Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Gasline Issue #91

Gasline Issue #91

Published by PTT Distribution Service Center, 2016-02-12 02:24:58

Description: จุลสารก๊าซไลน์ฉบับที่ 91

Keywords: PTT, DSCNG, Gasline

Search

Read the Text Version

https://DSCNG.pttplc.comปท่ี 24 ฉบับท่ี 91 เดอื นเมษายน - เดือนมิถนุ ายน 2556 ทะเบียนเลขที่ บมจ. 0107544000108 หนา 8 คอลมั น Gas Technology เครอ่� งมอื วดั คุณภาพกาซฯ Online Gas Chromatograph (OGC) หนา 11 คอลมั น Knowledge sharing การตรวจสอบโดยไมทำลาย (Nondestructive testing, NDT) หนา 16 คอลัมน ถามมา - ตอบไป ข้นั ตอนการยืน่ ขออนุญาตแกไ ขเปลีย่ นแปลงสถานท่ใี ชกา ซธรรมชาติClean Energy for Clean World

เปด เลม สวัสดีคะ สารบญั 2 เปดเลม ตอนรับหนาฝนกับกาซไลนฉบับที่ 2 ของป เปดเลม 3 เร�่องจากปกฉบับนี้เริ่มดวยการปลาบปลื้มปติของกลุม ปตท. ที่ไดมีโอกาส 4 ตลาดกา ซฯทูลเกลา ฯถวายเงินในโครงการสวนพระองค สวนจติ รลดา เพอื่ 5 PRกอสรางอาคารระบบสนับสนุนการผลิตอุตสาหกรรมนม พ.ศ. 6 ตลาดกาซฯทอเสน 42556 และจัดซื้ออุปกรณผลิตไอน้ำใหม รวมท้ังระบบถังเก็บ 7 ความรจู ากลกู คาน้ำมันดีเซล เพ่ือเปนศูนยรวมการผลิตไอน้ำใหกับโรงงานของ 8 Gas Technologyฝา ยปฏบิ ตั กิ ารอตุ สาหกรรม ทดแทนอปุ กรณห มอ ไอนำ้ ไฟฟา เดมิ 9 สาระนารูรายละเอยี ดความเปน มาของโครงการฯ สามารถตดิ ตามไดใ นเลม 10 ความปลอดภัยซึ่งนอกจากเร่ืองจากปกแลว ยังมีสาระความรูที่เกี่ยวกับกาซ 11 Knowledge Sharingธรรมชาติที่จะขอแนะนำในฉบับน้ีอยูหลายเร่ืองดวยกัน อาทิ 12 กนิ เทีย่ วตามแนวทอ ฯเชน อุปกรณสำหรับใชในการวัดซ้ือ-ขายและอุปกรณวัดเพ่ือ 13 ICT Cornerติดตามคุณภาพกาซฯ ใน Gas Technology การตรวจสอบรอย 14 มมุ สขุ ภาพเช่ือมทอกาซฯ แบบไมทำลายโดยใชสารแทรกซึม (Liquid 15 บรก� ารลูกคาPenetrant Testing : PT) ใน Knowledge Sharing ประชาคม 16 ถามมา - ตอบไปอาเซยี น กบั ภาระกจิ การดแู ลพลงั งาน ในสาระนา รู และขน้ั ตอนการยื่นขออนุญาตแกไขเปลี่ยนแปลงสถานท่ีใชกาซธรรมชาติใน ถามมา - ตอบไป ในฉบับท่ีแลวกาซไลนไดแนะนำบุคคลากรของสายงานระบบทอจัดจำหนายกาซธรรมชาติ ท่ีดูแลลูกคากลุมอุตสาหกรรมและผลิตไฟฟาใชเองซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงในหลายสวนงานไปแลว ซึ่งหากลูกคากาซฯบริษัทใดมีการเปลี่ยนแปลงผูดูแลรับผิดชอบทางดานกาซธรรมชาติก็สามารถแจงกลับมาท่ีสวนบริการลูกคากาซฯ ปตท.ไดทางโทรสารหมายเลข 0-2537-3257-8 หรือ อีเมล [email protected]เพื่อปรับปรุงฐานขอมูลลูกคา ซึ่งจะสงผลใหการแจงขอมูลขาวสารตางๆ เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ลูกคากาซฯรับทราบขอมูลไดรวดเร็ว ถูกคน อีกทั้งไมพลาดการติดตอสำหรับกิจกรรมดี ๆ ท่ี ปตท.ไดจัดขน้ึ อีกดวยวัตถุประสงคจุลสาร กาซไลน เปนสิ�งที่จัดทำข�้นโดย ฝายตลาดทอจัดจำหนายกาซธรรมชาติ บร�ษัท ปตท. จำกัด(มหาชน)โดยมีวัตถปุ ระสงคเพ�อ1. เปน ส่อื กลางระหวา งลูกคาและหนว ยธรุ กิจกา ซธรรมชาตใิ นทกุ ๆ ดา น2. เผยแพรข า วสารเทคโนโลยใี หมๆ เกย่ี วกบั กา ซธรรมชาตแิ ละสาระทเ่ี ปน ประโยชนร วมถงึ ขา วสารในแวดวงกา ซธรรมชาตแิ ละลกู คา กา ซฯ3. เปน ศนู ยก ลางใหก บั ลกู คา กา ซฯ และบคุ คลทว�ั ไปในการแลกเปลย่ี นปญ หา ความคดิ เหน็ หรอ� ใหค ำแนะนำแกห นว ยธรุ กจิ กา ซธรรมชาติท่ีปรกึ ษา จลุ สารกาซไลน นายสมชาย กูใหญ ผูช วยกรรมการผจู ดั การใหญส ายงานระบบทอจดั จำหนา ยกา ซธรรมชาต,ิ นางสุณี อารกี ลุ ผจู ดั การฝา ยตลาดทอจัดจำหนายกาซธรรมชาติ, นายธนรักษ วาสนะสุขะ ผูจัดการสวนบริการลูกคากาซฯ, นายถิรนันท ไกรทองสุข ผูจัดการสวนตลาดและขายกาซอตุ สาหกรรม, นายภาณุมาศ หาดทรายทอง ผจู ัดการสว นตลาดและขายกา ซพาณิชยบรรณาธกิ าร นางสาวอานัดดา เนาวประโคน กองบรรณาธิการ นางสาวภณนิ ทร ัตน วิรานันท, นางวิไลลักษณ ชีพบรสิ ุทธ สว นบริการลูกคา กา ซฯ ฝายตลาดทอ จำหนายกาซธรรมชาติ กองบรรณาธกิ ารจลุ สาร กาซไลน ขอเชิญทา นรวมแสดงความคิดเหน็ ติชม เสนอแนะ โดยสงมาที่ สวนบริการลูกคากาซฯ ฝา ยตลาดทอจัดจำหนา ยกา ซธรรมชาติ บรษิ ทั ปตท. จำกัด (มหาชน) อาคาร 2 ชัน้ 4 เลขที่ 555 ถนนวิภาวดรี ังสิต แขวงจตุจกั ร เขตจตจุ ักร กรุงเทพฯ 10900หรือ โทรศัพท 0 2537 3235 - 9 โทรสาร 0 2537 3257 - 8 หรอื Website : https://DSCNG.pttplc.com2 กาซไลน Gasline

ท่ีมา : สวนตลาดและขายกาซพาณชิ ย ฝายตลาดทอ จดั จำหนายกา ซธรรมชาติ และ เร่อ� งจากปก สว นสอ่ื สารกลุมธรุ กิจปโตรเลียมขัน้ ตนและกาซธรรมชาติ ฝายสือ่ สารองคก รปตท. ทลู เกลาฯ ถวายเงน� สรา งอาคารสนับสนุนการดำเนิน โครงการสว นพระองค สวนจ�ตรลดา ดร.ไพร�นทร ชูโชติถาวร ประธานเจาหนาที่ บร�หาร และ กรรมการผูจัดการใหญไดทูลเกลาฯ ถวายเงน� จำนวน 15 ลา นบาท เพอ่ื กอ สรา ง “อาคารระบบ สนับสนุนการผลิตอุตสาหกรรมนมพ.ศ. 2556” และ จัดซ�้ออุปกรณผลิตไอน้ำใหม ซ�่งใชน้ำมันดีเซลเปน เช�้อเพลิง รวมทั้งระบบถังเก็บน้ำมันดีเซล เพื่อเปน ศูนยรวมการผลิตไอน้ำใหกับโรงงานของฝาย ปฏิบัติการอุตสาหกรรมของโครงการสวนพระองคฯ ทดแทนอุปกรณหมอไอน้ำไฟฟาเดิม ในวโรกาสที่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร� เสด็จพระราชดำเนินทอดพระเนตรกิจการโครงการ สวนพระองค สวนจ�ตรลดา สำหรับความเปนมาของ โครงการมีการดงั น้ีËความเปน มาของโครงการ ดว ยอปุ กรณห มอ ไอนำ้ ไฟฟา (ElectricBoiler) ของฝา ยปฏบิ ตั กิ ารอตุ สาหกรรมนม โครงการสว นพระองค สวนจติ รลดา ขนาดกำลงัการผลติ เทยี บเทา 2.5 ตันตอ ชว�ั โมง จำนวน 1 ชุด ซงึ� มอี ายกุ ารใชงานประมาณ 10 ป และขนาดกำลังการผลติ เทียบเทา 0.5 ตันตอ ชัว� โมงจำนวน 2 ชดุ ซึ�งมอี ายุการใชงานประมาณ 20 ป ใชเ พ่ือผลติ ไอนำ้ ใหร ะบบการผลติ ของฝายปฏบิ ัติการอตุ สาหกรรมนม เกิดปญหาการชำรดุ บอ ยครงั้ เนอ� งจากมีอายกุ ารใชง านนาน และมคี าใชจายในการซอ มบำรุงสงู บริษัท ปตท. จำกดั (มหาชน) และโครงการสวนพระองคสวนจติ รลดา จงึ ไดร ว มกนั ศกึ ษาเพอ่ื หาแนวทางการปรบั ปรงุ แกไ ขปญ หาดงั กลา ว โดยพบวา หมอ ไอนำ้ ไฟฟา อยูในสภาพเกา ขดลวดไฟฟาบางสว นใชก ารไมไ ด จำเปน ตอ งไดร บั การซอ มแซม ทำใหไ มส ามารถผลติ ไอนำ้ ไดเ ตม็ กำลงั ความตอ งการ จงึ เหน็ ควรรว มกนั แกป ญ หาดว ยการจัดหาหมอไอนำ้ เครอื่ งใหมมาทดแทนเครอื่ งเดมิ และเพ�ิมกำลงั การผลติ ไอนำ้ รวม ข้นึ เปน 4 ตันตอ ชว�ั โมง เพ่ือใชส ำหรับผลติ ไอนำ้ ใหกระบวนการผลติ ของฝา ยปฏิบัตกิ ารอตุ สาหกรรมนม นอกจากน้� เหน็ ควรเปล่ยี นระบบเชื้อเพลิงจากระบบไฟฟา มาเปน น้ำมนั ดีเซล (Diesel)เน�องจากมีคาใชจายในดานพลังงานและการบำรุงรักษาถูกกวาระบบไฟฟา และเปลี่ยนรูปแบบการผลิตไอน้ำจากเดิมที่มีการผลิตไอน้ำในแตล ะโรงงานแยกกันเปน ระบบศนู ยร วมการผลิตไอน้ำ ในการน�้ ปตท. จึงไดทูลเกลาฯ ถวายการสนับสนุนโครงการปรับปรุงระบบสนับสนุนการผลิตอุตสาหกรรมนม เปนเงิน15,000,000 บาท เพอ่ื สรางอาคารระบบสนบั สนนุ การผลติ อุตสาหกรรมนม พ.ศ. 2556 และจดั ซื้อหมอ ไอน้ำเคร่อื งใหม ซึ�งใชน ำ้ มันดเี ซลเปน เชอ้ื เพลงิ สำหรบั การผลติ ไอนำ้ รวมทง้ั ระบบถงั เกบ็ นำ้ มนั ดเี ซล โดยสามารถลดคา ใชจ า ยดา นพลงั งานไดป ระมาณ170,000 บาทตอ เดอื นลดเวลาและคาใชจายในการบำรุงรักษาไดประมาณ 200,000 บาทตอเดือน รวมทั้งชวยเพิ�มเสถียรภาพและประสิทธิภาพของระบบการผลติ ไอน้ำ และพัฒนาการบริหารจัดการพลงั งานของโครงการฯ ใหด ยี �งิ ขนึ้ กาซไลน Gasline 3

ตลาดกา ซฯ รฐั ภาคย ขนั ธต นธง วิศวกร สว นปฏบิ ตั ิการระบบทอ เขต 9 แนะนำเขตปฏบิ ตั กิ ารระบบทอ เขต 9‡ ปจจ�บันการใชกาซธรรมชาติเปนพลังงานหลักในกระบวนการผลิต เปนที่นิยมและมีการขยายตัวอยางมากทง้ั ในกลมุ ผลติ ไฟฟา อตุ สาหกรรม และ NGV เมอ่ื จำนวนลกู คา เพม่ิ มากขน้� อกี ทง้ั พน้ื ทก่ี ารใหบ รก� าร มคี วามเจรญ� อยา งตอ เนอ่ื งการจารจรคบั คั่ง สงผลตอ ความรวดเรว็ ในการจดั การและการใหบ รก� ารลกู คา ในบรเ� วณพ้ืนที่กรุงเทพฯ และปรม� ณฑล สวนปฏิบตั กิ ารระบบทอเขต 9 ของสายงานระบบทอ สง กาซฯ จงึ ถกู จัดต้ังขึ้นเม่อื วันท่ี 1 ตุลาคม 2555 โดยแบงพ้ืนท่รี บั ผิดชอบบางสวนจาก สวนปฏิบัติการระบบทอเขต 1 (จ.กรุงเทพฯ และจ.สมุทรปราการ) และสวนปฏิบัติการระบบทอเขต 2 (จ.ปทุมธาน� และจ.พระนครศรีอยุธยา) มีความยาวทอประธานประมาณ 188.5 กิโลเมตร ดูแลลูกคากาซธรรมชาติทั้งหมดจำนวน 92 แหง กลาวคือโรงไฟฟา 4 โรง โรงงานอตุ สาหกรรม 46 โรง และสถาน� NGV หลัก 42 สถาน� ปจ จุบันสว นปฏิบตั กิ ารระบบทอเขต 9 มสี ำนกั งานชว�ั คราว ตง้ั อยูที่ 71 หมู 2 ถ.พหลโยธิน ต.สนบั ทบึ อ.วังนอย จ.พระนครศรีอยุธยา 13170 ในอนาคตจะยา ยไปตงั้ อยูที่ หมู 3 ถ.ธัญบรุ ี คลอง 7 ต.รงั สติ อ.ธญั บรุ ี จงั หวัดปทุมธาน� 12120 แมจะเปนหนวยงานใหมแตยังคงมุงมั�น และสืบสานพันธกิจของสายงานระบบทอ 3 CEO ไดแกการมุงเนนลูกคาที่เปนเลิศ(Customer) การมุงมั�นสูการควบคุมกระบวนการที่เปนเลิศ (Control) และการมุงมั�นรับผิดชอบสังคมอยางยั�งยืน (Community)การมุงมั�นสูกระบวนการพัฒนาบุคลากรที่เปนเลิศ (Employee) และการมุงมั�นสูการบริหารจัดการทรัพยากรที่เปนเลิศ (Optimization)โดยมีวัฒนธรรมการทำงานของชาวปตท. SPIRIT ที่มุงเนนความเปนคนเกงและคนดี เพื่อใหพลังงานกาซธรรมชาตินำสงถึงมือคนไทยอยางมน�ั คงและปลอดภัย4 กาซไลน Gasline

PRพระเจา วรวงศเ ธอ พระองคเ จา โสมสวลี พระวรราชาทนิ ัดดามาตุทรงเปด งานนทิ รรศการฯ และประทานรางวลั แกผูชนะการประกวดศิลปกรรม ปตท. คร้งั ที่ 28‡คอลมั น PR ฉบบั ท่ี 2 ขอประชาสมั พนั ธง านนทิ รรรศการศลิ ปกรรม ปตท. ซง่� ไดร บั พระมหากรณุ าธค� ณุ จาก พระเจา วรวงศเ ธอพระองคเ จา โสมสวลพี ระวรราชาทนิ ดั ดามาตุ เสดจ็ ทรงเปด นทิ รรศการศลิ ปกรรม ปตท. ครง้ั ท่ี 28 และประทานรางวลั แกผ ชู นะการประกวดเม่อื วันท่ี 4 กรกฎาคม 2556 ณ ทองพระโรง หอศิลป มหาว�ทยาลยั ศลิ ปากร วังทาพระ กรุงเทพฯ โดยมีนายสกุ ฤตย สรุ บถโสภณรองกรรมการผูจดั การใหญห นวยธุรกจิ ปโ ตรเคมีและการกลน่ั บร�ษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ผชู ว ยศาสตราจารย ชยั ชาญ ถาวรเวชอธ�การบดีมหาว�ทยาลัยศิลปากร คณะกรรมการตัดสินโครงการประกวดศิลปกรรม ปตท. พรอมดวยผูบร�หารระดับสูงของ ปตท.และมหาว�ทยาลัยศลิ ปากร เฝา รบั เสดจ็ นายสุกฤตย สุรบถโสภณ เปดเผยวา ปตท. ไดรวมกับมหาวิทยาลัย ศิลปากร จัดประกวดศิลปกรรม ปตท. ข้ึนอยา งตอ เนอ� งตัง้ แตป พ.ศ. 2529 เปนตนมา โดยในปน�้เปนปที่ 28 ไดกำหนดหัวขอการประกวดวา “พลังแหง ธรรมชาติ” (The Power of Nature) เพือ่ เปด โอกาสใหเยาวชน นกั เรยี น นิสิต นักศึกษา และประชาชนทั�วไป ไดสรางสรรคผลงานศิลปะผานแนวคิดและ จินตนาการ เพื่อรณรงคสงเสริมใหทุกฝายตระหนักถึงความสำคัญของการดูแล รกั ษาสง�ิ แวดลอ ม และใชพ ลงั งานอยา งประหยดั รคู ณุ คา และเกดิ ประโยชนส งู สดุ เพื่อใหสิ�งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติมีความสมบูรณอยางยั�งยืน ทั้งน�้ การประกวดศลิ ปกรรม ปตท. ไมจ ำกดั ประเภทผลงานศลิ ปกรรม แบง การประกวด เปน 2 ระดบั คอื ระดบั เยาวชน และประชาชนทว�ั ไป โดย ศาสตราจารยเ กยี รตคิ ณุ ประหยดั พงษด ำ เปน ประธานคณะกรรมการตดั สนิ โดยมศี ลิ ปน สง ผลงานจำนวน 419 คน รวมจำนวนทัง้ ส้ิน 519 ผลงาน มผี ไู ดร บั รางวัลยอดเยีย่ ม จำนวน 4 รางวัล รางวัลดีเดน 11 รางวลั และรางวัลชมเชย จำนวน 9 รางวลั นอกจากน้� ยังมีผลงานท่ีไดร ับคัดเลือกใหไ ดรับเกียรตบิ ตั รอีกจำนวน 16 ผลงาน และผลงานที่ไดรับคัดเลือกใหรวมแสดงนิทรรศการรวมกับผลงานของ ผทู ี่ชนะการประกวดอีก 73 ผลงาน โดยจัดแสดงนิทรรศการดังกลาว ณ หอศิลปมหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร วงั ทาพระ ถนนหนา พระลาน กรุงเทพฯ ในเดือนกรกฎาคม กาซไลน Gasline 5

ตลาดกาซฯทอเสน 4 วรัทย พัฒนอางกุล ผจู ัดการเขตการขาย สวนตลาดและขายกาซพาณิชยการพฒั นาระบบทอจัดจำหนา ยกาซธรรมชาติในพืน้ ทบี่ ร�เวณ โครงการ‡ ทอ สงกา ซธรรมชาตเิ สนท่ี 4 (ระยอง-แกงคอย) พาดผา น ตอนที่ 2 จากกา ซไลน ฉบบั 90 ทผ่ี า นมา ไดน ำเสนอรายละเอยี ดคณุ สมบตั ขิ อง กา ซธรรมชาต(ิ NG) เปรย� บเทยี บกบั เชอ้� เพลงิ นำ้ มนั เตา (FO)กา ซปโ ตรเลยี มเหลว (LPG) ซง่� เปน เชอ้� เพลงิ ทบ่ี รษ� ทั อยใู กลก บั แนวทอ กา ซธรรมชาตสิ ว นใหญใ ชง านอยู เพอ่ื ประกอบการพจิ ารณาเลอื กใชก า ซธรรมชาติเปนเช้อ� เพลิงหลกั ในกระบวนการผลิตของโรงงานไปแลว นั้น ฉบับน�้จึงขอนำเสนอขั้นตอนในการเริ�มดำเนินโครงการกอสรางระบบทอสงกาซธรรมชาติ สำหรับผูที่สนใจจะเลือกใชเชื้อเพลิงกาซฯ ดงั น�้ 1. Market survey : รวบรวมรายช่ือโรงงานในพื้นท่กี ลมุ ลกู คา เพ่ือสำรวจขอมลู การใชเ ชื้อเพลิง 2. Design & Feasibility Study : ออกแบบระบบทอ สงกาซฯ และวิเคราะหความเปน ไปไดของโครงการ 3. Permission&EIA: ขออนญุ าตเรม�ิ โครงการกอ สรา งระบบทอ สง กา ซฯ พรอ มทง้ั เรม�ิ ดำเนนิ งานสำรวจออกแบบขออนญุ าต ศกึ ษาผลกระทบส�งิ แวดลอ มและมวลชนสัมพันธ 4. Construction & Commissioning : ดำเนินงานกอ สรา งระบบทอสงกา ซฯ จนกอสรางแลวเสรจ็ และจา ยกาซฯใหก บั ลูกคา สำหรบั ขน้ั ตอนการดำเนนิ งานจะเรม�ิ พจิ ารณาจากการทำ Marketsurvey พรอ มกบั Design&Feasibility โดยจะเนน ไปทก่ี ารวางโครงขา ยระบบทอ สง กา ซฯ ไปยงั กลมุ ลกู คา ผสู นใจใชก า ซฯเปน หลกั เชน ในพน้ื ทน่ี คิ มอตุ สาหกรรมหรอื ในบรเิ วณทม่ี กี ลมุ ลกู คา ตง้ั โรงงานรวมกนั อยแู ละมคี วามตองการใชเชื้อเพลิงในปรมิ าณมาก เน�องจากโครงการทอสง กา ซฯเสนที่ 4 สงกา ซฯ ทแี่ รงดันสูงประมาณ 1,250 psig ซง�ึ จำเปน ตองลดแรงดนั กา ซฯ ใหล งมาเหลอื อยทู แ่ี รงดนั สำหรบั ลกู คา ใชง านประมาณ 25-120 psig (ลดลงมาประมาณ 10-50 เทา ) ทำใหก ารเชอ่ื มตอ และการกอ สรา งสถานช� ดุ อปุ กรณล ดแรงดนั กา ซฯมรี าคาทส่ี งู ถา มลี กู คา ทส่ี นใจใชก า ซฯเพยี งรายเดยี วกจ็ ะทำใหก ารลงทนุ ตอ รายสงู แตถ า มลี กู คาท่ีสนใจใชกา ซฯเปนจำนวนมากอยูในพ้ืนทบี่ ริเวณเดียวกัน ก็จะสามารถออกแบบใหใ ชระบบรว มกนั และทำใหการลงทุนตอรายลดลงไดกรณ�ท่ี 1 : แตล ะรายอยูค นละพนื้ ทห่ี า งกนั ทำใหก ารลงทุนตอรายสงู กรณท� ี่ 2 : แตละรายอยูในพ้นื ทีเ่ ดียวกนั สามารถออกแบบระบบรวมกัน ทำใหก ารลงทุนตอรายลดลงGATE STATION ลกู คารายที่ 1 ลกู คารายที่ 1GATE STATION ลูกคารายท่ี 2 GATE STATION ลูกคา รายที่ 2GATE STATION ลกู คา รายท่ี 3 ลูกคารายที่ 3 โดยหลังจากพิจารณา Market survey พรอมกับ Design & Feasibility แลวเสร็จ สามารถดำเนินโครงการได ก็จะทำการขอPermission ลงทุนกอสรางระบบทอสงกาซฯ พรอมกับทำ EIA ซึ�งจะใชระยะเวลาประมาณ 12-18 เดือนในการดำเนินงาน เมื่อ EIAผานแลว จึงจะสามารถเรม�ิ งาน Construction & Commissioning ได โดยสว นใหญจ ะใชเ วลาประมาณ 12-18 เดือน รวมระยะเวลาโดยประมาณทง้ั โครงการตง้ั แตทำ EIA จนถงึ Commissioning สามารถจายกาซฯ ใหกบั ลกู คาไดภายในประมาณ 24 - 36 เดือน ซึ�งจะใชเวลานานกวา ทล่ี กู คา จะไดใ ชก าซฯ ดงั นน้ั เพอ่ื เปน การลดเวลาในการดำเนนิ โครงการกอ สรา งระบบทอ สง กา ซฯ จงึ ไดพ จิ ารณาเลอื กพน้ื ทท่ี เ่ี หมาะสมในการทำEIA ลว งหนาเพือ่ ลดเวลาในการดำเนินโครงการ โดยปจจบุ นั มพี ้นื ท่ีบรเิ วณแนวทอสงกาซฯ เสน ที่ 4 ท่ีมีแผนทำ EIA ลวงหนา ดงั น�้1) สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จ.ปราจีนบุรี 2) กลมุ ทางหลวงหมายเลข 331 ตดั 344 จ.ชลบรุ ี6 กาซไลน Gasline อานตอ หนา 15

ทีม่ า : www.phithan-toyota.com ความรจู ากลูกคา นา รูเร่อ� ง…ใบปดน้ำฝน‡เขาสูหนาฝนกันแลว ซ�่งจะเปนปกติที่เราจะตองใชบร�การ ของระบบปดน้ำฝน และหลังจากที่ผานการใชมานาน ถึงเวลาหร�อยังที่เราควรจะเปลีย่ นใบปดนำ้ ฝน ท่ีปด นำ้ ฝนเปน อปุ กรณห นง�ึ ทม่ี คี วามสำคญั กบั ความปลอดภยั ในการขบั ขร่ี ถยนต โดยเจา ของรถสว นใหญม กั จะละเลยและไมน กึ ถงึจะมาเหน็ ความสำคญั ก็ตอนเจอฝน ซง�ึ ตอนนน้ั อาจจะสายไปËคณุ สมบัตทิ ีด่ ีของใบปดน้ำฝน 1. ทำงานไดดีและมีประสิทธิภาพ หนาสัมผัสของยางปดน้ำฝนระหวางปลายของยางปดกับผิวกระจกควรจะประมาณ 0.01- 0.05 มม. 2. มีความทนทานและทนความรอน (Durability and Heat Resistance) ยางปดตองทำจากยางคุณภาพสูงสามารถทนตอ แสงแดดรังสีอลั ตราไวโอเลต โอโซน และไอเสยี 3. ทนตอ สารเคมี (Chemical Resistance) ใบปดตองทนตอสารเมททานอล (Methanal) และสารละลายอืน่ ๆ ที่ใชในการลาง 4. ทนตอการทำงานของสารเคมี (Anti-Corrosion) ใบปดตองมีการปองกันสนิมและไมเปนตัวนำ เพื่อที่จะปองกันใบปดจาก สารซลั ไฟตในอากาศ 5. มีความมน�ั คง (Stability) ใบปดตอ งม�นั คง และไมย กขน้ึ เมือ่ ความเร็วสูงข้นึËควรเปลย่ี นใบปด น้ำฝนทันทเี ม่อื เกดิ อาการดังตอ ไปนี้ 1. เมื่อใบปดปดแลว เกิดเสนจำนวนมากหรือเปน รอยมวั 2. เมอ่ื ใบปด ปด แลวเกิดรอยเปอนขนาดใหญ 3. เมอ่ื ใบปดปด แลวยางสมั ผัสไมดีกบั ผวิ หนากระจกËลักษณะการเสือ่ มสภาพของใบปด นำ้ ฝน 1. ปดเปนรอยสายมาน เปนเสน ๆ โคง ขนานกนั เกิดจากการเส่อื มสภาพของใบปด 2. ปดเปน รอยแถบเสน เกดิ จากเน�อ้ ยางแข็ง คุณภาพไมด ี หรอื ฉก� ขาด 3. กา นใบปดสน�ั ขณะทำงาน เปนรอยขนานกบั ใบปดเปน ระยะๆ เกดิ จากการติดต้ังใบปด นำ้ ฝนผดิ วธิ ี หรอื เนอ�้ ยางเสอ่ื ม 4. ลมยก ปด เปน ชว งๆ เกดิ จากกา นใบท่ีใชมีน้ำหนกั เบา ทำใหล มยกกานจึงสมั ผัสกบั กระจกไดไ มเ ต็มท่ี แกไขโดยใชใบปดชนิด ท่ีมีแผงกันลม spoiler เพอื่ ความปลอดภยั ในการขบั ข่ี ควรเปล่ียนใบปด นำ้ ฝนเปนประจำทุกป ทง้ั น�ป้ กตอิ ายุของใบปด นำ้ ฝนจะมอี ายุการใชงานประมาณ6-12 เดือนขน้ึ อยูก ับการใชง านและวสั ดทุ ่ีใชผ ลิตËในกรณีท่ีมีคราบน้ำมนั เกาะติดกบั กระจก จะพบวา หยดนำ้ และคราบนำ้ บนกระจกจะไมส มำ่ เสมอและการสะทอ งของแสงไมส มำ่ เสมอดว ยซง�ึ เปน สาเหตจุ ากการหกั เหของแสงนอกจากนย�้ ังอาจเปน สาเหตุใหเ กิดอาการเตน ส�ันของใบปด น้ำฝน สารประกอบของน้ำยาลางกระจกจะทำใหคราบน้ำมันหลุดออกไดงายโดยน้ำยาจะดูดซึมคราบน้ำมันซึ�งเมื่อใชน้ำยาลางกระจกขณะเดยี วกับทปี่ ด นำ้ ฝนทำงาน คราบนำ้ มันจะถูกปด ออกไป แตเ ม่อื ใดกต็ ามทคี่ ราบน้ำมันท่ตี ิดอยูก บั กระจกมปี รมิ าณมากกจ็ ำเปนตองใชยาเช็ดกระจกในการทำความสะอาด กาซไลน Gasline 7

Gas Technology ธวัชชยั ตนั เจรญิ ทรพั ย พนักงานวเิ คราะหและวางแผน รักษาการผูจัดการสวนพฒั นาศักยภาพ‡เคร่อ� งมือวัดคุณภาพกาซฯ Online Gas Chromatograph (OGC) ในการดำเนนิ การวดั วเ� คราะห คำนวณหาคา ความรอ น (Heating Value) และตดิ ตามคณุ ภาพกา ซธรรมชาตติ ง้ั แตต น ทางทร่ี บั จากผผู ลติไดแก CTEP PTTEP JDA และ Myanmar จนถึงปลายทางลูกคา ไดแก EGAT IPP SPP โรงงานอตุ สาหกรรม และ NGV ซง่� ครอบคลุมทุกภาคสวนของประเทศไทยนน้ั คณุ ภาพกาซฯหลกั ท่ีจำเปนตอ งควบคุมใหเ ปน ไปตามสญั ญาอันไดแก คาความรอน คาคารบ อนไดออกไซด และคา ความช้�นซง่� อปุ กรณที่ใชสำหรบั ตรวจวดั จะแบงออกเปน 2 ประเภทดวยกนั คือ อปุ กรณท ี่ใชสำหรับวดั ซ้อ� -ขาย (Custody Transfer) และสำหรบั วัดเพอ่ืติดตามคณุ ภาพ (Monitor) สำหรับประเภทแรก ปตท.ไดเ ร�มิ นำ ปจจุบันระบบทอสงกาซฯ มีอุปกรณตรวจวัดคาความรอนรวมกันมากกวาอปุ กรณ Online Gas Chromatograph (OGC) 50 เครอ่ื ง ติดตง้ั ตลอดแนวเสน ทอบนบกเสน ท่ี 1 2 และ 3 รวมทงั้ สถานก� าซฯน้ำพองมาใชว เิ คราะหค ณุ ภาพกา ซฯในระบบวดั ซอ้ื -ขาย จ.ขอนแกน และจะนะ จ.สงขลา สำหรบั ปรมิ าณความชน้ื (Moisture Content) ในกาซฯกา ซฯระหวา ง ปตท. กบั ลกู คา มาตง้ั แตป  2540 เปนอีกหนึ�งในคุณภาพกาซฯที่มีความสำคัญและจำเปนตองตรวจวัดและติดตามอยางโดยอุปกรณเปนชนิด Custody Transfer ที่มี ตอเน�อง โดยปตท.มีอุปกรณวัดคาความชื้น Online Moisture Analyzer (OMA)ความถูกตองแมนยำสูง มีเสถียรภาพและมี มากกวา 16 เครื่อง ติดตั้งอยูตามสถาน�ตางๆตามแนวทอซึ�งมีความแมนยำในคณุ สมบตั ิในการวเิ คราะหท เ่ี ปน ไปตามมาตรฐาน การวดั สงู สามารถใชเ พอ่ื วดั ซอ้ื -ขายและตรวจตดิ ตามไดภ ายในเครอ่ื งเดยี วกนั เครอ่ื งวดัASTM D1945 และมาตรฐาน AGA.3-1992 คาความชื้นที่ระบบทอสงกาซฯเลือกใชมีอยูดวยกันหลายรุน หลายเทคโนโลยี และเพื่อใชคำนวณคาความรอนสำหรับการวัดซื้อ - หนง�ึ ในนน้ั คอื Tunable Diode Laser Absorption Spectroscopy (TDLAS) เปน หลกั การขายกา ซฯ ทง้ั นอ้� ปุ กรณย งั มคี วามสามารถในการ นำ IR-Laser มาประยุกตใชต รวจวัดความชื้น ซึง� เปน เทคโนโลยีใหมลาสุด สามารถวัดวเิ คราะหค ณุ ภาพกา ซฯทกุ ๆ 4 นาทแี ละสามารถ คา ความชื้นไดท กุ ๆ 1 วินาที ทำใหสามารถทราบคา การเปลยี่ นแปลงความชื้นไดอยา งแยกองคประกอบกาซฯไดอยางเด็ดขาด อีกทั้ง รวดเรว็ แมเปน การแกวง คา เพยี งเลก็ นอ ย และอนาคต ปตท. มีแผนการจะตดิ ตงั้ OMAเพอ่ื เพม�ิ ความเชอ่ื มน�ั ของลกู คา ทม่ี ตี อ ระบบการ เพม�ิ เติมตลอดแนวเสนทอตะวนั ตกและตะวนั ออก เพอื่ เพมิ� ความสามารถในการควบคมุวัดซื้อ-ขายกาซฯ ปตท.ไดนำ OGC ดังกลาว และตดิ ตามคุณภาพกา ซฯอยางทั�วถึงและมีประสทิ ธิภาพไปขอการรบั รองระบบ ISO/IEC 17025 และไดผา นการรับรองมาตรฐานตาม ISO/IEC 17025 Online Gas Chromatograph (OGC)ในขอบขา ยเครื่องวดั วิเคราะหแ บบ Online จาก Online Moisture Analyzer (OMA)สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม(สมอ.) ซึ�งเปน ครง้ั แรกของประเทศไทย ทำให Gas Quality Control Reference Pointsการวัดวิเคราะหคณุ ภาพกาซฯและ Billing ของปตท. ดำเนินการไดอยางมีประสิทธิภาพและประสบความสำเร็จในการใชงานเปนอยางดีจนถึงปจ จุบนั สำหรับประเภทท่ี 2 ใชวดั เพ่ือตดิ ตามคุณภาพกาซฯ อุปกรณที่ใชวัดไดแก BTUAnalyzer ซง�ึ มคี วามสามารถในการวเิ คราะหห าคา ความรอ นและคา คารบ อนไดออกไซดไดท กุ ๆ30 วนิ าที เปนอปุ กรณท่ีมคี วามรวดเรว็ แตย งั คงไวซึ�งความแมนยำของการวัด ทำใหสามารถตรวจวัดความเปลี่ยนแปลงของคาความรอนกา ซฯไดอ ยา งทนั ทว งที โดยเฉพาะจดุ ผสมกา ซฯตามสถานส� ำคญั ของระบบทอ ฯ ยกตัวอยางเชนสถาน� BVW#1 ซงึ� เปนสถานท� มี่ ีการผสมกาซฯระหวางผูผลติ พมา ทง้ั สองรายคือ Yadana และYetagun ภายในสถาน� BVW#1 ยังเปน สถาน�ตรวจวัดกาซฯที่สำคัญสำหรับระบบทอสงกาซฯฝงตะวันตก นอกจากน�้ยังมีการติดตั้งอุปกรณดังกลาวที่สถาน� BVW#7 เพื่อตรวจวัดติดตามระหวา งทาง และอนาคตมแี ผนจะตดิ ตง้ั เพม�ิ เตมิที่สถาน� BVW#118 กาซไลน Gasline

จักรดาว ประทมุ ชาติ สาระนารูProject Service Manager ,Trans Thai - Malaysia (Thailand) Limited.‡ประชาคมอาเซ�ยน กับภาระกจิ การดแู ลพลงั งาน (4)ผมไดนำเร�่องราวขององคกร หรอ� บร�ษทั ท่ดี แู ลดา นพลงั งานของประเทศตา ง ๆ ในอาเช�ยนมาเลาสูทา นผูอานในฉบบั ทผ่ี า นมา ซ่�งไดแกประเทศไทย มาเลเซย� อนิ โดนเิ ซย� ฟล ปิ ปน ส เมยี นมาร และกมั พชู า เปน ลำดบั ในคอลมั นส าระนา รฉู บบั น้ี ผมจะไดก ลา วถงึ อกี สององคก รในสองประเทศไดแ ก ประเทศเวย� ดนาม และบรูไน เพื่อสอดรบั กับการกาวเขาสู AEC ตอ ไปดงั น้คี รับ ประเทศเวียดนาม เปนประเทศที่มีที่ตั้ง ประเทศบรูไนคนพบแหลงน้ำมัน และกาซธรรมชาติในเมืองเซรีอา ในป ค.ศ. 1929 อตุ สาหกรรมปโตรเลยี มจงึ กลายเปนแหลงรายได ขนานไปกับแนวคาบสมุทรอินโดจีน ดาน สำคญั ของประเทศ และกลายเปน ประเทศทม่ี ง�ั คง�ั ตง้ั แตน น้ั เปน ตน มา ตะวันออกติดกับทะเลจีนใต มีองคกรหลักที่ ในอดตี สมั ปทานสำหรบั ผผู ลติ สว นใหญจ ะเปน บรษิ ทั จากตา งประเทศ รับผิดชอบดา นพลังงานของประเทศ หรอื บริษทั แตหลังจากนั้นในป ค.ศ. 2002 บรูไนไดจัดตั้ง Brunei Nationalนำ้ มนั แหง ชาติ ไดแ กPetrovietnam เปน บรษิ ทั ทร่ี ฐั บาลเปน เจา ของ PetroleumCompanySdnBhd(PetroleumBRUNEI) ทำหนา ทห่ี ลกักอต้งั เมอื่ ป ค.ศ.1977 จากจดุ เริ�มของการพฒั นาปโตรเลียมภายใน ในการพัฒนาปโตรเลียมในประเทศอยางเปนทางการ ดำเนินการประเทศโดยนักสำรวจชาวรัสเซียในป ค.ศ.1959 Petrovietnam พฒั นาในแหลง ปโ ตเลยี มหลกั 8 แหลง ทงั้ บนบกและในทะเล รวมไดกลายเปนองคกรหลักที่ทำหนาที่สำรวจ ผลิต และจัดจำหนาย ทัง้ ยงั มีธุรกจิ อืน่ ๆ อันไดแก ปโ ตรเคมีคอล การซือ้ ขายน้ำมนั ดิบผลิตภัณฑปโตรเลียมทั้งในและนอกประเทศเวียดนาม มีการ และผลิตภัณฑปโตรเลียม และยังมีแผนในการลงทุนอื่น ๆ เชนดำเนนิ ธรุ กจิ ในดา นตา ง ๆ ไดแก การสำรวจและผลติ ปโตรเลยี มใน ถงั เก็บปโตรเลียมลอยน้ำ และแทนขดุ สำรวจปโ ตรเลยี มประเทศเวยี ดนาม และตางประเทศ อาทิ ลาว กมั พชู า มาเลเซียอินโดนิเซีย คองโก เอลจิเรยี ควิ บา เวเนซูเอลา และเปรู มธี รุ กิจ จะเห็นไดวา แมบรูไนจะมีประวตั ศิ าสตรและรายไดจากการการกลั�นและปโตรเคมีคอล ซึ�งมีโรงกลั�นขนาดใหญตั้งอยูที่จังหวัด พัฒนาแหลงปโตรเลียมที่สำคัญมายาวนาน แตผูไดรับสัมปทานQuang Ngai ของเวียดนาม ดำเนินการผลิตตั้งแตป ค.ศ. 2010 สวนใหญเปนบริษัทจากตางชาติ PetroleumBRUNEI ซึ�งตั้งไดมีกำลังการกลั�น 6.5 ลานตันน้ำมันดิบตอป และมีโรงแปรรูป เพยี งไมก ป่ี  กำลงั เรง พฒั นาศกั ยภาพของตนเองเพอ่ื สามารถแขง ขนัCondensate ซง�ึ มกี ำลงั การผลติ 130,000 ตัน Condensate ตอ ป กบั ผผู ลติ จากตา งประเทศรายอน่ื ๆ และยนื อยใู นธรุ กจิ ปโ ตรเลยี มดว ยและยงั มโี ครงการกอ สรา งโรงกลน�ั ขนาดใหญ ทจ่ี ะมคี วามสามารถใน ลำแขง ของตนเองการกล�ันนำ้ มันดิบสงู ถงึ 10 ลา นตันน้ำมันดบิ ตอปอ กี โครงการหนง�ึ สำหรับธุรกิจกาซ ผมมั�นใจวา ทานผูอานอีกหลายที่ที่เพิ�งเคยรูจักกับองคกรที่ธรรมชาติในประเทศ ดแู ลพลงั งานของทง้ั สองประเทศน้� และจากศกั ยภาพดา นปโ ตรเลยี มเวียดนาม Petrovietnam และแผนการดำเนินงานของบรษิ ทั ทงั้ สอง เชอ่ื ไดเลยวา ในอนาคตมกี ารขดุ สำรวจ และผลติ อันใกลน�้ ทั้งสองบริษัทจะเปนผูผลิตที่สำคัญของภูมิภาคอาเซียนจากแหลงกาซธรรมชาติ ของเราอยา งแนน อนในทะเลจีนใต และจัดสงเขาสูโรงแยกกาซฯ Dinh ผมไดเ ขยี นเรอ่ื งประชาคมอาเซยี น กบั ภาระกจิ การดแู ลพลงั งานCo Gas Processing Plant ผานโครงขา ยทอสงกาซฯในทะเล ซึ�งมี ติดตอ กนั มา 4 ฉบบั แลว แตหวงั วา ทา นผอู านจะได ติดตามเรอ่ื งราวความยาว116 กโิ ลเมตร นอกจากนน้ั ยงั มที อ สง กา ซธรรมชาตใิ นทะเล ของอกี 2 ประเทศท่ีเหลอื ไดแ ก ลาว และสิงคโปร ซงึ� จะเปนตอนอีกเสน หนง�ึ มีความยาว 360 กโิ ลเมตรซงึ� รบั กาซฯจากแหลง กา ซฯ สดุ ทา ยไดใ น Gas Line ฉบับถัดไป อยา เพงิ� เบอื่ เสียกอ นนะครับในทะเลจนี ใตส ง ไปยงั โรงไฟฟา เพอ่ื ผลติ ไฟฟา ใชใ นประเทศ นอกจากนน้ั แลว ยงั มที อ สง กา ซฯในทะเลเพอ่ื สง กา ซฯจากแหลง ผลติ ในพน้ื ท่ี (ทีม่ า : www.PVN.VN , www.pbwebsite.com.bn)ทับซอนระหวางเวียดนามและมาเลซีย รวมทั้งโครงขายทอสงกาซธรรมชาตบิ นบก เพอ่ื จดั สง กา ซธรรมชาติใหก บั โรงไฟฟา และโรงงานอุตสาหกรรมตาง ๆ Petrovietnam ยงั มธี รุ กจิ และการลงทนุ ในการผลติ ไฟฟา รวมทั้งการจำหนายผลิตภัณฑน้ำมนั เชื้อเพลิงและกาซ LPG ในประเทศเวยี ดนาม เพือ่ บริการแกป ระชาชนในประเทศของตนอีกดว ย อีกประเทศหนึ�งที่ผมจะไดกลาวถึง ในฉบับน�้ไดแ ก ประเทศบรูไน หรอื บรูไน ดารุสซาลาม ซึ�งเปนประเทศเล็ก ๆ ตั้ง อยบู นเกาะบอรเ นย� วในมหาสมทุ รแปซฟิ กรายลอมดวยพื้นที่ของรัญซาราวัก ประเทศมาเลเซีย เปนประเทศเลก็ ๆ ทีม่ ีพ้ืนทีพ่ ้นื ทเี่ พียง 5,770 ตารางกิโลเมตรเทานั้น แตเ มื่อ กาซไลน Gasline 9

ความปลอดภัย เอกวทิ ย์ จิตรดา ผ้จู ัดการสว่ นคณุ ภาพ ความปลอดภัย อาชวี อนามัยและสิง่ แวดลอ้ ม วัฒนธรรมความปลอดภยั ตอนท่ี 1‡วฒั นธรรมความปลอดภยั (Safety Culture) ไดร บั การกลา วถึงและมกี ารศกึ ษาว�จยั มากวา 20 ป (Fernadez-Muniz et al., 2007:627)ในบานเราเร่�มมีความสนใจศกึ ษามากข�้นเร่�อยๆ จากงานวจ� ัยตา งๆ ทพ่ี บในปจจบ� นั บทความนีม้ วี ัตถุประสงคเ พ่อื ใหผ ูอานเขาใจเร�่องวัฒนธรรมความปลอดภัยและความสำคัญทม่ี ีตอการจดั การความปลอดภยั ขององคกรË ความเปนมาและความหมายของ Ëความสำคญั ของวัฒนธรรมความปลอดภยัวฒั นธรรมความปลอดภัย จากการศึกษาที่ผานมา อาจกลา วไดว า DovZohar(1980, อา งถงึ พบวาวัฒนธรรมความปลอดภัยใน Correll & Andrewartha, 2000: 5) เปน และการจัดการความปลอดภัยมีคนแรกทก่ี ลา วถงึ เรอ่ื ง บรรยากาศและวฒั นธรรม ความสมั พนั ธต อ กนั ซง�ึ ในมมุ มองความปลอดภัย (safety climate & culture) ของผูเขียนเห็นวาวัฒนธรรมในบทความเร่อื ง Safety Climate in Industrial ความปลอดภัยสงผลใหการOrganization: Theoretical and Applied ดำเนนิ งานดา นความปลอดภยั มีImplications และไดสรปุ ไววาวัฒนธรรมความ ประสิทธิผลยิ�งขึ้นตามที่ Linปลอดภยั เปน บทสรปุ ของความเชอ่ื การยอมรบั (2012 : 176) ศึกษาไวในเรื่องของพนักงานในเรื่องเกี่ยวกับความปลอดภัยใน Modeling the important orga-สถานที่ทำงาน (Correll & Andrewartha, nizational factors of safety management system performance ทีต่ ีพิมพใน Journal2000 : 5) หลงั จากนน้ั วฒั นธรรมความปลอดภยั of Modeling in Management(Safety Culture) ไดถกู นำเสนออยางจริงจงั อกี รูปที่ 1 แสดงความสัมพันธข องวฒั นธรรมความปลอดภยั จากผลการศกึ ษาของ Lin (2012)ครง้ั ในป ค.ศ.1987 โดยOECENuclearAgencyReport (Cooper, 2002 : 1) หลังเหตุการณ อตั ลกั ษณอ งคก ร วฒั นธรรมความระเบิดของโรงไฟฟานิวเคลียรเชอรโมบิวใน (Organizational Identity) ปลอดภยัประเทศยูเครน เมือ่ เดือนเมษายน ค.ศ. 1986 0.717***หรือเมอ่ื 27 ปท่ผี านมา Note: *** p < 0.001 ระบบการจดั การ วัฒนธรรมความปลอดภัยนั้นมักถูกมอง ความปลอดภัยวา เปน สว นหนง�ึ ของวฒั นธรรมองคก ร รวมทง้ั มีผลการศึกษาหลายชิ้นระบุวาวัฒนธรรมองคกร ทมี่ า : ดดั แปลงจาก Lin (2012: 176)เปน ตน กำเนดิ ของวฒั นธรรมความปลอดภยั และวัฒนธรรมความปลอดภัยสงผลตอพฤติกรรมที่ ในเบื้องตนพอสรุปไดวาวัฒนธรรมความปลอดภัยเปนการแสดงออกของคนในปลอดภยั (safety behavior) ของพนกั งาน (Lin, องคก รตอ ความปลอดภยั หรอื ตอ ระบบการจดั การความปลอดภยั ซง�ึ เปน ผลมาจากคา นยิ ม2012 : 166; Garcia-Herrero et al., 2013: ทัศนคติ การยอมรับ พฤตกิ รรมของคนในองคก รนั้นและสง ผลใหจดั การความปลอดภยั82) วฒั นธรรมความปลอดภยั เรม�ิ มกี ารกลา วถงึ ขององคกรมีประสิทธิผลมากยิ�งขึ้น ครั้งหนาจะกลาวถึงองคประกอบของวัฒนธรรมอยา งจรงิ จังมาประมาณ 30 ปท ผ่ี านมา แตยงั ความปลอดภยั และการสรา งวัฒนธรรมความปลอดภยั ใหเ กดิ ขึน้ ในองคกรตอไปไมม นี ยิ ามรว มกนั ทช่ี ดั เจน และจากการทบทวนวรรณกรรมที่ผานมาอาจกลาวไดวาวัฒนธรรม เอกสารอา งอิงความปลอดภยั หมายถงึ “การแสดงออกของคนในองคกรตอความปลอดภัยหรือตอระบบการ Cooper, D.C. (2002). Surfacing Your Safety Culture. Major Hazard Commission at the Federalจดั การความปลอดภยั ซง�ึ เปน ผลมาจากคา นยิ ม Ministry of Environment : Human Factors Conference 4-6th March 2002 at Germany.ทัศนคติ การยอมรับ พฤติกรรมของคนในองคกรน้นั ” Correll M. & Andrewartha G. (2000). Positive Safety Culture: The key to a safer meat industry. A literature review. Retrieved April 12, 2013, from: www.safework.sa.au/10 กาซไลน Gasline Garcia-Herrero, S., Mariscal, M.A., Gutieerrez, J.M.,& Toca-Otero, A. (2013). Bayesain network analysis of safety culture and organizational culture in a nuclear power plant. Safety Science, 53, 82-95 Lin, Y.H. (2012). Modeling the important organizational factors of safety management system performance. Journal of Modeling in Management, 7(2), 166-179.

ธีรุตน สุกไสว Knowledge sharingวิศวกร สวนกอสรางการทดสอบแบบไมทำลายโดยใชส ารแทรกซ�ม (Liquid Penetrant Testing : PT) สวสั ดคี รบั ทา นผอู า นทกุ ทา น สำหรบั กา ซไลนฉ บบั นผ้� มขอแนะนำ Penetrant Applying ขนั้ ตอนท่ี 3 การกำจัดสารแทรกซึมสวนเกิน (Removing Excessการตรวจสอบรอยเชื่อมแบบ Liquid Penetrant Testing หรือ PT ซง�ึ ใน Penetrant) ใชผาสีขาวสะอาดเช็ดสารแทรกซึมออก หลังจากนั้นใหพนการตรวจสอบแนวเชื่อมสำหรับงานกอสรางวางทอสงกาซธรรมชาติของ Solvent ลงบนผาสีขาวสะอาดเช็ดสารแทรกซึมออกอีกครั้ง ในขั้นตอนน�้ปตท. จะใชการทดสอบแนวเชอื่ มแบบไมท ำลาย (Non-Destructive Test : จะตองใชความระมัดระวังเปนพิเศษ เน�องจากหากเราใช Solvent เช็ดNDT) ซึ�งปกติในการวางทอสง กา ซฯ ปตท. จะใชแบบวธิ กี ารถา ยภาพรงั สี แนวเชื่อมที่ตองการตรวจสอบมากเกินไป อาจทำใหสารแทรกซึมที่แทรก(Radiographic Testing : RT) เปนหลกั สว นทอทม่ี ีขนาดเล็กตัง้ แต 2 นิว้ อยูในบริเวณแตกรา วถกู เชด็ ออกไปได (Over Wash)ลงมา เชน ทอ ในสถานค� วบคมุ ความดนั และวดั ปรมิ าตรกา ซฯ จะไมส ามารถใชการตรวจสอบแบบ RT ไดเน�องจากมีขอจำกัดในเรื่องของขนาดทอ Removing Excess Penetrantท่ีจะทำการ RT ปตท. จะใชก ารตรวจสอบแบบวธิ ีใชส ารแทรกซึม (Liquid ขนั้ ตอนที่ 4 การดงึ สารแทรกซมึ ทอี่ ยูในรอยแตกรา วออก (ApplyPenetrant Testing: PT) แทน ซึง� การใช PT ในการตรวจสอบแนวเชอื่ มนนั้ Developer) พนสาร Developer ลงไปบนแนวเชื่อมที่ผานขั้นตอนที่ 3งายกวาการทดสอบ NDT วิธีอื่นๆ เน�องจากผลการทดสอบสามารถมอง มาแลว เพือ่ ดึงสารแทรกซึมทีแ่ ทรกตัวอยูในรอยแตกราวหรือจุดบกพรอ งเหน็ ไดช ดั เจน ตคี วามงา ย ไมจ ำเปน ตอ งมคี วามรเู ชงิ ลกึ มากนกั แตอ ยา งไร ตางๆ ใหปรากฏขึ้นบนผวิ ของแนวเช่อื มตามหลักการ Capillary actionก็ตามการทดสอบ PT ก็ยังมีขอจำกัดอยู คือหากความไมตอเน�อง(Discontinuity) หรือรอยแตกราว (Crack) ของแนวเชอ่ื มไมไ ดเ ปด สผู วิภายนอก เราจะไมส ามารถใช PT ในการตรวจสอบแนวเชื่อมได จำเปนตองใชก ารทดสอบ NDT วิธอี ืน่ ๆแทน การทดสอบดวยสารแทรกซึมเปนการตรวจสอบที่อาศัยหลักของปฏิกิริยาแทรกซึม (Capillary action) ซึ�งเปนปรากฏการณของแรงธรรมชาติ ระดบั และขนาดของปฏกิ ริ ยิ าแทรกซมึ น้� จะขน้ึ อยกู บั องคป ระกอบตา งๆ เชน แรงดึงดดู ความตึงผวิ และความหน�ดของสารแทรกซมึ (Pen-etrant) นน้ั Capillary action Apply Developer อางอิงตามมาตรฐาน ASME Section 5 Article 6 Liquid Penetrant ขนั้ ตอนท่ี 5 ตรวจสอบผล (Inspection) หลังจากพนแนวเช่อื มดวยExamination เทคนคิ การทดสอบดว ยสารแทรกซมึ มอี ยหู ลายแบบ โดยอาจ Developer แลวใหปลอยทิ้งไวสักระยะเวลาหนึ�ง หากรอยเชื่อมมีรอยแบง ตามชนิดของสารแทรกซึมที่ใช ไดแ ก Visible Dye , Fluorescence แตกรา ว สารแทรกซมึ สแี ดงในรอยแตกรา วจะถกู ดงึ ออกมาใหป รากฏเดน ชดัDye หรือแบงตามวิธกี ารลา งสารแทรกซมึ ออก เชน Post Emulsifying, แยกออกจากสีขาวของ Developer หาก Indication ที่เกิดข้นั ถกู ตีความWater washable, Solvent Removable ซึ�งในที่น�้จะขออธิบายเฉพาะ วา เปน Linear ให Reject แนวเชอ่ื มนั้นทนั ทีตอ งทำการเช่ือมใหมขั้นตอนของวิธี Visible Dye Solvent Removable ซึ�งเปนวิธีที่ ปตท.ใชในการตรวจสอบแนวเชอื่ มทอ สงกาซธรรมชาติ ขั้นตอนที่ 1 การทำความสะอาดหรือเตรียมผิวของชิ้นงานกอนตรวจสอบ(Cleaning) พน้ื ผวิ ของชน้ิ งานทต่ี รวจสอบจะตอ งแหง และสะอาดวธิ กี ารทำความสะอาดอาจใชว ธิ ที างกล เชน ใหแ ปรงลวดขดั ทำความสะอาดหรือใชวธิ ีทางเคมี เชนการกัดกรด (etching) เปน ตน Cleaning Inspection ข้ันตอนที่ 2 การเคลือบสารแทรกซึมบนผวิ ชิน้ งาน (Penetration ขั้นตอนท่ี 6 การทำความสะอาดหลงั การตรวจสอบ (Post clean)Applying) ทำการพน สารแทรกซมึ ลงบนชน้ิ งานหรอื แนวเชอ่ื ม และปลอ ยทง้ิ เมื่อตรวจสอบแนวเชื่อมแลวเสร็จ อาจมีรองรอยของสารแทรกซึมหรือไวชั�วเวลาหนึ�ง (Dwell time) เพื่อใหสารแทรกซึมเขาไปจนทั�วถึงภายใน Developer หลงเหลอื อยูใหใช Solvent ทำความสะอาดอกี ครงั้ของจดุ บกพรอ ง ทง้ั น้� Dwell time ตองไมตำกวา 5 นาทีหรืออาจพจิ ารณาจากคำแนะนำของผผู ลติ สารแทรกซึมน้ันๆ กาซไลน Gasline 11

กนิ เท่ยี วตามแนวทอ ฯ เรียบเรียงโดย : กิตติพล นอ ยอนุสนธิกลู‡ เท่ียวถ้ำเสอื …อากาศดอนเมอื งหลังจากที่ปตท.มีการตั้งสวนปฏิบัติการระบบทอเขต 9 เพื่อดูแลพื้นที่กรุงเทพฯ ปทุมธานี สมุทรปราการ (บางสวน) สถานที่เที่ยวหนง่ึ ท่ีอยูไมไ กลจากพ้ืนที่ ประกอบกับแรงบนั ดาลใจทไ่ี ดจ ากละครสุภาพบรุ ษุ จ�ฑาเทพ ตอนคณุ ชายรณพีร ผมจ�งอยากพาไปเทีย่ วถำ้ เสอื อากาศดอนเมอื งซ�ง่ ใชส ถานท่ีถา ยทำคือ พพิ ธิ ภัณฑทหารอากาศดอนเมอื ง สมยั ตอนเดก็ ๆ ผมกม็ คี วามฝน ทอ่ี ยากจะเปน เสืออากาศ ใสชุดสีน้ำเงิน แตพอโตขึ้นความฝนก็ คอยๆเปลี่ยนไป ละครสุภาพบุรุษจุฑาเทพ ตอน คณุ ชายรณพรี  ทำใหผ มฝน เหมอื นตอนเปน เดก็ อกี ครง้ั และผมก็คิดเหมือนกันวาตอนน�้คงมีหลายคนที่คิด เหมือนกันกับผม คิดไดก็ไมตองรอชา ขับรถไป พพิ ธิ ภณั ฑท หารอากาศดอนเมอื ง ภายในมพี พิ ธิ ภณั ฑ จะมสี ว นการแสดงอยู2 สว นคอื สว นการแสดงในรม และสว นการแสดงกลางแจง ภายในอาคาร 1 เปน การจดั แสดงประวตั กิ ารบนิ ของไทยและอากาศยานท่ี ออกแบบและสรางโดยคนไทย อากาศยานที่เคย ประจำการในกองทพั อากาศหลงั สงครามโลกครง้ั ท่ี2 ในขณะที่อาคาร 2 เปนการจัดแสดงอากาศยานที่ หาดูไดยากเชน เคร่อื งบินโจมตี แบบท่ี 1 (Corsair V-93S) หรือเครื่องบนิ ขบั ไล แบบที่ 10 (Curtiss Hawk 3) ท่ที ้ัง 2 เครื่อง เหลือเครอ่ื งเดยี วในโลก นอกจากน�้ยังสามารถพบเครื่องบินสีเหลืองลำเดน ซง�ึ เปน เครอ่ื งบนิ ฝก บนิ จากประเทศญป่ี นุ (Tachikawa)ไดอ กี ดว ย อาคาร3 เปน การจดั แสดงอากาศยานปราบปรามผกู อ การรา ยในประเทศ ประกอบดว ยเครอ่ื งบนิ โจมตแี บบท่ี5(RockwellOV-10CBronco)และ 6 (Cessna A-37B Dragonfly) อาคาร 4 จะจดั แสดงเครอ่ื งแบบทหารอากาศ เครื่องหมายยศ เครื่องราชอสิ รยิ าภรณ เคร่ืองฝก บินจำลองและหอ งปรับบรรยากาศความกดดันตำ่ (Hypobaric Chamber) ซ�ึงใชฝ ก ใหเกดิ ประสบการณต อ การบินสูงในระดับ 25,000 ฟต ข้นึ ไปเพอื่ ใหรจู กั วิธีปอ งกนั และสามารถแกไขชว ยเหลอื ตนเองไดและอาคาร 5 จะจัดแสดงเฮลคิ อปเตอรแ ละเครอื่ งบนิ ขับไลใบพดั รนุ สดุ ทาย (BearCat F8F) ในขณะท่เี ครอื่ งบินท่ีถอื วาเปน พระเอกในละคร คอื เครอ่ื งบนิ ขบั ไลแบบท่ี 7 หรือ F-86F ของฝงู บนิ 13 กองบนิ 1 ดอนเมอื งซึ�งเปนเคร่อื งบินขบั ไล ทง้ิ ระเบดิ ตดิ จรวดอากาศสอู ากาศจากประเทศสหรฐั อเมรกิ า โดยเขา ประจำการในกองบนิ 1 ชว งป พ.ศ.2504-2515 ซง�ึ ปจ จบุ นั ฝงู บนิ 13 กองบนิ1 ดอนเมืองน้นั ไดยายที่ตง้ั และเปลี่ยนชื่อเปนฝูงบิน 103 กองบิน 1 โคราชแทน ซ�งึ เครอื่ งบนิ ลำนส้� ามารถพบเห็นไดบรเิ วณดา นนอกอาคาร พิพธิ ภัณฑทหารอากาศดอนเมือง เปด ใหเ ขา ชมทกุ วนั เวน วนั หยุดนักขตั ฤกษ ตัง้ แตเ วลา 8.00-16.00น. โดยไมเสียคาผานประตู สอบถามรายละเอยี ดเพม�ิ เติมที่ 02-534-1853 หรือที่ www.rtaf.mi.th/museum/ ªÇ¹ªÔÁÃÔÁ·Ò§ พอพูดถึงรานอาหารอรอยๆ แถวดอนเมือง มี รานนึงที่อยากจะแนะนำชื่อราน ตูกับขาว เปนรานอาหาร เลก็ ๆ มีโตะ ประมาณ 10 กวาโตะ ตกแตง รา นดว ยของเกาๆ เมนูแนะนำไดแก ไกคั่วตะไคร แกงเขียวหวานหมูเดง เปน ตน รานเปดทุกวัน ตั้งแตเวลา 17.00-23.00 น. โทร 0840043291 Search “ตูกบั ขาว ‘Homemade-Restaurant’ ”12 กาซไลน Gasline

ICT CORNER‡วปจ�ธจ�บ�ปันมีกรารนะิยหมหันยมาัดใชมือหถือยดั แบตเตอร่�โทรศพั ทม ือถอื Smartที่เปน Smart Phone กันอยางแพรหลายถาจะพดู ถงึ โทรศพั ทม ือถือ iPhone และ ระบบปฏิบัติการ Android คงจะมีนอยคนที่ไมรูจักสำหรับเสียงบนเกี่ยวกับการใชงานก็จะเปนเกี่ยวกับเร�่องแบตเตอร�่หมดไว วันนี้เรามีวธ� �ประหยดั การใชงานแบตเตอร�่มาฝากËว�ธีประหยดั แบตเตอร่�กับ iPhone วธิ กี ารประหยดั คอื ทำการปด เมอ่ื เลกิ ใช หากเราไมใชง าน Service ไหน เรากท็ ำการปด ไวก จ็ ะเปน การประหยดั แบตเตอรอ่ี กี ทางหนง�ึ 1. Wi-Fi ไมใชง านก็สามารถเขา ไปปด โดย Setting>Wi-Fi > ทำการปด Wi-fi 2. EDGE ก็เชนกนั โดย Setting>General>Cellular data สำหรับ iOS 4 3. Notifications ทำการปดโดย Setting> ปด Notifications 4. Brightness ปรับความสวา งหนา จอ โดย Setting> Brightness ต้ังเปน ประมาณ 40% และ Auto-Brightness เปน Off 5. Wallpaper การเลือกใชงานWallpaper ก็สามารถชวยไดเชนกันโดย Setting> Wallpaper เลือกใชที่เปนสีดำใหมากที่สุด (เพราะสดี ำใชแ สงนอย ดงั นน้ั กย็ อมใชพลงั งานนอยกวาสขี าว) 6. Location Services โดย Setting>General> Location Services กค็ วรปด หากไมไ ดใ ชง าน หากจะทำการใชง านกค็ อ ยทำการ 7. Bluetooth ไมไ ดใ ชงานกค็ วรจะปด ดวยเชนกนั โดย Setting>General> Bluetooth กป็ ด 8. Auto-Lock ควรตัง้ คา โดย เขาท่ี Setting>General> Auto-Lock เปน 1 Minutes 9. Fetch New Data ควรตั้งคาเปนแบบ Manual หากไมไ ดม ีความจำเปนตอ งเช็ค Email ตลอดเวลาก็ควรตงั้ คาเปนแบบ Manual โดย Setting>Mail, Contacts, Calendars> Fetch New Data> ต้ังเปน Manually 10. iPod ควรปด Shake to Shuffle โดย Setting> iPod> Shake to Shuffle วธิ ที ่ีไดท ำการแนะนำในคร้ังน้� กเ็ ปน อกี ทางหน�ึงทช่ี ว ยในการประหยัดแบตเตอร่ีได อยางนอยก็ยืดเวลาใชง านใหเพม�ิ ข้ึน. อา งองิ : http://www.iphonemod.net/iphone-battery-problem-fixed.html อานตอ หนา 15 ประกาศรายชื่อผไู ดร บั รางวัลบัตรเตมิ น้ำมัน ปตท. มลู คา 500 บาท จากการรวมสนุกตอบคำถามในกา ซไลนฉบับทแี่ ลว จำนวน 15 รางวัล1. คณุ พรพศิ ณร ทรพั ยพ าลี บรษิ ทั สยามคอมเพรสเซอรอ ตุ สาหกรรม จำกดั 9. คณุ ปท มาวดี การสรา ง บรษิ ทั ไทยเพท็ เรซนิ จำกดั2. คณุ กติ ตวิ ฒั น คำนนั ดา บรษิ ทั ระยองโอเลพนิ ส จำกดั 10. คณุ ประภาส สภุ วฒั นะ บรษิ ทั ยเู นย� น โชจริ ชุ ิ จำกดั3. คณุ อฏั ฐพล สทุ ธพิ งษ บรษิ ทั ไทยอาซาฮเี คมภี ณั ฑ จำกดั (โรงงานระยอง) 11. คณุ วชิ ญว สิ ฐิ ตว นชะเอม บรษิ ทั เพรซเิ ดนท เบเกอร่ี จำกดั (มหาชน)4. คณุ อาทร วชิ ชลุ ดา บรษิ ทั เหลา ธงสงิ ห จำกดั 12. คณุ ชเู กยี รติ ตนั เจรญิ บรษิ ทั ไทย เอม็ เอฟซี จำกดั5. คณุ สจุ นิ ต อกั ษรพนั ธ บรษิ ทั ไทยผลติ ภณั ฑย ปิ ซม�ั จำกดั (มหาชน) 13. คณุ อนพุ งษ สคุ นธสโุ ชติ บรษิ ทั เพรซเิ ดนท เบเกอร่ี จำกดั (มหาชน)6. คณุ ประเทอื ง วรรณประเสรฐิ บรษิ ทั สหโมเสคอตุ สาหกรรม จำกดั (มหาชน) 14. คณุ พศิ มยั สขุ วเิ ศษ บรษิ ทั เดอะสยาม เซรามคิ กรปุ อนิ ดสั ทรส่ี  จำกดั7. คณุ ภานพ คา เจรญิ บรษิ ทั โรแยลเอเซยี บรคิ แอนดไทล จำกดั 15. คณุ ปท มาพร แกว ยาศรี บรษิ ทั คริ วิ (ประเทศไทย) จำกดั8. คณุ ประสาร นนั สอน บรษิ ทั สตารส เทคโนโลยี อนิ ดสั เตรยี ล จำกดั ผูไ ดรับรางวลั ทั้ง 15 ทาน กาซไลนจะจดั สง ของรางวลั ใหก ับทานตามทอี่ ยทู ่ีไดแ จง ไวคำถามรว มสนกุ กับกาซไลนคำถาม : องคก รหลักทร่ี บั ผิดชอบดา นพลังงานของประเทศเวียดนามและประเทศบรนู �มีชื่อเรยี กวาอะไรคำตอบ : …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………ชื่อ-นามสกุล-ผูสง ………………………………………………………………………………บริษัท………………………………………………………………………………………ที่อยูที่จัดสง ……………………………………………………………………………………….โทรศัพท……………………………..อีเมล………………………………………….. กรณุ าสง คำตอบตามชิน้ สวนน้�มาที่โทรสารหมายเลข 0 2537 3257 หรอื 0 2537 3289 ภายในวนั ท่ี 30 สิงหาคม 2556 โดยกา ซไลนจ ะทำการจบั รางวลั Gift Voucher KFC มลู คา 300 บาท จำนวน 15 รางวลั ใหกบั ผโู ชคดแี ละจดั สง ใหต ามทอ่ี ยทู ี่จัดสง กาซไลน Gasline 13

มมุ สุขภาพ สวนการแพทย‡6 อันดับอาหารเชาจานโปรด เมนไู หนเปย มประโยชนม ากท่ีสุดเปนที่ทราบกันดีวา มื้อเชา ถือเปนอาหารมื้อสำคัญที่สุด จะสดใสราเร�ง สมองแลนทั้งวันหร�อไม ก็อยูที่มื้อเชานี่แหละ เมื่ออาหารเชาสำคญั ขนาดน้ี มาสำรวจกันหนอยดมี ั้ย วาอาหารจานโปรดที่คุณๆ ทานกนั ทกุ เชา น้นั เมนใู ดเปย มประโยชน เมนูไหนสมควรเล่ียง !เรารวบรวมอาหารเชา ทค่ี ณุ คนุ เคย 6 เมนู ไปใหผ เู ชย่ี วชาญดา น เลือดหมู, เครื่องใน, ใบตำลึง เหลาน�้มีธาตุเหล็กทั้งนั้นเลย แตถาในเวชศาสตรอายรุ วฒั น (Ani-Aging) นพ.กฤษดา ศิรามพุช ผอู ำนวยการ คนทั�วไปที่ไมไดเปนธาลัสซีเมีย ตมเลือดหมูคือตมที่ดี เปนตมที่เปยมสถาบนั เวชศาสตรอ ายรุ วฒั นน านาชาติ ฟน ธงวา แทจ รงิ แลว เมนอู าหารเชา คอลลาเจน (Collagen) เพราะในเลอื ดหมูมคี อลลาเจน ในน้ำตม กระดูกยอดฮิตอยาง น้ำเตาหู ปาทองโก, โจกหมู, ขาวเหน�ยว หมูปง, กม็ คี อลลาเจน ทง้ั ยงั มผี กั เขยี วทม่ี วี ติ ามนิ ซี กย็ ง�ิ ทำใหค อลลาเจน ดดู ซมึตมเลือดหม,ู ขนมปง ไขดาว และขนมครกนน้ั แทจ ริงแลวมปี ระโยชน เขา สรู า งกายไดดีอีกดว ยเพียงใด เหมาะจะนำมาเปน ม้ือสำคัญยามรงุ อรุณแคไ หน ดงั นน้ั ตม เลอื ดหมู ถอื วา เปน ซปุ สวยไดเ ลย เปน อาหารเพอ่ื สขุ ภาพ“การทานอาหารเชาที่ดี คือ ใหกินอยางราชา แตจะตองมีหลัก ท่ีดีชนดิ หน�ึง ผมวา ดกี วาปาทอ งโกจ ้มิ นมนะ แตมันจะกลายเปน อาหารนดิ นึงคอื ถา เรากนิ อยางราชาแตหนกั แปงก็ไมดี เพราะมนั จะทำใหเ รา ที่ไมสุขภาพไปได เชน หากเราใสกระเทียมเจียวเยอะๆ ใสหมูติดมันหิวเรว็ ดงั นนั้ หรือบางเจา ใสหมสู ามชนั้ หรอื หมูกรอบเขาไป แลว ปรุงใหรสจัดเกนิ ไปกฎขอ แรกของการกนิ อาหารเชา คอื พยายามทานแปง กบั นำ้ ตาล หรอื หวานไป”ใหนอยที่สุด เพราะแปงและน้ำตาลดูดซึมไดเร็ว เมื่อไหรที่ดูดซึมเร็วอนิ ซลู นิ (Insulin) จะมาควบคมุ ไมใหน ำ้ ตาลในกระแสเลอื ดสงู เมอ่ื อนิ ซลู นิ Ëอันดบั 2 ขนมปง + ไขด าวมากดนานเขา กจ็ ะทำใหน ำ้ ตาลเราตำ่ เมอ่ื นำ้ ตาลตำ่ เรากจ็ ะหวิ เรว็ ดงั นน้ั สำหรบั อบั ดบั สองเปน เมนูย้ำนะครับ วาอาหารเชา ไมควรขาดเลย แตค วรจะงดแปง และน้ำตาล อาหารเชา ทำงา ย…ทานงา ย อยา ง ขนมปง-ไขดาว ผูอำนวยการ กฎขอทส่ี องคือ อาหารเชา มอื้ นั้นๆ ไมควรจะรสจดั เกินไป เพราะ สถาบันเวชศาสตรอายุรวัฒนในตอนเชายังไมมีน้ำยอยเยอะ และกระเพาะอาหารยังไมขยับเต็มที่ นานาชาติ ยกใหเปนอาหารเชาหากเราทานอาหารท่ีมีความมัน หรือเผด็ เกนิ ไป มนั จะทำใหเ กิดขอเสยี เปย มประโยชนท เ่ี หมาะนกั สำหรบัมากกวา ดังนั้นในมื้อเชาจึงไมควรจะทานอาหารที่มันและเผ็ดเกินไป” หนุมสาววัยทำงาน และนองๆคุณหมอกฤษดา อธิบายถึงหลักการรับประทานอาหารมื้อเชาที่ดีตอ วยั เรยี น จะตอ งเปน ขนมปง โฮลวทีสขุ ภาพ (whole wheat) และไขด าวน้ำ หรอื ไขต ม (ท่ีไรน ้ำมนั ) นะคะ หลังบอกถึงหลักการทานอาหารเชาที่เหมาะสมแลว เรามาดู “ในชวงเชา สำหรับหนุมสาวออฟฟศ (office) ที่ตองไปทำงานกนั เลยคะ วา อาหารเชา ทห่ี ลายทา นนยิ มชมชอบดว ยเพราะคนุ เคยดี แถม หรอื เดก็ ในวยั เรยี น การเพม�ิ อาหารจำพวกโปรตนี เขา ไปกถ็ อื วา เหมาะมากซื้อหาไดงาย (เพราะขายอยูพรึ�บทุกปากซอย) แทจริงแลวแตละเมนูมี เพราะโปรตีนจะกระตุนใหรูสึกกระฉับกระเฉง ดังนั้นการทานอาหารที่มีประโยชนแ คไ หน เหมาะจะเปน มอ้ื เชา ทด่ี ขี องคณุ ๆ หรอื ไม และคณุ หมอ โปรตีนอยางไขก็เปนอาหารเชาที่ดีมากราคาไมแพง และมีโปรตีนที่ทา นฟน ธงมาวาเมนูไหนเย่ยี มสดุ ชวยกระตุนสมองดวย สำหรับไขทอดอาจจะมีปญหาเรื่องของน้ำมันËอนั ดับ 1 ตมเลือดหมู ดงั นน้ั หากทานเปน ไขต ม ไดก ย็ ง�ิ ดี โดยอาจทานไขต ม , ไขล วก, ไขด าวนำ้ โรยซอี ว้ิ ขาว โรยพรกิ ไทยกย็ ง�ิ ดี เพราะพรกิ ไทยชว ยกระตนุ การเผาผลาญ เมนูอันดับหนึ�ง คุณหมอ และลดไขมันไดดว ยผูเชี่ยวชาญดาน Anti-Agingยกนว้ิ ใหเ ปน เมนเู พอ่ื สขุ ภาพสดุ ๆ หรือไขตมอยางเดียวอาจไมอิ�ม การทานคูกับขนมปงโฮลวีททวาจะใหทานแลวดีตอรางกาย ก็เปนตัวเลือกที่ดี เพราะขนมปงโฮลวีทเปนแปงที่มีคุณภาพคือแปงอยางแทจริง…ก็ตองมีเทคนิคใน มีกากมีธัญพืชทั้งหลาย โดยอาจนำขนมปงโฮลวีทมาทำเปนแซนวิชการทาน “ตม เลอื ดหมเู ปน อาหารที่เรียกไดว า เปน perfect combination (sandwich) เพิ�มผักอีกสักหนอย ก็ยิ�งทำใหรางกายดูดซึมไดดีขึ้นหรือเปนคูท่สี มกนั มากเลย เพราะในเลอื ดหมูมธี าตุเหล็ก และในผกั เชน ทานกับนมอีกนิดเพอรเฟค (perfect) เลย เพราะนมก็มีโปรตีนและใบตำลึง จะมีวิตามินซีเยอะ ธาตุเหล็กตองมีวิตามินซี มันถึงจะดูดซึม กรดอะมิโน (Amino acid) ที่ชวยกระตุนสมอง ถาผูใหญบางทานไดด ี เชน เดียวกบั ท่วี ติ ามนิ ซี กต็ อ งมธี าตเุ หล็กมนั ถงึ จะดูดซึมเขา ไปใน แพนมวัวทานแลวทองเสีย ก็สามารถทานโยเกิรต (Yoghurt) แทนไดรา งกายไดด ี ฉะนน้ั มนั เปนคทู เี่ พอรเฟคเลย เพราะโยเกิรตคอื นมทีย่ อยแลว และไมท ำใหหอ งเสยี ถอื วาเปนอาหาร ชูกำลัง แทนที่เราจะกระตุนดวยกาแฟ เรากระตุนดวยอาหารชูกำลัง แตส ง�ิ ทค่ี วรระวงั คอื หากใครเปน เกา ท ตอ งระวงั หนอ ย เพราะนำ้ ซปุ อยางนมหรือโยเกิรต ดีกวา”ตม เลอื ดหมทู ำจากนำ้ ตมกระดูก ซึ�งมกี รดยรู ิค (Uric Acid) เยอะ สว นเครอื่ งในกม็ ีกรดยูรคิ สงู เหมอื นกนั อันน�้อาจตอ งระวงั สกั นดิ นอกจากน้� สำหรบั ฉบบั หนา เราจะมาตอ กนั ทอ่ี นั ดบั 3 ถงึ 6 ตดิ ตามกนั ตอ ไดคนอีกกลมุ ทีต่ อ งระวัง คือ คนที่เปน ธาลัสซเี มยี (Thalassemia) เพราะ ในฉบบั หนา คะคนที่เปนธาลัสซีเมีย ไมควรกินธาตุเหล็กเยอะ แตตมเลือดหมูมีทั้ง ขอขอบคณุ ขอมูลจาก Website สสส http://www.thaihealth.or.th/healthcontent/article/2701114 กาซไลน Gasline

บร�การลกู คาตอ จากหนา 13Ëวธ� ปี ระหยัดแบตเตอรโ่� ทรศัพทมือถือประเภทระบบปฏิบตั ิการ Android 1. ตรวจสอบการใชงานแบตเตอร่ี (Monitor your battery use) ส�งิ แรกคือ การตรวจสอบการใชง านแบตเตอรี่ โดย (Settings > About Phone > Battery > Battery Use) คณุ สามารถยกเลิกการใชง าน Application ดวยการยกเลิก apps or processes โดย TasKiller or Advanced Task Killer 2. ยกเลกิ การใชง าน Always-On Mobile Data (Disable Always-On Mobile Data) คณุ สามารถทำการประหยดั แบตเตอร่ีโดยการ Settings > Wireless & networks > Mobile networks > Enable always-on mobile data การยกเลกิ การใชง านจะไมม ผี ลกระทบ กับการพุชอีเมล 3. การปด Wi-Fi และ Bluetooth (Turn off Wi-Fi & Bluetooth) Wi-Fi และ Bluetooth เปนคุณสมบัติการใชงานที่เปลือง แบตเตอรม่ี าก คณุ จะไมไ ดใ ชง านทง้ั สองคณุ สมบตั พิ รอ มกนั ดงั นน้ั ควรปด Settings > Wireless & networks. หากเมอ่ื จะใชง าน ก็คอ ยทำการเปด 4. ลดความสวางของหนาจอ (Turn down screen brightness) โดยปกติจะทำการตั้งคา ท่ี Save Battery แลวแตค ณุ สามารถ ตรวจสอบหรือเขาทำการตั้งคาดวยตนเองที่ Settings > Sound & display > Brightness และสามารถปรับแตงตามความ ตองการ 5. การต้งั คา Time out Screen (Change the screen timeout period) การตง้ั คา Time out Screen สามารถเขาท่ี Settings > Screen & display > Screen timeout 6. ใชง านคน หาดว ยBlackGoogleMobile(SearchwithBlackGoogleMobile) หากคณุ มกี ารใชง านGoogle บนโทรศพั ทค ณุ บอ ย ควรจะทำการ bookmark ใน Browser ของคณุ :Black Google Mobile เปนการประหยัดแบตเตอรอี่ ีกทางหน�ึง 7. การจำกัดการใชแอปพลิเคชันบางอยาง (Limit the use of certain apps) แอปพลิเคชันบางอยางการใชงานมีการใชงาน แบตเตอรี่มาก หากไมไดใชงานจริงควรปดแอปพลิเคชันนั้นกอน แอปพลิเคชันที่จะมีการใชงานแบตเตอรี่สูง อยางเชน Google Maps, foursquar หรอื สตรมี มิ�ง Apps เชน , YouTube, Last.fm นอกจากน้� วอลลเปเปอร กม็ ีสว นท่ที ำใหแ บตเตอรี่ หมดไวเชนกนั อา งอิง : http://onsoftware.en.softonic.com/how-to-save-battery-life-on-an-android-phoneตอจากหนา 6 4) นิคมอุตสาหกรรมเกตเวย ซติ ้ี จ.ฉะเชงิ เทรา 3) สวนอุตสาหกรรม 304 จ.ปราจนี บุรี สำหรับรายละเอียดความนาสนใจของพนื้ ที่ในแตล ะพืน้ ท่นี ้นั จะขอนำเสนอขอ มลู ใน กาซไลน ฉบบั ตอ ไป หากทานสนใจทีจ่ ะใชเ ช้ือเพลงิ กาซฯในกระบวนการผลติ หรอื มีแผนท่ีจะขยายโรงงานเพอื่ เพิม� กำลงั การผลิต และตอ งการกา ซฯเปนเชอ้ื เพลิงหลักในโรงงานของทา น สามารถตดิ ตอ เพอื่ วางแผนการเลือกพน้ื ทต่ี ัง้ โรงงานและเตรียมระบบทอ สง กา ซฯรว มกนั ไดท ี่ ผูจดั การเขตการขาย สวนตลาดและขายกาซพาณชิ ย โทรศัพท 0 2537 1944 และ 0 2537 3251 โทรสาร 0 2537 3257 และ 0 2537 3289 กาซไลน Gasline 15

ถามมา – ตอบไป กฤษฎา คำโมนะ วศิ วกร สว่ นบริการลกู คา้ ก๊าซฯ‡ ถามมา – ตอบไปถามมา-ตอบไป ฉบับนี้ขอคลายขอสงสัยในกรณีที่บร�ษัทฯซ�่งเปนลูกคากาซธรรมชาติ ปตท. มีความตองการเพิ่มกระบวนการผลติ และมีความตอ งการใชกา ซฯเพม่ิ ข�้น ลกู คา ควรทำอยา งไรA : หากลกู คากาซฯ กลุมอตุ สาหกรรมและผลิตไฟฟา ใชเ อง มคี วามตองการเพิม่ กระบวนการผลติ และมีความตองการใชQ : กาซฯเพิ่มข�้น ควรปฏบิ ัติอยา งไร ลกู คา กา ซฯสามารถแจง ความจำนงคในการเพม�ิ ปรมิ าณการใชก า ซฯ มายงั ปตท. เพอ่ื ตรวจสอบความพรอ มในดา นตา งๆ กอ น โดยในกรณท� ่ี ปรบั ปรงุ เฉพาะระบบทอ กา ซฯภายในโรงงาน ลกู คา จะตอ งดำเนนิ การรว มกบั กรมธรุ กจิ พลงั งาน ซง�ึ ปตท.(ทมี InplantService) สามารถเปน ทป่ี รกึ ษาใหค วามชว ยเหลอื ได แตห ากตอ งมกี ารปรบั ปรงุ สถานท่ใี ชก า ซฯดว ยนน้ั จะตอ งดำเนนิ งานรว มกนั ทง้ั ในสว นของ ปตท. และกรมธรุ กจิ พลงั งาน ซง�ึ ขน้ั ตอนการดำเนนิ งานตลอดจนการยน่ื ขออนญุ าตแกไ ขเปลย่ี นแปลงสถานท่ใี ชก า ซฯกบั กรมธรุ กจิ พลงั งาน สามารถสรปุ ไดด งั น้�Ëขน�ั ตอนการย่นื ขออนญุ าตแกไ ขเปลย่ี นแปลงการใชก าซธรรมชาติ 1. บรษิ ทั ฯแจง ขอเพม�ิ ปรมิ าณการใชก า ซฯ มายงั ผจู ดั การเขตการขาย ปตท. และกรอกแบบฟอรม ขอมลู วศิ วกรรมเพอื่ การออกแบบและประเมนิ การลงทนุ “FM-DMD-02” 2. ปตท. ตรวจสอบความสามารถของสถานก� า ซฯ, ระบบทอและใหค ำแนะนำแกบรษิ ทั ฯ 3. บรษิ ทั ฯวา จา ง วศิ วกรทข่ี น้ึ ทะเบยี นกบั กรมธรุ กจิ พลงั งาน ดำเนนิ การออกแบบ พรอ มทง้ั ทดสอบ และตรวจสอบ สถานก� าซฯ/ระบบทอ กาซฯสวนตอ ขยาย ทจี่ ะทำการปรบั ปรุง ใหถูกตองตาม ขอกำหนดของกฎหมายกา ซฯ โดยมวี ิศวกรดังตอ ไปน้� (1) วศิ วกรออกแบบสถานที่ใชกา ซฯ (2) วิศวกรทดสอบและตรวจสอบสถานท่ีใชกาซฯ (3) วิศวกรตรวจสอบระบบไฟฟา 4. บรษิ ทั ฯยน่ื แบบสถานก� า ซฯ/ระบบทอ กา ซฯ เฉพาะสว นทจ่ี ะทำการปรบั ปรงุ และตอ ขยาย โดยมี ลายเซ็นรับรองแบบจากวิศวกรออกแบบสถานที่ใชกาซฯ ใหกับกรมธุรกิจพลังงาน เพื่อเขา สำรวจพน้ื ทก่ี อ สรา ง และเหน็ ชอบแบบฯ กอ นทจ่ี ะเรม�ิ ดำเนนิ การกอ สรา ง โดยกรมธรุ กจิ พลงั งาน จะพิจารณาภายใน 35 วันทำการ นับจากวันท่ีไดรับเอกสารทีส่ มบูรณ 5. เมอ่ื กรมธรุ กจิ พลงั งาน เหน็ ชอบแบบฯ แลว บรษิ ทั ฯจงึ ดำเนนิ การกอ สรา งได โดยทมี วศิ วกรของ ปตท. คอยใหคำแนะนำ และตรวจสอบงานกอสรางใหถูกตองตามขอกำหนดของกฎหมาย และเปน ไปตามมาตรฐานของ ปตท. 6. เมือ่ บริษทั ฯกอสรา งปรบั ปรงุ สถาน�กาซฯ/ระบบทอ กาซฯ ภายในโรงงานสว นตอ ขยายแลว เสรจ็ ใหวิศวกรทดสอบและตรวจสอบสถานที่ใชกาซฯ, ผูตรวจสอบระบบไฟฟาและเจาหนาที่กรม ธุรกิจพลังงานทำการตรวจสอบและทดสอบเฉพาะสวนที่จะทำการปรับปรุงและตอขยาย โดยจะมวี ศิ วกรของ ปตท.เขา รว มตรวจสอบความปลอดภัยดวย 7. บรษิ ทั ฯสง รายงานผลการทดสอบและตรวจสอบใหกบั กรมธรุ กจิ พลังงาน พิจารณาอนญุ าตให ใชกา ซฯ ในสว นทีป่ รับปรุงและตอ ขยาย โดยกรมธรุ กิจพลงั งาน จะดำเนนิ การอนญุ าตภายใน 29 วนั ทำการ นบั จากวันที่ไดรับรายงานผลการทดสอบและตรวจสอบที่สมบูรณ 8. เมอ่ื บริษทั ไดร บั อนญุ าตจาก กรมธุรกิจพลังงาน ใหใ ชก า ซฯ ในสวนที่ปรับปรุงและตอขยาย รวมทัง้ ผานการตรวจสอบความปลอดภยั กอ น จา ยกา ซฯ ของ ปตท. แลวจึงพจิ ารณาความพรอ มกำหนดวนั จา ยกาซฯ กบั ผจู ดั การเขตการขาย ที่กลา วมาขา งตนนเ�้ ปนแนวทางเบ้ืองตน ในการปรับปรุง/เปลย่ี นแปลงการใชกาซฯ ซง�ึ หากลกู คา ฯมีขอ สงสัยเกยี่ วกับการดำเนนิ งานที่เกี่ยวกับกรมธรุ กจิ พลงั งาน สามารถสอบถามขอ มูลเพิม� เติมไดทส่ี ำนกั งานความปลอดภัยธุรกิจกา ซธรรมชาติ กรมธุรกิจพลงั งาน โทร.027944906-7Ëเอกสารประกอบการขออนญุ าตแกไ ขเปลยี่ นแปลงสถานทใ่ี ชกา ซธรรมชาติ 1. แบบคำขออนญุ าต (วอ.7) ตาม พ.ร.บ. วัตถุอันตราย พ.ศ.2535 2. ภาพถา ยหนังสอื รับรองการจดทะเบยี น (ท่อี อกใหไ มเกิน 6 เดือน) 3. ภาพถายบัตรประจำตวั ประชาชนหรอื หนงั สอื เดนิ ทางพรอ มหนงั สอื รบั รองการทำงานผูม ีอำนาจลงนาม 4. ภาพถายหนงั สอื แสดงการครอบครองกาซธรรมชาตหิ รือสญั ญาซื้อขายกาซฯจากผูจัดจำหนา ยกาซฯ 5. แบบแผนผังบริเวณ ขนาด A1 จำนวน 2 ชดุ และลงนามรับรองแบบโดยวศิ วกรออกแบบ 6. แบบกอ สรา ง จำนวน2 ชดุ แสดงรายละเอยี ดของระบบทอ อปุ กรณ ระบบไฟฟา ทป่ี ระสงคเ ปลย่ี นแปลง พรอ มรายการคำนวณในสว นทเ่ี กย่ี วขอ ง ท่ีประสงคขอเปล่ียนแปลง และลงนามรับรองแบบและรายการคำนวณโดยวศิ วกรออกแบบพรอ มแนบหนงั สือรับรองของวิศวกรออกแบบ 7. ภาพถายใบอนญุ าตโรงงาน จากกรมโรงงานอุตสาหกรรม 8. หนังสอื รับรองจากวศิ วกรออกแบบ พรอมสำเนาใบ กว. ตามสาขาทเ่ี กีย่ วของกับการแกไขเปลย่ี นแปลง 9. ภาพถายสำเนาบัตรประจำตวั ผูปฏิบตั งิ านกา ซฯพรอมรับรองสำเนา16 กาซไลน Gasline


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook