีความกวา้ งประมาณ 2/3 ของความ ยาวตน้ แขนของทารก

ขอ้ ควรรู้ 5 : Apgar scoring system (ปยิ ะนชุ ชูโต, 2562) • การประเมินทารกแรกเกิดมวี ตั ถุประสงคเ์ พื่อประเมินความปกตหิ รอื ผดิ ปกตทิ ารกเพ่ือให้ การดแู ลชว่ ยเหลือทารกไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง เหมาะสม และทนั เวลา ดงั น้ี • การใชค้ ะแนน (Appgar scoring system) เป็นการประเมนิ ทางคลิกนิกของทารก 5ประการ มกั ประเมนิ ในนาทที ี่ 1 และ5หลงั เกิด และในกรณที ารกมคี ะแนนรวมในนาทที 5ี่ ตา่ กวา่ 7 คะแนน ควรตดิ ตามประเมินเพ่ิมเตมิ ทกุ ๆ5นาที จนครบ 20นาที เพ่ือจดั การชว่ ยเหลอื ทารกไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ผลการประเมินในนาทที ่ี 1 จะบง่ ช้กี ารปรบั ตวั ของทารกเม่อื แรกเกิด ทนั ทวี า่ ทารกมีภาวะขาดออกซเิ จนหรอื ไม่ และตอ้ งการความชว่ ยเหลือมากนอ้ ยเพียงใด ซงึ่ จะ แสดงถึงความจาเป็นของทารกทตี่ อ้ งการปฏิบตั ชิ ว่ ยฟ้ืนคนื ชพี (resuscitation )อยา่ ง ทนั ทว่ งที สว่ นผลการประเมนิ ในนาทที 5่ี จะบง่ ช้ภี าวะโดยภาพรวมของประสาทสว่ นกลางซงึ่ ใช้ เป็นตวั พยากรณก์ ารรอดชวี ติ ของทารกได้

Apgar scoring system (ต่อ) • เพื่อใหจ้ าไดง้ า่ ย มีผนู้ าซง่ึ ผูพ้ ฒั นามาใชก้ ากบั ลกั ษณะทใี่ ชป้ ระเมิน ดงั น้ี • A=Appearance (color /สผี วิ ) • P=Pulse (heart rate/อตั ราการเตน้ ของหวั ใจ) • G=Grimace (reflex irritability/ปฏิกิรยิ าตอบสนองตอ่ การกระตนุ้ ) • A=Activity(muscle tone/ความตงึ ตวั ของกลา้ มเน้ือ) • R=Respiration (respiration effort/ความสามารถในการหายใจ)



การแปลความหมายของคะแนน Apgar score • คะแนน 8-10 ทารกมีสุขภาพปกติ สามารถปรบั ตวั ได้ ตอ้ งการการดูแล ตามปกติ ไดแ้ ก่ การดูดสารคดั หลงั่ ในปากและจมกู เบาๆ ดว้ ยลกู สบู ยาง เชด็ ตวั ใหแ้ หง้ ใสห่ มวกและหอ่ ตวั ใหอ้ บอุน่ • คะแนน 4-7 ทารกมีภาวะพรอ่ งออกซเิ จนเล็กนอ้ ยถึงปานกลาง ทารกตอ้ งการ ความชว่ ยเหลือ ชว่ ยกระตุน้ การหายใจ ดูดสารคดั หลงั่ ในปากและจมูกดว้ ยสาย ยางใหอ้ อกซเิ จนทางหนา้ กาก ดแู ลใหค้ วามอบอนุ่ อยา่ งเพียงพอ และสงั เกต อาการผดิ ปกตอิ ยา่ งใกลช้ ดิ ตอ่ ไป • คะแนน 1-3 ทารกมภี าวะพรอ่ งออกซเิ จนรุนแรง (severe asphyxia) มีสขุ ภาพ ไมด่ ี ทารกตอ้ งการ การปฏิบตั ชิ ว่ ยฟ้ืนคนื ชพี อยา่ งเรง่ ดว่ นโดยกุมารแพทย์ และ ทมี งานพยาบาลทมี่ ปี ระสทิ ธิภาพ

การแปลความหมายของคะแนน Apgar score (ต่อ) • การประเมินอาการแสดงผดิ ปกติ นอกจากน้ีควรมีการประเมนิ อาการแสดง (signs) ซงึ่ บง่ ช้วี า่ ทารกแรกเกิดมีปัญหาสุขภาพทตี่ อ้ งการดูแลเรง่ ดว่ น ไดแ้ ก่ หายใจมีปีกจมูกบาน หายใจอกบุม๋ (retraction) เสยี งหายใจผดิ ปกติ (rhonchi, rales, wheezing, stidor) อตั ราการหายใจชา้ หรอื เรว็ ผดิ ปกติ สี ผวิ เขียวทว่ั ตวั กลา้ มเน้ือออ่ นปวกเปียก อตั ราการเตน้ ของหวั ใจชา้ หรอื เร็ว ผิดปกติ และขนาดของทารกมีขนาดเล็กหรือโตผดิ ปกติ

ขอ้ ควรรู้ 6 : ทาไมตอ้ งป้ายตาทารกด้วย Terramycineye ointment • การให้ eyecare ดว้ ยการป้ ายตาทารกดว้ ย 0.5%Erythromycineyeointment หรือ Terramycineye ointment เพ่ือป้ องกนั Gonococcal- ophthalmianeonatorum หรอื เยอ่ื ตาอกั เสบจากเช้อื อน่ื ๆ (พิมลรตั น์ ไทย ธรรมยานนท,์ 2545) นอกจากน้ียงั ป้ องกนั การติดเช้อื Neisseria gonorrhea และ Chlamydia trachomatis การป้ ายตาทารกแรกเกิดควรทาภายหลงั 1 ชวั่ โมงแรกทท่ี ารกไดม้ ีการสมั ผสั แนบเน้ือและการประสานสายตากบั มารดา เรยี บรอ้ ยแลว้ (ปิยะนุช ชโู ต, 2562)

ขอ้ ควรรู้ 7 : แนวทางการดแู ลทารกทม่ี ภี าวะ น้าตาลในเลอื ดต่า • การวินิจฉยั ระดบั นา้ ตาลกลโู คสนพลาสมา<45 mg/dl • สาเหตุ • การสรา้ งไม่เพยี งพอ • ทารกนา้ หนกั ตวั นอ้ ยกวา่ อายุครรภ์ (SGA/IUGR) • ทารกเกิดกอ่ นกาหนด • ทารกไดร้ บั อาหารไมเ่ พียงพอ

ขอ้ ควรรู้ 7 : แนวทางการดแู ลทารกทม่ี ี ภาวะน้าตาลในเลอื ดต่า (ต่อ) • มีการใชม้ าก • ทารกทม่ี ารดาเป็นเบาหวาน • มารดาไดร้ บั ยากลุม่ beta sympathomimetic เชน่ terbutaline, salbutamol มผี ลใหร้ ะดบั กลโู คสในมารดาสงู ข้นึ กระตนุ้ ใหท้ ารก สรา้ ง insulin เพิ่มข้ึนได้ • ทารกมคี วามผิดปกติ เชน่ Beckwith-Weidemmann syndrome,Erythroblastosis fetailis,Tumor ทผี่ ลติ insulin เชน่ nesidioblastosis, islet-ell adenoma • การไดส้ ารนา้ ทม่ี กี ลูโคสสงู เขา้ ทางเสน้ เลือดแลว้ หยุดทนั ที

ข้อควรรู้ 7 : แนวทางการดแู ลทารกท่มี ี ภาวะน้าตาลในเลอื ดต่า (ต่อ) - สาเหตอุ นื่ ๆ ซงึ่ มีหลายปัจจยั รว่ มกนั • Perinatal stress ไดแ้ ก่ sepsis, shock, asphysia, hypothermia • Polycythemia(HCT≥65%) • มารดาไดร้ บั ยา Propranolol • Exchange transfusion • ทารกมคี วามผดิ ปกติ เชน่ Carbohydrate metabolism defect, Inborn error of metabolism , Adrenal insufficiency

ข้อบง่ ช้ใี นการเจาะ DTX • ควรตรวจคดั กรองระดบั นา้ ตาลในเลอื ด (DTX) ภายใน 1-2 ชว่ั โมงหลงั เกิด ในทารกทมี่ ี ความเสยี่ งสงู 1. ทารกทม่ี นี า้ หนกั ตวั <2500 กรมั และ นา้ หนกั >3800 กรมั 2. มารดาเป็นโรคเบาหวาน 3. ทารกทม่ี ีภาวะเลอื ดขน้ 4. ทารกทป่ี ่ วยหนกั เชน่ prematurity, respiratory distress, asphysia ,sepsis อาการและอาการแสดง -สว่ นใหญม่ กั ไมม่ อี าการ(asymptomic) ทมี่ ีอาการ (symptomic) มกั จะเป็นอาการ ทไ่ี มจ่ าเพาะเชน่ ซมึ สน่ั หยุดหายใจ เขยี ว หายใจเร็วกระสบั กระสา่ ย hypotonia ชกั หมดสติ

การรกั ษา • กรณีไมม่ อี าการและ DTX > 35 mg/dl  ถา้ ไมม่ ขี อ้ หา้ มในการกิน ใหก้ ินนมแม่/นมผสม หรอื 5%DW  ตรวจ DTX หลงั กินทุก 30 นาที x 2ครั้ งและอกี 1 ชวั่ โมงถดั ไป 1. ถา้ คา่ DTX > 45 mg/dl ใหต้ รวจ DTX กอ่ นกินนมทุกม้อื 2. ถา้ คา่ DTX < 45 mg/dl ใหส้ ง่ เลือดตรวจหาสาเหตุเพิ่มเตมิ และ on IVF โดยคานวณอตั ราการไหลของกลโู คส (glucose infusion rate, GIR) 5-8 mg/kg/min อตั ราการไหลของกลโู คส (mg/kg/min)= % กลูโคส (gm/100) x อตั ราการใหส้ ารนา้ (ml/hr) 6 x นา้ หนกั ตวั (kg)

การรักษา (ตอ่ )  ตรวจ DTX หลงั on IVF ทุก 30 นาที x 2 ครง้ั ทกุ 1 ชว่ั โมง x 2 ครงั้ และทุก 4 ชว่ั โมงในชว่ งแรก(ตามเหมาะสม) ใหร้ ะดบั นา้ ตาลในเลอื ด อยใู่ นชว่ ง 50-130 mg/dl  ถา้ มีขอ้ หา้ มในการกิน ใหเ้ รมิ่ ตน้ on IVF เลย

• กรณีมีอาการ หรอื DTX < 35 mg/dl o ให้ 10%DW 2 ml/kg IV slow push ตอ่ ดว้ ย IVF ทม่ี ี GIR 5-8 mg/kg/min o ตรวจ DTX หลงั on IVF ทุก 30 นาที x 2 ครง้ั ทกุ 1 ชว่ั โมง x 2 ครง้ั และทกุ 4 ชวั่ โมง (ตามเหมาะสม) ถา้ คา่ DTX < 45mg/dl ใหส้ ง่ เลอื ดตรวจหาสาเหตุเพ่ิมเตมิ

 ปรบั เพิ่ม / ลด GIR ครงั้ ละ 2 mg/kg/min และตดิ ตามคา่ DTX หลงั เพิ่ม / ลดอกี 1 ชวั่ โมงถดั ไป ใหร้ ะดบั นา้ ตาลในเลือดอยใู่ นชว่ ง 50-130 mg/dl  ถา้ เพ่ิม GIR ถึง 12-14 mg/kg/min แลว้ คา่ DTX ยงั <45mg/dl ให้ hydrocortisone 5 mg/kg/dose IV slow push ทกุ 12 ชวั่ โมง  ขอ้ ควรระวงั -ถา้ ตอ้ งใชส้ ารนา้ ความเขม้ ขน้ มากกวา่ 12.5% ตอ้ งใหท้ าง central vein -ควรคานึงถึงภาวะอนื่ ทอ่ี าจทาใหม้ นี า้ ตาลตา่ รว่ มดว้ ยเชน่ sepsis, asphyxia

ข้อควรรู้ 8 : วิธเี จาะเลือดและชนดิ ของเลอื ดทีใ่ ช้ (วรรณกิ า มโนรมณแ์ ละคณะ, 2556) 1.การเตรยี มตวั กอ่ นเจาะเลือดตรวจหาระดบั นา้ ตาลในเลอื ด งดอาหารและเครอ่ื งดมื่ ทุกชนิดอยา่ งนอ้ ย 8 ชวั่ โมง (เนื่องจากนา้ ตาลจาก สารอาหารทรี่ บั ประทานเขา้ ไปจะอยูใ่ นกระแสเลอื ด 8 ชว่ั โมง จงึ ถกู ดงึ ไปใช้ เป็นพลงั งาน) รวมทง้ั หา้ มเค้ยี วหมากฝรงั่ และลูกอม ในกรณีของทารก สามารถเจาะไดเ้ ลย

วิธเี จาะเลอื ดและชนดิ ของเลอื ดทีใ่ ช้ (ตอ่ ) 2.การเจาะเลือดจากปลายน้ิว 2.1ลา้ งมือใหส้ ะอาดก่อนเจาะเลือดทกุ ครง้ั 2.2 นวดคลงึ ปลายน้ิวทจี่ ะทาการเจาะเลือด (น้ิวกลาง หรอื น้ิวนาง) เพื่อใหเ้ ลอื ด ไหลเวยี นดขี ้ึน 2.3ใชส้ าลีชุบ Alcohol 70% เชด็ บรเิ วณทจี่ ะทาการเจาะเลอื ด รอใหแ้ หง้ 2.4 ใชอ้ ปุ กรณเ์ จาะเลอื ด (ใบมีด หรอื เข็ม) เจาะทดี่ า้ นขา้ งของปลายน้ิว 2.5เชด็ เลอื ดหยดแรกออกก่อนดว้ ยสาลแี หง้ และทดสอบกบั เลือดหยดทสี่ อง

วิธีเจาะเลือดและชนดิ ของเลอื ดทใ่ี ช้ (ตอ่ ) 2.6 กรณีเจาะเลือดจากเด็กแรกเกิด ควรเจาะจากสน้ เทา้ ดา้ นขา้ ง ตามรูป และมีความลกึ ไมเ่ กิน 2 มลิ ลิเมตร

ปจั จยั ที่มผี ลกระทบความแม่นยาของ เคร่ืองตรวจน้าตาลในเลอื ด • ชนิดของเลือด ในการเลือกใชเ้ ครอ่ื งตรวจนา้ ตาลในเลอื ดชนิดพกพา ควรพิจารณาดู ดว้ ยวา่ เครอ่ื งมอื นนั้ สามารถตรวจเลือดทเี่ จาะไดจ้ ากปลายน้ิว (capillary) เสน้ เลือด แดง (artery) เสน้ เลือดดา (Vein) หรอื ในเดก็ ทารก (Neonate) ไดด้ ว้ ยหรอื ไม่ เนื่องจากเครอ่ื งตรวจนา้ ตาลในเลอื ดบางชนิดตรวจไดจ้ ากทงั้ 4 แหลง่ บางชนิดตรวจได้ จากเฉพาะปลายน้ิว เสน้ เลือดแดงและเสน้ เลือดดาเทา่ นน้ั ไมส่ ามารถนามาใชก้ ารตรวจ เลอื ดจากเดก็ ทารกทม่ี ีคาความเขม้ ขน้ ของเลอื ด (hematocrit) ทสี่ งู ได้ ถา้ หากตอ้ งกา ตรวจเลือดเดก็ ทารกควรเลอื กแถบทดสอบทส่ี ามารถรองรบั คา่ ความเขม้ ขน้ ของเลือดที่ มากกวา่ 60%

ปจั จัยทีม่ ีผลกระทบความแม่นยาของเคร่ืองตรวจ นา้ ตาลในเลือด (ต่อ) • ความน่าเชอ่ื ถือของรายงานผล จากการศึกษาวจิ ยั เปรยี บเปรยี บเทยี บคา่ นา้ ตาลในเลือด จากการเจาะเลอื ดจากเสน้ เลอื ดดา (FPG)และปลายน้ิว (BGM)และตรวจทนั ทพี บวา่ คา่ เบีย่ งเบนมาตรฐานของนา้ ตาลทวี่ ดั ไดจ้ ากทงั้ 2แหง่ ไมแ่ ตกตา่ งกนั และสามารถจะตรวจคา่ นา้ ตาลจากเสน้ เลือดดา และเสน้ เลือดฝอยจากปลายน้ิว แตค่ า่ นา้ ตาลจากเสน้ เลอื ดดาจะ เหมาะสมทส่ี ุด นอกจากน้ี เทคนิคการใชเ้ ครอ่ื งมือตอ้ งเป็นไปตามขนั้ ตอนทบี่ รษิ ทั ผูผ้ ลติ กาหนดและแถบตรวจทตี่ อ้ งใชเ้ หมาะสมกบั เครอ่ื งตรวจนา้ ตาลในเลือดชนิดพกพาและ ตอ้ งไมห่ มดอายุหรอื เสอื่ มสภาพเมือ่ ใชเ้ สร็จแลว้ จะตอ้ งมกี ารจดั เก็บและดแู ลรกั ษาใหด้ ี ตามคาแนะนาทผี่ ผู้ ลติ กาหนด

ขอ้ ควรรู้ 9 : การประเมนิ สภาพทารกแรกเกดิ • การประเมินสภาพทารกแรกเกิด ทารกแรกเกิดจะไดร้ บั การประเมินทสี่ าคญั ไดแ้ ก่ การตรวจรา่ งกายตามระบบ การประเมินระบบประสาท การประเมินอายุ ครรภ์ โดยมีรายละเอยี ดในเลม่ ถดั ไปนะคะ Scan

จัดทาโดย นางสาวนภสั สร​ นวนคา​ เลขที่ 57 นางสาวนรากร กิจวงษ์ ​เลขท่ี 58 นางสาวนริยา ​วรชิน เ​ ลขท่ี 59 นางสาวนรศิ รา​ โพธล์ิ าภดว้ ง เลขท่ี 60 นางสาวนรศิ รา​ ศรปี ระเสริฐ เลขท่ี 61 นางสาวนฤมล บญุ เจมิ เ​ ลขท่ี 62 นางสาวนวลหง​ ขาวประเสริฐ เลขท่ี 63 นางสาวนทั ธมน ชยาวาณิชกุล เลขท่ี 64 นกั ศกึ ษาพยาบาลศาสตรบัณฑติ ช้ันปีที่ 3 วิทยาลยั พยาบาลพระปกเกล้า จนั ทบุรี

บรรณานกุ รม กนกพรรณ เรอื งนภา.(). หตั ถการพืน้ ฐานสาหรับเด็ก (Basic pediatric procedure). สบื ค้น 7/มกราคม/2563, จาก https://meded.psu.ac.th/binlaApp/class05/388_551/Basic_p ediatric_procedure/index4.html ณัฐฐิณี ศรีสันติโรจน์.(2554). การให้วติ ามินเคเพื่อปอ้ งกนั โรคเลอื ดออกใน ทารกแรกเกดิ . เวชบนั ทึกศริ ริ าช, 15(1), สืบคน้ จาก https://he02.tcithaijo.org/index.php/simedbull/article/down load/241877/164632/

บรรณานุกรม (ต่อ) ปิยะนุช ชูโต.(2562). การพยาบาลและการผดุงครรภ:์ สตรีในระยะคลอดและ หลังคลอด. เชยี งใหม่: บรษิ ัท สมาร์ทโคตรต้งิ แอนดเ์ ซอร์วิส จากัด วรรณกิ า มโนรมณแ์ ละคณะ.(2556). คูม่ ือการใช้เครื่องตรวจนา้ ตาลชนิดพกพา. กรงุ เทพ: แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคเรือ้ รังและโรคเฉพาะ.สืบคน้ จาก https://www.nakhonphc.go.th


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook