ปที่ 22 ฉบับที่ 83 เดือนเมษายน - มิถุนายน 2554จุ ล ส า รClean Energy for Clean World ทะเบียนเลขที่ บมจ. 0107544000108 ความมนั� คงปลอดภยั ระบบ SCADA สายงานระบบทอสงกาซฯ กับ ISO/IEC 27001:2005 11การคํานวณความหนาของทอกา ซฯ 09 15 Pipeline Hot Tapping กา ซธรรมชาตไิ ทยปจ จบ� นั สอู นาคต
เปิดเล่ม สวสั ดคี ะ่ 2 เปิดเล่ม สารบัญ สำหรับท่านสมาชิกที่ติดตามอ่านก๊าซไลน์เป็นประจำ 3 เรอื่ งจากปกคงจะคุ้นเคยกับระบบ SCADA ซึ่งเป็นระบบที่ควบคุมท่อส่ง 4 ตลาดกา๊ ซฯ อุตสาหกรรมก๊าซธรรมชาติของ ปตท. ซ่ึงมีการกล่าวถึงระบบนี้ในก๊าซไลน์ 5 ตลาดกา๊ ซฯ พาณิชย์ อยู่หลายฉบับด้วยกัน และฉบับนี้ก็เป็นอีกฉบับหน่ึงที่พลาด 6 ตลาดคา้ สง่ กา๊ ซฯไม่ได้ที่จะกล่าวถึงระบบ SCADA อีกเช่นกัน เนื่องจากเมื่อ 7 ความร้จู ากลูกค้าเดือนพฤษภาคม 2554 ท่ีผ่านมา ระบบ SCADA ของ ปตท. 8 Gas Technologyได้รับการรับรองรองมาตรฐาน ISO/IEC 27001:2005 ซ่ึงเป็น 9 สาระนา่ รู้มาตรฐานเกี่ยวกับระบบบริหารความมั่นคงปลอดภัยของ 1 0 CSRสารสนเทศซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงในระบบบริหารจัดการขององค์กร 1 1 Knowledge Sharingโดยมีพื้นฐานมาจากแนวทางการจัดการความเส่ียง และมี 1 2 มมุ สุขภาพวตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือรักษาไว้ซ่งึ ความลับ ความถกู ตอ้ งครบถ้วน และ 1 3 ธรรมะพกั ใจ ความพร้อมใช้งาน ของข้อมูลสารสนเทศตามหลักของ PDCA 14 กนิ เทยี่ วตามแนวทอ่ ฯModel (Plan-Do-Check-Act) ซ่ึงจะทำให้เกิดการปฏิบัติงานที่ 15 บรกิ ารลูกค้าเปน็ ระบบและมกี ารพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ทำใหอ้ งคก์ รรอดพน้ จาก 16 ถามมา – ตอบไป ภัยคุกคามต่าง ๆ และการได้รับมาตรฐานดังกล่าวพิสูจน์ให้เห็นถงึ ความมงุ่ มน่ั ของสายงานระบบทอ่ ปตท. ในการสรา้ งความเชอื่ มนั่ให้กับลูกค้าก๊าซฯในการบริหารการจัดส่งก๊าซฯได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ทงั้ นรี้ ายละเอยี ดตา่ งๆ ทา่ นสามารถตดิ ตามไดใ้ นเลม่ซงึ่ ยงั มบี ทความทเ่ี กย่ี วกบั กา๊ ซธรรมชาตริ อทา่ นอยหู่ ลายบทความด้วยกัน อาทเิ ชน่ วธิ กี ารคำนวณความหนาของทอ่ ก๊าซฯ การทำPipeline Hot Tapping และ Cathodic Protection เป็นต้น จลุ สารกา๊ ซไลนข์ อแจง้ ประชาสมั พนั ธส์ ำหรบั ลกู คา้ กา๊ ซฯบริษัทใดที่ต้องการแบ่งปันความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯในคอลมั น์ความรจู้ ากลูกคา้ สามารถตดิ ตอ่ ไดท้ ี่ส่วนบรกิ ารลกู ค้าก๊าซฯ โทรศัพท์ 0-2537-3235-9 ก๊าซไลน์ยินดีเป็นสื่อกลางในการสรา้ งKnowledgeSharing เพอื่ เผยแพรค่ วามรใู้ หก้ บั ผทู้ สี่ นใจและเป็นสือ่ ที่ให้สาระความร้ใู นกลมุ่ ผูใ้ ช้ก๊าซธรรมชาติวัตถปุ ระสงคจ์ ลุ สาร ก๊าซไลน์ เปน็ ส่งิ ทีจ่ ัดทำข้ึนโดย ฝ่ายตลาดทอ่ จัดจำหน่ายก๊าซธรรมชาติ บริษัท ปตท. จำกดั (มหาชน)โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์เพ่ือ1. เป็นสื่อกลางระหว่างลกู ค้าและหนว่ ยธรุ กิจก๊าซธรรมชาติในทกุ ๆดา้ น2. เผยแพรข่ า่ วสารเทคโนโลยใี หมๆ่ เกย่ี วกบั กา๊ ซธรรมชาตแิ ละสาระทเ่ี ปน็ ประโยชนร์ วมถงึ ขา่ วสารในแวดวงกา๊ ซธรรมชาตแิ ละลกู คา้ กา๊ ซฯ3. เปน็ ศนู ยก์ ลางใหก้ บั ลกู คา้ กา๊ ซฯ และบคุ คลทว่ั ไปในการแลกเปลย่ี นปญั หา ความคดิ เหน็ หรอื ใหค้ ำแนะนำแกห่ นว่ ยธรุ กจิ กา๊ ซธรรมชาติท่ีปรึกษา จุลสารก๊าซไลน์ นายนพดล ปิ่นสุภา ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ระบบท่อจัดจำหน่ายก๊าซธรรมชาติ, นายนริศ เทิดธรรมพิบูล ผู้จัดการฝ่ายตลาดท่อจัดจำหน่ายก๊าซธรรมชาติ และรักษาการผู้จัดการส่วนตลาดและขายก๊าซอุตสาหกรรม, นายวุฒิกร สติฐิต ผู้จัดการฝ่ายตลาดค้าส่งก๊าซธรรมชาติ, นางสุณี อารีกุลผจู้ ดั การสว่ นบรกิ ารลกู คา้ กา๊ ซฯ, นายธนรกั ษ์ วาสนะสขุ ะ ผจู้ ดั การสว่ นตลาดและขายกา๊ ซพาณชิ ย,์ นายชชั วาล ลมิ้ ประเสรฐิ ผจู้ ดั การสว่ นเทคนคิ และบรกิ ารลกู คา้ กา๊ ซธรรมชาติบรรณาธิการ นางสาวอานัดดา เนาว์ประโคน กองบรรณาธิการ นางวิไลลักษณ์ ชีพบริสุทธิ์ ส่วนบริการลูกค้าก๊าซฯ ฝ่ายตลาดท่อจำหน่ายก๊าซธรรมชาติกองบรรณาธิการจุลสาร ก๊าซไลน์ ขอเชิญท่านร่วมแสดงความคิดเห็น ติชม เสนอแนะ โดยส่งมาที่ ส่วนบริการลูกค้าก๊าซฯ ฝ่ายตลาดท่อจัดจำหน่ายก๊าซธรรมชาติบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) อาคาร 2 ชั้น 4 เลขท่ี 555 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 หรือ โทรศัพท์ 0 2537 3235 - 9โทรสาร 0 2537 3257 - 8 หรอื Website : www.pttplc.com2 ก๊าซไลน์ Gaslin e
สว่ นระบบควบคมุ อตั โนมัตแิ ละระบบปฏบิ ตั กิ าร เรอื่ งจากปกSCADA สายงานทอ่ ส่งก๊าซฯ ปตท. รบั มอบประกาศนยี บัตรรบั รองมาตรฐาน ISO/IEC 27001:2005 เม่ือวันที่ 30 พฤษภาคม 2554 ทผ่ี ่านมา บรษิ ทัปตท. จำกัด (มหาชน) สายงานระบบทอ่ สง่ กา๊ ซธรรมชาติโดยคุณชาครีย์ บูรณกานนท์ ผู้ช่วยกรรมการผูจ้ ัดการใหญ่ระบบทอ่ สง่ กา๊ ซธรรมชาติ บรษิ ทั ปตท. จำกดั (มหาชน) เปน็ผแู้ ทนในการรบั มอบประกาศนยี บตั รรบั รองมาตรฐานISO/IEC27001:2005 จากคณุ ประวาลทอง ทองใหญ่ ณ อยธุ ยา,Bureau Veritas Certification (Thailand) Ltd. โดย“...ประกาศนยี บตั รดงั กลา่ วเปน็ การรบั รองมาตรฐานดา้ นการบรหิ ารจดั การดา้ นการรกั ษาความมน่ั คงปลอดภยั สารสนเทศ(Information Security Management System: ISMS)ตามมาตรฐาน ISO/IEC 27001:2005 สำหรับการให้บริการระบบ Supervisory Control and Data Acquisitionของศูนย์ควบคุมระบบอัตโนมัติหลักชลบุรี และศูนย์ควบคมุ สำรอง สำหรบั ควบคุมท่อส่งกา๊ ซธรรมชาติ หรือท่ีเรียกกันส้ันๆ ว่า ระบบ SCADA โดยโครงการน้ีเป็นโครงการแรกของประเทศไทยที่ประสบความสำเร็จในการนำระบบบริหารจัดการด้านการรกั ษาความมน่ั คงปลอดภยั สารสนเทศ ตามมาตรฐาน ISO/IEC 27001:2005 มาใชก้ บั กำกบั ดแู ลระบบ SCADA” ความมัน่ คงปลอดภัยระบบ SCADA สายงานระบบทอ่ ส่งกา๊ ซฯ กบั ISO/IEC 27001:2005 ตลอดระยะเวลา ที่ผ่านมาระบบ Supervisory Control (ISMS) ซึ่งประกอบไปด้วย Cyclic Process P-D-C-A (Plan-and Data Acquisition หรือ SCADA สายงานระบบท่อสง่ กา๊ ซธรรมชาติ Do-Check-Act) ท่ีถูกกำหนดอยู่ในมาตรฐาน ISO/IEC 27001:2005ถือเป็นส่วนสำคัญหลักในกระบวนการจัดส่งก๊าซธรรมชาติจากแหล่ง มาใช้ในขอบเขตระบบ Pipeline SCADA และระบบ SCADA Backupผู้ผลติ สู่ลกู ค้าตลอดแนวทอ่ กา๊ ซธรรมชาตทิ ง้ั หมดทวั่ ประเทศ โดยระบบ Site ประกอบไปด้วย ศูนย์ควบคุมระบบ SCADA หลักชลบุรี และSCADA ได้มีการพัฒนาอย่างต่อเน่ืองเพ่ือรองรับเทคโนโลยีและให้ ศูนย์ควบคุมสำรองรวมทั้งระบบควบคุมสภาพแวดล้อมทางกายภาพสอดคล้องกับการเติบโตทางธุรกิจรวมถึงทางด้านความม่ันคงปลอดภัย ระบบเฝ้าระวงั และปอ้ งกันด้านความปลอดภัย และการ Operate ระบบเม่ือปี 2553 ได้มีการนำกระบวนการบริหารจัดการด้านความมั่นคง SCADAปลอดภัย หรือ Information Security Management System ระบบ SCADA เปน็ การนำเทคโนโลยรี ะบบเครอื ขา่ ย Computer มาใช้ในงานปฏิบัติการควบคุมระบบอัตโนมัติจากศูนย์ควบคุมไปยัง อุปกรณ์ซ่ึงติดต้ังอยู่ห่างไกลท่ีปลายทาง โดยศูนย์ควบคุมอัตโนมัติหลัก ต้ังอยู่ท่ีศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดชลบุรี ทำการควบคุมระบบท่อส่งก๊าซฯ จากแท่นผลิตในทะเลถึงโรงงานลูกค้ามีระยะทางกว่า 3,922 กิโลเมตร โดยมีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานควบคุมการส่งก๊าซฯ ตลอด 24 ช่ัวโมง ในกรณรี ะบบSCADA ทศี่ นู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารจงั หวดั ชลบรุ ี ไมส่ ามารถทำงานได้ เชน่ เกิดภัยพิบัติ หรอื การกอ่ วนิ าศกรรม จะใช้ศูนยค์ วบคมุ สำรอง ซงึ่ ต้งั อยู่ในจังหวดั ชลบรุ ี ทำการควบคมุ การสง่ ก๊าซฯ ได้ภายในเวลาไมเ่ กิน 45 นาที ระบบ SCADA เป็นระบบเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีสำคัญของ สายงานระบบทอ่ สง่ กา๊ ซธรรมชาตทิ มี่ กี ารพฒั นา ปรบั ปรงุ และบำรงุ รกั ษา รวมถึงให้ความสำคัญต่อความมั่นคงปลอดภัย หากมีความเสียหาย เกิดข้ึนกับระบบ SCADA ย่อมส่งผลกระทบท่ีรุนแรงต่อกระบวนการ จัด-สง่ ก๊าซธรรมชาติ ความเสียหายของระบบ SCADA อาจเกดิ ได้จาก ภยั คกุ คามตา่ ง ๆ อาทิ ภยั ธรรมชาต,ิ ภยั แฝงตา่ งๆ(Virus,Worm,Trojan, Spyware), Hacker, Cyber Warfare หรือ Cyber Terrorists รวมถึง ความผิดพลาดในขั้นตอนการปฏิบัติงานเปน็ ต้น กา๊ ซไลน์ Gaslin e 3
ตลาดก๊าซอตุ สาหกรรม สว่ นตลาดและขายกา๊ ซอุตสาหกรรม ฝา่ ยตลาดท่อจัดจำหนา่ ยก๊าซธรรมชาติ ขอแนะนำลูกค้ากา๊ ซฯรายใหมท่ ่ีเริ่มใชก้ า๊ ซธรรมชาตใิ นกระบวนการผลิต ดังนี้ บรษิ ัท พที ีที อาซาฮี เคมิคอล จำกดั สำนกั งานใหญ่ : 8 ถนนผังเมอื งเฉพาะ 3-1 ต.หว้ ยโปง่ อ.เมอื ง จ.ระยอง 21150 โทรศพั ท์ : 038- 974800 โทรสาร : 038-974801 สำนกั งานกรุงเทพฯ : 555/1 ศูนยเ์ อนเนอร์ยคี่ อมเพลก็ ซ์ อาคาร เอ ชั้น 8 ถนนวภิ าวดรี ังสิต แขวงจตุจักร เขตจตจุ ักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 02-7912400 โทรสาร : 02-7912498-9 ฝ่ายการตลาด : คุณพมิ พ์นภัส สองพรหมทิพย์ โทรศพั ท์ : 02-7912428 ผลิตภณั ฑ์ : Acrylonitrile (AN) Methyl Methacrylate (MMA) Ammonium Sulfate (AMS) ระบบ ISO27001 หรือ ISO/IEC 27001:2005 (Information n Confidentiality: เพอื่ ใหม้ ั่นใจไดว้ า่ ระบบ Pipeline SCADASecurity Management System: ISMS) เป็นมาตรฐานการบริหาร รวมถึงระบบสนบั สนุนตา่ งๆ สามารถเข้าถงึ ได้เฉพาะผูท้ ี่มีสทิ ธิเทา่ น้ันการรักษาความม่ันคงปลอดภัยสารสนเทศท่ีมีวัตถุประสงค์ เพ่ือให้การดําเนินงานธุรกิจไปอย่างต่อเน่ือง ซ่ึงข้อกำหนดต่างๆ ได้กําหนดข้ึน n Integrity: เพ่อื ใหม้ น่ั ใจได้ว่าขอ้ มลู ระบบ Pipeline SCADAโดยองค์กรสากล ISO (The International Organization for มีความถูกต้องครบถ้วนสมบูรณ์ โดยไม่ได้ถูกเปลี่ยนแปลงหรือแก้ไขStandardization) และ IEC (The International Electro-technical จากผทู้ ี่ไม่ได้รับอนญุ าตCommission) ประกอบไปด้วย 11 โดเมนหลัก 39 วัตถุประสงค์การควบคมุ และ 133 มาตรการควบคุม n Availability: เพ่ือให้มั่นใจได้ว่าระบบ Pipeline SCADA และข้อมูลพร้อมท่ีจะใช้งานอยู่เสมอ โดยผู้ท่ีมีสิทธิในการเข้าถึงข้อมูล โครงสร้างระบบ ISO/IEC 27001:2005 เป็นระบบ Dynamic สามารถ เขา้ ถงึ ไดท้ ุกเมอ่ื หากต้องการSystem ซึ่งอ้างอิงรูปแบบ P-D-C-A (Plan-Do-Check-Action)เป็นลักษณะโครงสร้างระบบการบริหารท่ีเป็นสากลท่ีใช้กันทั่วโลก โดย โดยระบบ ISMS ท่ไี ดจ้ ดั ทำขน้ึ สำหรบั ระบบ Pipeline SCADAสายงานระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติได้เริ่มนำระบบ ISO27001 หรือ ไดท้ ำการเพม่ิ อกี 1 คณุ สมบตั ทิ น่ี อกเหนอื จากขอ้ กำหนด ISMS คอืInformation Security Management System (ISMS) ระบบบริหารการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของสารสนเทศ เข้ามา Implement n Law and Regulation: เพ่ือให้ม่ันใจได้ว่ามีการปฏิบัติตามกับระบบ Pipeline SCADA ใช้เวลาดำเนินการตั้งแต่ เมษายน 2553 ขอ้ กำหนดต่างๆ รวมถึงการจดั ทำ SLA (Service Level Agreement)ถึง มกราคม 2554 ร่วมกับที่ปรึกษา บริษัท ACIS Professional และ IA (Interface Agreement) สำหรบั Third PartyCenter จำกัด และได้ผ่านการตรวจรับรอง Certificate Body (CB)จาก บรษิ ทั Bureau Veritas จำกัด นอกจากนีร้ ะบบ ISO/IEC 27001 ได้กำหนดใหม้ ีการตรวจสอบ มาตรฐานทุกปี จากทั้งผู้ตรวจสอบภายใน (Internal Auditor) และ ตามขอ้ กำหนดบรหิ ารการรกั ษาความมน่ั คงปลอดภยั สารสนเทศ ผู้ตรวจสอบภายนอก (External Auditor) ตลอดจนต้องมีการทบทวนมีพื้นฐานมาจากการบริหารความเสี่ยง (Risk Management) เพื่อ โดยผู้บริหารระดับสูง (Management Review) รวมถึงการแก้ไขให้ระบบข้อมูลสารสนเทศของระบบ Pipeline SCADA มีคุณสมบัติ ข้อบกพร่องต่างๆ ท่ีไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเพ่ือให้เกิดความม่ันใจได้ในดา้ นตา่ งๆ ดงั ตอ่ ไปนี้ วา่ ระบบ ISO / IEC 27001 จะชว่ ยใหร้ ะบบ Pipeline SCADA สายงาน ทอ่ สง่ กา๊ ซธรรมชาติ สามารถดาํ เนนิ ไปไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง มคี วามปลอดภยั ปราศจากความเส่ียงจากภัยคุกคามต่างๆ ท้ังจากภายนอกและภายใน และมีความยงั่ ยนื สบื ไป4 ก๊าซไลน์ Gaslin e
กีรติ โภคะสุวรรณ ตลาดกา๊ ซฯส่วนตลาดและขายก๊าซพาณิชย์น่ารู้เรื่อง City Gas จากงาน GASEX 2010 ในช่วงปลายปี 2553 มีงานประชุมวิชาการ GASEX 2010 ซึ่งจัดข้ึนท่ีประเทศไต้หวัน มีผู้นำด้านอุตสาหกรรมก๊าซฯ ให้เกียรติมาเป็น Keynote งานประชุมวิชาการ GASEX ConferenceSpeakers อาทิ IGU President, CEO จากบรษิ ทั ชนั้ นำ และผแู้ ทนจากประเทศสมาชกิ & Exhibition น้ีจัดขึ้นทุก 2 ปี โดยองค์กรGASEX ทง้ั 15 ประเทศ รวมทัง้ มีผเู้ ชยี่ วชาญในอุตสาหกรรมกา๊ ซฯ ในภมู ิภาค GASEX ซึ่งเป็นองค์กรของกลุ่มประเทศมานำเสนอความเคลอ่ื นไหวของอตุ สาหกรรมกา๊ ซฯของภมู ภิ าค ใหค้ วามรเู้ กย่ี วกบั อุตสาหกรรมก๊าซฯ ในภูมิภาค Asia Pacificเทคโนโลยีการผลติ กา๊ ซฯ อาทิ การพฒั นาแหล่งกา๊ ซฯจากชั้นหิน (Unconven- ทปี่ จั จบุ นั มสี มาชกิ ท้ังหมด 15 ประเทศ เพื่อเปน็tional Gas) และความกา้ วหนา้ ดา้ น City Gas Technology ซงึ่ ลว้ นเปน็ ขา่ วสาร เวทีสำหรับผู้นำด้านอุตสาหกรรมก๊าซฯในและขอ้ มลู สำคญั ทแ่ี สดงใหเ้ หน็ ภาพในปจั จบุ นั รวมทง้ั ชว่ ยบง่ ชถ้ี งึ scenario ตา่ ง ๆ ภมู ภิ าคในการแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ และรว่ มกนัในอนาคตของธุรกิจก๊าซธรรมชาติได้เปน็ อยา่ งดี แบง่ ปนั มมุ มองทศิ ทางการพฒั นาอตุ สาหกรรม ก๊าซฯ ในอนาคต ภายในงาน GASEX 2010 มีเนื้อหาและข้อมูลที่เก่ียวข้องกับตลาดพาณิชย์และตลาดครัวเรือนในภูมภิ าค Asia Pacific ซง่ึ สามารถสรปุ ได้ดงั นี้ แนวโน้ม City Gas Business in Asia ยังคงมีการพัฒนาและใช้ City Gas อย่างต่อเนื่องและมีการขยายตวั อยา่ งรวดเรว็ ในชว่ งทศวรรษทผ่ี า่ นมาภายใต้พื้นฐานการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและเปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม และมแี นวโนม้ ทจ่ี ะใชเ้ พอ่ื ทดแทนไฟฟ้าและรว่ มกบั Renewable Energy ชนดิ อ่นื ๆ การพฒั นาเทคโนโลยี City Gas ใน Asia สามารถแบง่ เปน็ 2 ดา้ นคอื ดา้ นระบบการขนสง่ ผา่ นการพฒั นาระบบทอ่ และอปุ กรณต์ า่ งๆ และ ดา้ นการใชง้ านผา่ นการพัฒนาเทคโนโลยขี องอปุ กรณ์ใช้กา๊ ซฯ (Gas Appliances) Eco Management System การพัฒนาการของระบบการขนส่ง City Gas ในระบบท่อจัดจำหน่ายและอุปกรณ์ในหลายๆ ประเทศส่วนใหญ่ได้นำท่อ HDPE(High Density Polyethylene) มาใช้ในระบบขนส่งและพัฒนาระบบ Smart Meter วัดซ้ือขายก๊าซฯโดยสามารถเช่ือมโยงกับระบบ IT ทำให้บริหารจัดการข้อมูลด้านการบำรุงรักษาได้ง่ายข้ึน แนวคิดนี้ได้ถูกพัฒนาให้เป็นรูปธรรมในประเทศญี่ปุ่นผ่านระบบ EcoManagement System การพฒั นาเทคโนโลยขี องอปุ กรณ์ใชก้ า๊ ซฯ มแี นวโนม้ การพัฒนาปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงานให้สูงขึ้น โดยมปี ระเทศญปี่ นุ่ เปน็ ผนู้ ำเทคโนโลยีGasAppliances ทม่ี ี การพฒั นาในระยะทผี่ ่านมา เชน่ Gas Heat Pump, Micro Cogeneration และ Home Power Generation (ใช้ระบบ Fuel Cell) ซ่งึ หากวิเคราะห์การพัฒนา Gas Appliances ในประเทศทม่ี กี ารใช้ City Gas อยา่ งแพรห่ ลายจะใหค้ วาม สำคัญพน้ื ฐานในการพฒั นา 3 ดา้ น คอื ความปลอดภยั เพิม่ ประสทิ ธภิ าพและ เป็นมติ รกบั สิ่งแวดลอ้ ม โดย GasAppliances ส่วนใหญ่จะมีแนวโน้มการพัฒนาในการแข่งขันเป็นขั้นๆ จากการเพิ่มประสิทธิภาพจากใช้พลังงาน ไปสู่ความง่ายในการใช้งานและติดต้ังและสุดทา้ ยถูกพัฒนาการออกแบบรูปลักษณ์ใหเ้ หมาะกับ Life Style ลกู คา้ ความร้แู ละข้อมลู จากงาน GASEX 2010 ซึง่ กลนั่ กรองมาจากประสบการณ์ และมมุ มองของผ้นู ำและผเู้ ช่ียวชาญ ในอตุ สาหกรรมกา๊ ซฯ ถอื วา่ มนี ยั สำคญั ตอ่ ปตท. ในการคาดการณท์ ศิ ทางของอตุ สาหกรรมกา๊ ซฯในภมู ภิ าค เพอ่ื นำไปขยายผล สรา้ งคณุ คา่ เพมิ่ ใหก้ บั ลกู คา้ตลอดจนเพ่ิมประสิทธิภาพ และพัฒนาธุรกิจก๊าซฯให้แข็งแกร่ง ก้าวนำความเปลี่ยนแปลงและสามารถยืนหยัดได้อย่างย่ังยืน เพ่ือสร้างความมน่ั ใจดา้ นพลังงานใหก้ ับลูกค้าตอ่ ไป ก๊าซไลน์ Gaslin e 5
ตลาดคา้ ส่งกา๊ ซฯ พริมรตา พงษ์ศริ ิแสง ส่วนเทคนิคและบริการลกู ค้ากา๊ ซธรรมชาติข้ันตอนการนำ LNG (Liquefied natural gas) เขา้ สรู่ ะบบทอ่ ส่งก๊าซธรรมชาติ ก๊าซธรรมชาติเหลว (Liquefied natural gas) หรือ LNG ทีห่ ลายคนรูจ้ กั กนั โดยทั่วไป ซง่ึ ได้นำเสนอในก๊าซไลน์ในฉบบั กอ่ นๆ นั้น หลายทา่ นอาจมีขอ้ สงสัยวา่ LNG จะสามารถนำไปใชไ้ ดอ้ ยา่ งไร ฉบับน้ีขออธิบายถึงขั้นตอนในการนำ LNG เข้าสู่ระบบท่อส่งก๊าซ ธรรมชาติ พอสังเขป ดงั น้ี เมื่อเรือที่มี LNG (-160 ํC) เข้าเทียบท่าเรือเพ่ือขนถ่าย LNG ผ่านทาง Loading Arm LNG จะไหลเข้าสู่ท่อเพ่ือจัดเก็บใน LNG Storage Tank โดย LNG ที่เข้ามาใน LNG Storage Tank นั้นแบง่ ออกเปน็ 2 ส่วน คือ LNG บางส่วนเมอื่ ได้รบั ความร้อนจะเปลี่ยนสถานะจากของเหลว กลายเป็นก๊าซฯ ซ่ึงในส่วนน้ีเรียกว่า BOG (Boil-Off-Gas) และ LNG สว่ นท่ีเหลือ จากนั้น BOG จะไหลเขา้ สู่ BOG Compressor เพื่อทำการ ลดความดันและเม่ือลดความดันเสร็จเรียบร้อยแล้ว BOG จะไหลเข้าสู่ Re-Condenser เพือ่ เข้าไปรวมกับ LNG ส่วนท่เี หลือ ในข้ันตอนนี้ BOG ท่มี ปี ริมาตรนอ้ ยกว่าเมื่อผสมกับ LNG ที่มีปริมาตรมากกว่าจะสง่ ผลให้ความรอ้ นท่ี BOG ถ่ายเทใหก้ บั LNG ทำให้ BOG สว่ นใหญ่มีการเปลีย่ นแปลงจาก BOG กลับเป็น LNG หลังจากน้ัน LNG จะไหลเข้าสู่ Pump เพ่ือเพ่ิมความดัน และ LNG จะไหลเข้าสู่ Vaporizer เพื่อให้ LNG รับความร้อนจากน้ำทะเลเมื่อ LNG ได้รับความร้อนจากน้ำทะเลจะส่งผลให้ LNG เปล่ียนสถานะจากของเหลวกลายเป็นก๊าซฯ โดยอัตราส่วนระหว่างปริมาตรของ LNGตอ่ ปริมาตรของก๊าซฯน้นั อยู่ท่ี 1 : 600 และ เม่อื LNG เปล่ียนสถานะเปน็ ก๊าซฯแล้ว ปตท.ก็จะนำกา๊ ซฯเข้าสู่ระบบท่อสง่ ก๊าซฯต่อไป โดยกา๊ ซฯทีม่ าจาก LNG น้ันถอื เป็นแหล่งก๊าซฯใหม่อกี แหลง่ หนง่ึ ที่ ปตท. จัดหาเข้าส่รู ะบบการจดั หาก๊าซฯเพอื่ รองรับความตอ้ งการใช้ของประเทศ สำหรับกำหนดการเริ่มการส่ง LNG เข้าระบบการจ่ายก๊าซฯ นั้น ได้เร่ิมต้ังแต่วันที่ 10 มิถุนายน 2554 โดยมีปริมาณสูงสุด 140ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน คิดเป็น 6% ของปริมาณการจ่ายก๊าซฯ ผ่าน Common header ในปัจจุบัน ซ่ึงการจ่ายก๊าซฯ จาก LNG terminalในปรมิ าณดังกล่าว จะส่งผลกระทบต่อคา่ Wobbe Index เพยี งเล็กน้อย ผูบ้ ริหารเยี่ยมพบลูกคา้ กลมุ่ โรงไฟฟา้ คุณสมชาย คำรณยุทธ ผู้จัดการฝ่ายตลาดค้าส่ง กา๊ ซธรรมชาติ เปน็ ประธานในการประชุม เน่ืองในโอกาส พบปะเย่ียมเยียนแลกเปล่ียนทัศนะความคิดเห็น ระหว่าง ลูกค้าในเขตความรับผิดชอบของส่วนปฏิบัติการระบบท่อ เขต2 ซงึ่ ครอบคลมุ พน้ื ที่ จ.พระนครศรอี ยธุ ยา และ จ.สระบรุ ีจำนวน 5 บริษทั ไดแ้ ก่ โรงไฟฟา้ วังนอ้ ย การไฟฟ้าฝ่ายผลติ แห่งประเทศไทย บริษัท กัลฟพ์ าวเวอร์ เจนเนอเรชนั่ จำกดั บริษัท กลั ฟ์โคเจนเนอเรชนั่จำกดั บริษทั หนองแคโคเจนเนอเรชัน่ จำกัด และบริษัท โรจนะพาวเวอร์ จำกัด ท้ังนี้ บรรยากาศเป็นไปด้วยความเปน็ กนั เอง การจดั ประชมุ ในคร้งั น้ีเป็นสว่ นหนงึ่ ของแผนงาน ฝา่ ยตลาดคา้ สง่ กา๊ ซธรรมชาติ เพ่ือสร้างความสมั พนั ธ์อนั ดีกับลกู ค้า อนั จะนำมาซ่งึ ความราบรน่ื และเข้าใจกนั ในการเปน็ ค่คู ้าท่ดี ตี ่อกนัสมั มนาลกู ค้า การไฟฟา้ ฝ่ายผลติ แห่งประเทศไทย (กฟผ.) เมื่อวันท่ี 3 - 5 มีนาคม 2554 ฝ่ายตลาดค้าส่งก๊าซธรรมชาติ บริษัท ปตท.จำกัด (มหาชน)ได้จัดสัมมนาลูกคา้ การไฟฟา้ ฝ่ายผลติ แหง่ ประเทศไทย (กฟผ.) ซึง่ ครัง้ น้ี ไดจ้ ดั พาลกู คา้ ไปยงั เกาะสมยุโดยไดร้ บั เกยี รตจิ าก คณุ สนุ ชยั คำนนู เศรษฐ- ผชู้ ว่ ยผวู้ า่ การฯ บรหิ ารเชอื้ เพลงิ ใหเ้ กยี รตเิ ปน็ หวั หนา้ คณะกฟผ. และคณุ ภาณุ สทุ ธริ ตั น์ ผชู้ ว่ ยกรรมการผจู้ ดั การใหญจ่ ดั หาและตลาดก๊าซธรรมชาติ ปตท. ให้เกียรติเป็นหัวหน้าคณะต้อนรับบรรยากาศเปน็ ไปดว้ ยความเปน็ กนั เอง และสนกุ สนาน การจดั งานลกั ษณะน้ี เพอื่ เปน็ การตอบแทนลกู คา้ ผมู้ อี ปุ การคณุ และเพอ่ื สรา้ งความสัมพันธ์อันดีต่อกัน อันจะเป็นประโยชน์ในฐานะคู่ค้าท่ีดีตอ่ กัน6 กา๊ ซไลน์ Gaslin e
ทมี่ า : บรษิ ทั สยามมชิ ลิน จำกดั ความรจู้ ากลูกคา้น่ารู้เรื่องยาง...รถยนต์ เราทุกคนต่างรู้ดีว่า ไม่มียางรถเส้นใดที่จะใช้งานได้ตลอดชีวิตเนื่องจากยางมีการสึกซ่ึงจะเกิดข้ึนอย่างตอ่ เน่ืองทุกๆ ครงั้ ทย่ี างหมุน การสกึ เกดิ ขึน้ ได้อยา่ งไร ลองนึกถึงยางลบ ย่งิ คณุ ลบมันมากเทา่ ไรมนั ก็ยิง่ สึกเรว็ ข้ึนเท่านน้ั ส่ิงนี้แสดงใหเ้ ห็นถึงกฎของความจริงทีว่ า่ การไถลกบั การถคู ือท่ีมาของการสกึ นัน่ เอง ใ นกรณีของยางรถยนต์ ของยาง ถนนทม่ี คี วามขรขุ ระมากทำใหย้ างสกึ มากกวา่ ถนน ทเี่ รยี บ ขณะทย่ี างกลง้ิ ไปบนพนื้ ถนน ยางตอ้ ง • ลกั ษณะตา่ งๆ เกยี่ วกบั รถจะตอ้ งนำมาพจิ ารณาดว้ ยเหมอื น ตอ่ สกู้ บั การไถลและการถู เนอื่ งมาจาก กนั เช่น กำลังเครื่องยนต์ นำ้ หนกั รถ และอ่นื ๆ ความฝดื จากแรงเสยี ดทานของหนา้ ยาง • การตงั้ ศนู ยล์ อ้ กส็ ง่ ผลกระทบอยา่ งมากดว้ ย ศนู ยล์ อ้ ท่ีไมอ่ ยู่ ท่ีสัมผัสกับพื้นถนน เกิดข้ึนเม่ือบล็อก ในค่ามาตรฐานทำให้ยางสกึ เรว็ ผดิ ปกติ ดอกยางเคลอ่ื นตวั พน้ บรเิ วณทส่ี มั ผสั พน้ื ถนน • ยางทเ่ี พลาขบั ตอ้ งรบั แรงฉดุ มากกวา่ จะสกึ เรว็ กวา่ เมอ่ื ตอ้ งเนอื้ ยางจะคลายตวั ออกจากนำ้ หนกั ทกี่ ดอยู่ และกลบั คนื สรู่ ปู รา่ งเดมิ ใช้งานในสภาพทเี่ หมือนกันเน่ืองจากยางมีคุณสมบัติยืดหยุ่นได้ดี บล็อกดอกยางจะเล่ือนตัว • ยางเส้นเล็กกว่าจะสึกเร็วกว่า เนื่องจากมีรอบการหมุนที่ภายในแค่ช่วงเส้ียววินาทีซึ่งการเสียดสีอันน้อยนิดนี้ก็มากพอที่ มากกวา่ ยางเส้นใหญ่เม่อื วง่ิ ในระยะทางที่เท่ากนัทำให้เกดิ การสกึ ได้ แต่ให้สังเกตวา่ นเ่ี ป็นเพยี งเหตกุ ารณ์ที่ไม่มแี รง • ลักษณะการใช้งานก็มีส่วนสำคัญ ถนนท่ีคดเค้ียวจะก่อให้อื่นใดมากระทำ เชน่ ยางที่ไมไ่ ด้ตดิ บนล้อขบั เคลอื่ น เกิดการสึกมากกว่าถนนที่เป็นเส้นตรงเมื่อว่ิงด้วยความเร็ว ในความเป็นจริงแล้ว ยางจะต้องรับมือกับแรงกดที่มากข้ึน สมำ่ เสมอหลายเทา่ ตวั ในระหวา่ งการเร่งความเร็ว เบรก หรือตอนเขา้ โคง้ ซ่ึง • พฤติกรรมการขับขี่ก็เป็นอีกหน่ึงปัจจัย อัตราการสึกจะจะทำให้การสึกเกิดมากข้ึนตามไปด้วยเมื่อมีแรงกดระหว่างยาง ผนั แปรค่าจาก 1 ไปจนถึง 10 เมอื่ เทยี บระหวา่ งการขับข่ีกับถนน บล็อกดอกยางจะบิดตัวมากข้ึนเร่ือยๆ เม่ือใดก็ตามที่ แบบธรรมดากับการขบั ขแี่ บบรนุ แรงบลอ็ กดอกยางไมส่ ามารถรบั แรงกดไดด้ ว้ ยการบดิ ตวั อกี ตอ่ ไปบลอ็ ก • คุณภาพและการดูแลรักษายางเองคือกุญแจสำคัญของดอกยางจะไถลไปบนพน้ื นนั่ เอง และเมอ่ื เกดิ การไถล บลอ็ กดอกยาง อายกุ ารใชง้ านการสบู ลมที่ไมไ่ ดม้ าตรฐานกเ็ ปน็ ตน้ เหตขุ องก็จะเกิดการสกึ ถึงแมก้ ารไถลเพยี ง 1 มลิ ลิเมตรนจ้ี ะดูเลก็ น้อย แต่ การสกึ เรว็ ด้วยเช่นกันมนั เกิดขน้ึ ในทกุ รอบการหมุนของยาง หรอื ราว 25 ล้านรอบ เมอ่ื ใช้ ในส่วนของการออกแบบ และการผลิตยางรถยนต์ ก็ถือเป็นยางเส้นนัน้ ไป 50,000 กโิ ลเมตร อีกหน่ึงปัจจัยท่ีสามารถช่วยยืดอายุการใช้งานของยางให้ยาวนาน นอกจากนี้อายุการใช้งานของยางยังขึ้นอยู่กับปัจจัย มากขนึ้ ได้ เชน่ การใสส่ ารเคมที ชี่ ว่ ยเสรมิ ความแขง็ แรงของยางอยา่ งหลายอย่างที่สง่ ผลกระทบตอ่ การสกึ ของยาง คาร์บอนแบล็คและซิลิกา ท่ีนอกจากจะช่วยยืดอายุการใช้งานแล้ว ยงั ชว่ ยประหยดั นำ้ มนั ไดอ้ กี ดว้ ย หรอื การออกแบบรปู รา่ ง โครงสรา้ ง • สภาพภูมิอากาศก็มีส่วนสำคัญเช่นกัน ตัวอย่างเช่น รวมถงึ บลอ็ กดอกยางทชี่ ว่ ยควบคมุ การขยบั ตวั ของบลอ็ กดอกยางให้ ยางจะยึดเกาะถนนมากและจะสึกเร็วขึ้นในท่ีๆ มีอากาศ เหมาะสม กเ็ ป็นอีกหน่ึงวธิ ที ช่ี ่วยลดการสึกหรอของยางได้ หนาวเย็นและสภาพถนนแหง้ • สภาพพื้นผิวถนนมีความสำคัญอย่างมากกับการสึก ก๊าซไลน์ Gaslin e 7
Gas Technology สุวเี รศ เลาหวนชิ สว่ นวิศวกรรมซ่อมบำรงุ และความปลอดภัยฯCathodic Protection (Part 2) จาก Gas Technology ฉบบั ทแี่ ลว้ เราไดพ้ ดู ถงึ หลกั การและทฤษฏขี องระบบ CP ไปแลว้ ในฉบบั นเี้ รามาตอ่ กนั ดว้ ย แนวทางการประยกุ ต์ใช้งานกันจรงิ ๆ โดยระบบ CP นัน้ มอี ยู่ 2 ชนดิ คือ Galvanic Type และ Impress current type ซงึ่ มรี ายละเอยี ด และขอ้ ด-ี ขอ้ เสยี ดังน้ีGalvanic Type หรือ Sacrificial Anode System (SAC) Impressed Current System (ICCP)พลงั งานของCP ระบบSAC ชนดิ นเี้ กดิ จากความตา่ งศกั ยร์ ะหวา่ งโครงสรา้ ง(เหลก็ ) ระบบ ICCP นมี้ พี ลงั งานทมี่ ากกวา่ มาก SAC เพราะใชพ้ ลงั งานจากไฟฟา้ , ThermoและAnode ซง่ึ เรามกั จะเลอื กใช้Magnesium,Zinc,Aluminum สำหรบั โครงสรา้ งในดนิ generator หรือกงั หันลม เป็นต้น แลว้ แปลงไฟจากกระแสสลบั ไปเป็นกระแสตรงเพราะกระแสCP ทเ่ี กดิ ขนึ้ จากAnode นนั้ นอ้ ยมาก โดยปกตแิ ลว้ เราจะฝงั Anode ใน ดังนั้น Anode จึงสามารถใช้โลหะอะไรก็ได้ที่มีราคาถูก แต่เพื่อให้มีประสิทธิภาพBackfill ซงึ่ จะทำหนา้ ทล่ี ดความตา้ นทานของวงจรไฟฟา้ นลี้ ง ทำให้Anode สามารถ เรามกั จะเลอื กใช้ Anode ชนดิ High Silicon Cash Iron, Graphite, Mix Metal Oxideจ่ายกระแส CP ได้มากขึ้น หรือฝัง Anode เพ่ิมในกรณีต้องการกระแสเพิ่มขึ้น ซง่ึ มคี วามคงทนและมนี ำ้ หนกั เบากวา่ มาก ซงึ่ เหมาะกบั การฝงั Anode แบบลกึ มากๆแตเ่ขน้ออื่ แงตจากกตวา่ สั งดรมะุ หรี าวค่างาแSพAงCจงึแคลวะรเIลCอื CกPใชดร้ ะังบนบ้ี ICCP เมอื่ ตอ้ งใช้Anode จำนวนมาก (>2ข0้อmแต.)กโตดา่ ยงมระกั หจวะ่าฝงังSAAnCodแeลใะนICBCacPkfมillีดเงั ชน่น้ี กัน1. ไมต่ อ้ งการพลงั งานไฟฟา้ จากภายนอก โดยใชโ้ ลหะทม่ี ศี กั ย์ไฟฟา้ นอ้ ยกวา่ มาตอ่ ตอ้ งการพลงั งานไฟฟ้าจากภายนอก ซึง่ เปน็ ตัวขับให้กระแส DC ไหลออกจากท่อเพ่ือดงึ กระแสใหไ้ หลผ่านสายไฟมายัง anode (เหมอื นถา่ นไฟฉาย) ผ่านสายไฟไปยัง Anode แตอ่ าจต้องลงทนุ สงู ในท่ๆี ไมม่ ไี ฟฟา้ เขา้ ถงึ2. ANODE มีอายุการใช้งานตำ่ ต้องมกี ารเปล่ียนใหมเ่ มือ่ ใช้งานนานๆ อปุ กรณท์ กุ อย่างมีอายกุ ารใชง้ านได้นาน (หากตดิ ต้งั และบำรงุ รกั ษาถูกวธิ )ี3. มีขอ้ จำกดั ในการใช้ปอ้ งกันเมอื่ ใช้กบั well-coated structures สามารถประยุกต์ใช้งานกบั โครงสรา้ งได้หลากหลาย4. ในทางปฏบิ ัติมักใชง้ านเฉพาะในดินทีม่ คี วามตา้ นทานต่ำ หรือในนำ้ ใชไ้ ด้ทงั้ บริเวณทม่ี คี วามตา้ นทานสงู หรอื ต่ำ5. ง่ายตอ่ การออกแบบ, ตดิ ตงั้ และบำรงุ รกั ษา ต้องใชค้ วามระมัดระวังในการออกแบบและติดตง้ั6. อาจจะตอ้ งตดิ ตง้ั กระจายกนั ใหท้ วั่ ถงึ ทง้ั โครงสรา้ งทไ่ี ดร้ บั การปอ้ งกนั ทำใหม้ ตี น้ ทนุ ไมจ่ ำเป็นตอ้ งตดิ ต้งั Anode จำนวนมาก และแต่ละตัวสามารถปรับให้จ่ายกระแสในสูงหากต้องตดิ ตง้ั จำนวนมากๆ และอายุของ Anode ท่ีใช้งานก็จะหมดไม่เท่ากนั ปรมิ าณเทา่ กนั ได้ ซง่ึ อายขุ อง Anode แตล่ ะตวั จะเทา่ กนั และสามารถคาดการณ์ได้น7.้อมยผีมลาทกำใหโ้ ครงสรา้ งอนื่ ขา้ งเคยี งผกุ รอ่ นนอ้ ยมาก เพราะกระแสทอี่ อกจากAnode ตข้อ้างงเมคกี ยี างรดป้วรยะเมนิ ผลกระทบ (CP interference) ของ ground bed ต่อโครงสร้างอน่ื8. ยากมากทก่ี ระแสจาก Anode จะมปี รมิ าณมากพอทจ่ี ะทำลาย Coating ของทอ่ โตคอ้ รงงคสวรบ้าคงมุ แแตลไ่ ะมเฝม่ า้ ารกะเวกงั ินอไยปา่ จงในกทลำช้ ใดิหเ้พCอื่oมatนั่ inใจgวเา่ สกยีรหะแาสยCP เพยี งพอตอ่ การปอ้ งกนั9.Anode นอกจากจะปกปอ้ งทอ่ แลว้ ยงั ปกปอ้ งสายไฟไม่ใหผ้ กุ รอ่ นดว้ ย หากสายไฟ ต้องการฉนวนที่ดี (high integrity of insulation) สำหรับการตอ่ ด้านขั้วบวกของในวงจรของ Anode มฉี นวนชำรุด แตก่ ็จะทำใหป้ ระสทิ ธภิ าพของ anode ลดลง Rectifier ซง่ึ ตอ่ ลงไปในดนิ หรอื ในนำ้ ไมเ่ ชน่ นนั้ แลว้ อาจเปน็ สาเหตใุ หส้ ายไฟขาดได้ ในเวลาอนั สัน้ มาก (ท้งั นขี้ ้ึนกับปริมาณกระแสจากสายไฟทรี่ ัว่ ลงดนิ ) Criteria การเลือกใชง้ านระหว่าง Impress current และ Galvanic (kg/A-Yr) x I (Amp) x T (Years) เพยี งแตเ่ ราไม่ สามารถทราบ corrosionAnode โดยคำนึงถึงความคุ้มค่าในการลงทุน เม่ือพิจารณาในปัจจัยของ current ของ micro corrosion บนผวิ เหลก็ ได้จึงไมส่ ามารถหาน้ำหนกั ที่ปรมิ าณความตอ้ งการกระแสในการปกปอ้ งทอ่ จากความผกุ รอ่ นทจ่ี ะสมั พนั ธ์ หายไปของโลหะทอี่ ยแู่ บบโดดๆได้ ซงึ่ สมการนมี้ ปี ระโยชน์ในการคำนวณหากับความต้านทานจำเพาะของดิน น้ำหนกั ของ CP anode จากกระแสทีจ่ ่าย และใช้คำนวณเพอ่ื ใหท้ ราบถึง(ตามกฎของ Ohm) โดยสามารถ ความรุนแรงของปัญหาการรบกวนกันของระบบ CP (CP interference)พิจารณาไดจ้ ากกราฟดา้ นขวาน้ี โดยปกติแล้ว เหล็กมคี ่า K = 9.1 kg/A-Yr หมายความวา่ หากบริเวณใดที่ แต่สำหรับการต่อขยายระบบ โครงสร้างโลหะถูกรบกวนให้มีกระแสไหลออกจากผิวโลหะที่สัมผัสกับอาจไม่เปน็ ไปตาม criteria ตามภาพ Electrolyte ประมาณ 1 A ในเวลา 1 ปี แลว้ บรเิ วณนนั้ จะผุกร่อนถงึ 9.1ด้านขวา เพราะต้องพิจารณาปัจจัย กโิ ลกรมั (เร็วกว่าความผุกร่อนตามธรรมชาติมาก) ซ่ึงถา้ เป็นท่อก็คงแตกอื่นๆ ประกอบเช่น การต่อท่อย่อย ก่อนหน้านีแ้ ล้ว แตห่ ากเป็นโครงสรา้ งอื่นกอ็ าจสูญเสยี ความแขง็ แรงจนไม่อตุ สาหกรรมเพม่ิ จากระบบทอ่ ประธาน สามารถทำงานต่อไปได้ที่ใช้ CP ระบบ Impress current โดยปกติแล้วทอ่ ยอ่ ยควรจะเลอื กใช้ระบบ ซง่ึ ความผกุ รอ่ นของทอ่ เปน็ ปจั จยั หนง่ึ ทเ่ี ราตอ้ งควบคมุ และเผา้ ตดิ ตามICCP เหมือนกนั หรือหากต้องการท่จี ะเลอื กใชร้ ะบบ SAC กค็ วรท่ีมีการ ระบบป้องกนั เพอ่ื ให้มัน่ ใจวา่ ระบบป้องกันความผกุ รอ่ นจะยงั คงทำงานได้ตดั แยกระบบดว้ ยการติด Insulating Joint หรอื Flange เพือ่ ป้องกันการ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ เพราะมอี กี หลายปจั จยั ทที่ ำใหร้ ะบบควบคมุ อาจทำงานสูญเสียกระแสจากระบบ ICCP ของท่อประธานไปกับ Galvanic Anode ไดไ้ มส่ มบรู ณเ์ ชน่ อปุ กรณร์ ะบบCP อาจชำรดุ , วสั ดหุ มุ้ ทอ่ เสอื่ มสภาพมากของท่อย่อย ท่ีเปรียบเสมือนแทง่ Ground ที่จะแยง่ กระแส CP ไปจากทอ่ เกนิ กวา่ ที่ไดอ้ อกแบบไว,้ สภาพแวดลอ้ มทเี่ ปลย่ี นจนอาจทำใหป้ ระสทิ ธภิ าพเน่ืองจาก Sacrificial anode ท่ีฝั่งจะมีความต้านทานที่น้อยกว่าท่อท่ีมี ของระบบปอ้ งกันลดลงเช่น AC/DC interference หรอื มโี ครงสรา้ งใหมม่ าCoating เป็นฉนวนมาก ปดิ กน้ั หรอื ลดทอนกระแสทจ่ี ะไปปกปอ้ งทอ่ ทอ่ี ยปู่ ลายทางเปน็ ตน้ ดว้ ยเหตนุ ี้ จากความรู้ในเรื่องกลไกการเกิดความผุกร่อนท่ีผ่านมาเราสามารถ จึงจำเป็นต้องตรวจสอบและบำรุงรักษาอุปกรณ์ต่างๆ ตามแผนหลักที่คำนวณนำ้ หนกั โลหะทหี่ ายไปเนอื่ งจากความผกุ รอ่ นไดจ้ ากกฎของFaraday หนว่ ยงานวศิ วกรรมกำหนด เพอ่ื ลดโอกาสหรอื ความเสยี่ งทที่ อ่ จะผกุ รอ่ นในซ่งึ จะแปรผนั ตรงกับปริมาณประจุไฟฟา้ ท่ีไหลผ่านวงจรไฟฟา้ Wt (kg) = K อตั รามากกวา่ (corrosionrate) ทย่ี อมรบั ไดก้ บั remainingservicelife ตาม Business requirement8 กา๊ ซไลน์ Gaslin e
จกั รดาว ประทมุ ชาติ สาระนา่ รู้ วศิ วกร ส่วนปฏิบตั ิการระบบท่อเขต 1Pipeline Hot Tapping (2) ในฉบับท่ีผา่ นมา ผมไดแ้ นะนำหนา้ ท่ีและวธิ กี ารใช้งานเครอ่ื งมอื และอุปกรณต์ ่าง ๆ ทีจ่ ำเปน็ ตอ้ งใช้ในการทำ Pipeline HotTapping ซ่งึ จะเห็นไดว้ ่า มีอุปกรณ์ทเี่ ขา้ มาเกี่ยวข้องจำนวนมาก ในฉบับน้ีผมขอกล่าวถึงการประกอบติดตงั้ และวิธีการเจาะทอ่ แบบไมต่ อ้ งหยดุ การส่งก๊าซฯให้กับทา่ นผอู้ ่านได้เขา้ ใจดงั น้ีการทำ Pipeline Hot Tapping มักมีจุดประสงค์เพื่อทำการเจาะต่อขยาย ขึ้นมาตำแหน่งเดิม แล้วจึงทำการปิด Isolationการส่งกา๊ ซฯไปยังท่อที่กอ่ สรา้ งใหม่ ซงึ่ มกั เรียกรวมวา่ Pipeline Hot Tap - Tie in และ Valveอีกจดุ ประสงค์หน่ึงเพื่อการตัดเปลย่ี น หรอื ย้ายแนวทอ่ เดมิ ซง่ึ มักเรยี กรวมวา่ PipelineHotTap-Reroute จะตอ้ งใชอ้ ปุ กรณท์ ไี่ ดก้ ลา่ วมาแลว้ ในฉบบั กอ่ นหนา้ นซ้ี ง่ึ จะแตกตา่ งกนัทก่ี ารตดิ ตั้งชดุ เครอื่ งมือต่างๆ เพื่อการจดั ส่งกา๊ ซฯอย่างตอ่ เนื่องการตดิ ตงั้ อปุ กรณต์ ่างๆ เพ่ือการทำ Pipeline Hot Tap -Tie in เร่ิมจากการเช่ือมSplit Tee เข้ากับทอ่ สง่ ก๊าซฯในตำแหน่งท่ีจะทำการเจาะ การเชือ่ ม Split Tee นี้จะเร่มิทำการเช่อื มในแนวตะเขบ็ (Longitudinal) กอ่ น แลว้ จงึ ทำการเชื่อมในแนวเสน้ รอบวง(Circumference) เมอ่ื เสรจ็ แลว้ จะทำการเชอ่ื มประกอบเขา้ กบั หนา้ แปลน(Flange) แลว้ จงึทำการทดสอบคุณภาพงานเช่ือมว่าสมบูรณ์ตามต้องการหรอื ไม่หลงั จากนน้ั จะประกอบวาลว์ ท่ีใชต้ ดั แยกระบบ (Isolation Valve) ซง่ึ มักใช้ BallValve ประกอบเข้ากับหน้าแปลนที่เช่ือมติดกับท่อส่งก๊าซฯเดิม ทำการวัดระยะต้ังแต่หนา้ แปลนไปจนถงึ หลงั ทอ่ เดมิ เพอ่ื ใชใ้ นการคำนวนระยะการเคลอ่ื นตวั ของCutter ปอ้ งกนัไม่ให้ Cutter ทำการตัดท่ออีกฝั่งหน่ึง แล้วจึงทำการประกอบ Hot tap machineท่ีได้ติดต้ัง Cutter และ Drill เรียบร้อยแล้วเข้ากับวาล์วท่ีอยู่ในตำแหน่งเปิดและถูกติดต้ังไว้ก่อนหน้า โดยมีลักษณะการติดต้ังที่แสดงไว้ในรูปประกอบ เม่ือทำการติดต้ังอุปกรณ์ทั้งหมดเรียบร้อยแล้วจะทำการทดสอบการร่ัวตามรอยต่อต่างๆ โดยใช้ก๊าซไนโตรเจนบรรจลุ งในเคร่ืองท่ีความดนั อย่างน้อยเทา่ กับความดันของก๊าซฯภายในท่อ หลังจากทำการปิด Isolation Valve เรียบร้อยแล้ว จะทำการระบายก๊าซฯออกจาก ภายในของเคร่ือง Hot tap machine แล้วจึง ถอดเครอื่ งเจาะท้ังหมดออก ประกอบหน้าแปลน ของทอ่ ใหมท่ จ่ี ะทำการขยายตรวจสอบการตดิ ตง้ั ทั้งหมดอีกคร้ัง ก่อนที่จะเปิด Isolation Valve เพื่อให้สามารถจ่ายก๊าซฯไปยังระบบท่อที่มีการ ก่อสร้างใหมไ่ ดต้ ามต้องการก่อนทำการเจาะจะต้องตรวจสอบความหนาของท่อที่ทำการเจาะ ระยะการ ข้ันตอนต่างๆ ที่ไดก้ ล่าวมาน้นั เป็นเพียงเคล่ือนตัวของ Cutter เพื่อให้แน่ใจได้ว่าท่อถูกเจาะเรียบร้อยและไม่เลยไปเจาะอีก ขัน้ ตอนโดยสรปุ เท่านัน้ การตดั ตอ่ ท่อดว้ ยเครอ่ื งด้านหน่ึงของท่อ การเจาะจะตอ้ งควบคุมความเร็วของการหมนุ ของ Cutter และอัตรา Hot Tap Machine นี้ถือได้ว่าเป็นกิจกรรมที่มีความเรว็ ในการปอ้ นหรือการเคล่ือนตวั ของ Cutter การที่ Cutter เคลอื่ นตัวเข้าเร็วเกิน ความเส่ียงในด้านความปลอดภัยมาก ดังนั้นไปจะกินกำลังของเครือ่ งขบั หมุน การท่ี Cutter หมนุ เร็วเกินจะก่อให้เกดิ ความร้อนใน ผู้ปฏิบัติต้องเป็นผู้ท่ีมีความเช่ียวชาญและได้รับการเจาะมาก การรบั รองมาแลว้ รวมทงั้ ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั กิ จ็ ะเมอื่ หวั Drilling เจาะผนงั ทอ่ สง่ กา๊ ซฯจนทะลุ ความดนั ภายในทอ่ จะระบายออกมา มีรายละเอียดในแต่ละรายการเพื่อป้องกันไม่ให้ยงั เครอ่ื งเจาะและทำใหค้ วามดนั ภายในเครอื่ งเทา่ กบั ความดนั ภายในทอ่ สง่ กา๊ ซฯ ทำให้ เกดิ อุบัตเิ หตใุ นการทำงาน อนั จะสง่ ผลใหก้ ารสง่ทราบไดว้ า่ หวั Drilling ไดเ้ จาะทะลแุ ลว้ สำหรบั การกนิ ผนงั ทอ่ ของ Cutter จะตรวจสอบ ก๊าซฯสลู่ กู ค้าปลายทางตอ้ งหยดุ ชะงักไปดว้ ยไดจ้ ากระยะท่ี Cutter เคลอื่ นตวั ไป เมอ่ื ทำการตดั ผนังทอ่ ด้วย Cutter แล้วเศษโลหะ ในฉบบั ถดั ไป ผมจะขอกลา่ วถงึ การตดั เปลย่ี นที่ไดจ้ ากการตดั บางสว่ นจะถกู พดั พาไปโดยความเรว็ ของกา๊ ซฯภายในทอ่ สำหรบั ชน้ิ สว่ น และย้ายแนวท่อเดิม (Pipeline Hot Tap -เหลก็ กลมขนาดใหญท่ ่ีได้จากการตดั (Coupon)จะถกู ลวดที่ใชจ้ บั แผ่นเหลก็ (U-Wire) Reroute) ซง่ึ ถอื วา่ มคี วามซบั ซอ้ นสงู มากใหท้ า่ นจับไว้ไม่ใหต้ กลงไปภายในทอ่ เมือ่ ท่อถูกตัดเรียบรอ้ ยแล้วจงึ ดงึ หัว Hot tap cutter น้ี ผอู้ า่ นไดร้ ้จู กั ต่อไป กา๊ ซไลน์ Gaslin e 9
CSR ที่มาของข้อมลู : โครงการรกั ษป์ ่าสรา้ งคน 84 ตำบลวิถีพอเพยี ง ฝา่ ยกิจการเพอื่ สงั คม บรษิ ทั ปตท. จำกดั (มหาชน)โครงการรักษ์ป่า สร้างคน 84 ตำบล วิถีพอเพียง CSR ฉบบั นข้ี อนำเสนอ โครงการรกั ษป์ า่ สร้างคน 84 ตำบลวถิ ีพอเพียง ซ่งึ เปน็ หน่ึงในโครงการฯCSR ท่กี ลุ่ม ปตท. ได้จดั ตง้ั ขนึ้ เม่อื ปี 2550 และสานต่อมาจนถึงปัจจุบนั ใจนับล้าน ล่องลอยไกล ใจถูกความฝัน พัดพาไป ใจเล็กๆ เหด็ ถอบ สมนุ ไพร มาทำยา และไผร่ วกซงึ่ มกี ารเพาะพนั ธจ์ นเปน็ ไมเ้ ศรษฐกจิ และนอกจากนย้ี ังมกี ารปลกู ฝา้ ย และทอผ้าฝ้ายยอ้ มสจี ากธรรมชาติเหลงทางอยู่กลางโลกฝัน เพราะตวั เธอนัน้ ไมเ่ คยพลิกดูใจ.... 2. ตำบลแม่นะ อ.เชยี งดาว จ.เชยี งใหม่ ชื่อว่าทุกท่านคงจะคุ้นหูกับเพลงภาพยนตร์โฆษณาชุด พลิกใจของโครงการรกั ษป์ ่า สร้างคน 84 ตำบลวถิ พี อเพยี ง ทางหน้าจอทวี ีกนั แลว้ ผลงานเด่นของโครงการชุมชนก็คือการเรียนรู้ในการรักษาป่าชุมชนบางทา่ นอาจจะมขี อ้ สงสยั วา่ วา่ โครงการนม้ี ที มี่ าอยา่ งไร ซงึ่ ผทู้ ตี่ ดิ ตามกา๊ ซไลน์ ไม่ให้ถูกทำลายและยังเรยี นรู้ภมู ปิ ญั ญาด้ังเดิม เรียนร้เู รื่องสมุนไพร และเพ่มิในฉบับก่อนๆ ย้อนไปเม่ือประมาณปี 2551 ซ่ึงได้นำเสนอถึงวัตถุประสงค์ ทกั ษะอาชพี ทเ่ี หมาะสมกบั ชมุ ชนโดยใชท้ รพั ยากรทม่ี อี ยู่ใหเ้ กดิ ประโยชน์ มวี ธิ ีหลักในการดำเนินการและเป้าหมายของโครงการฯไปแล้ว 4 ปีกว่าของ การปลกู ตน้ ไมแ้ บบผสมผสาน ไมอ่ นญุ าตใหป้ ลกู ไรเ่ พอ่ื ไม่ใหเ้ กดิ การตดั ตน้ ไม้การดำเนนิ โครงการฯ พี่นอ้ ง 87 ตำบล ปตท.และภาคีเครือข่ายกำลงั เดนิ ทาง ใหโ้ ล่งเตียน น้ำจงึ ชมุ่ ชืน้ และเกิดการจดั ตง้ั วทิ ยาลัยการเรยี นร้ขู องชมุ ชนขนึ้มุ่งสูจุดหมายที่ได้ร่วมปักธงกันไว้ตั้งแต่ปี 2550 ในการเป็นตำบลต้นแบบวถิ พี อเพยี ง เพอ่ื เฉลมิ พระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ในโอกาสทรง 3. ตำบลแม่ทา อ.แม่ออน จ.เชยี งใหม่เจรญิ พระชนมพรรษา84 พรรษา ซง่ึ ขณะนอ้ี ยใู่ นระยะสดุ ทา้ ยของโครงการฯ คอืการตอ่ ยอดทกุ ตำบลเปา้ หมายอยา่ งครบวงจร พรอ้ มทจี่ ะขยายผลตอ่ ไป และ ต.แมท่ า เคยประสบปญั หาสงิ่ แวดลอ้ มเสอ่ื มโทรม ชมุ ชนมปี ญั หาหนสี้ นิทำการสรุปความรูท้ ั้งหมดเพ่ือน้อมเกลา้ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัว อนั เปน็ ผลสบื เนอ่ื งจากการทำเกษตรเชงิ เดย่ี วและการใชส้ ารเคมี กลมุ่ แกนนำ ชุมชนจึงลุกขึ้นมาพลิกฟ้ืนป่า ฟ้ืนฟูทรัพยากร ลดมลพิษส่ิงแวดล้อม เกิด a จากปลกู ป่าในใจคนสกู่ ารพลกิ ใจ a กระบวนการเรียนรใู้ นชมุ ชน สร้างจิตสำนึกรกั ษาทรัพยากรทอ้ งถน่ิ เปน็ พนื้ ท่ี ท่ีใหก้ ารศกึ ษาเรียนรู้แก่องคก์ รและหน่วยงานต่างๆ ทัง้ ภาครัฐและเอกชน ตลอดระยะเวลา 32 ปี ที่กลมุ่ ปตท.ไดน้ ้อมนำแนวปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งมาเปน็ หวั ใจสำคญั ในการดำเนนิ ธรุ กจิ และกจิ กรรมเพอื่ สงั คม โดยใน 4. ตำบลวังนำ้ ลดั อ.ไพศาลี จ.นครสวรรค์ปี 2537 ปตท.ได้ดำเนนิ โครงการปลกู ป่าถาวรเฉลมิ พระเกียรติ 1 ล้านไร่ เพ่ือเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในโอกาสทรงครองราชสมบัติ เป็นพ้ืนที่ท่ีมีนักพัฒนาองค์กรเอกชน เข้ามาร่วมคิดร่วมพัฒนากับครบ 50 ปี และได้พบกบั ส่งิ สำคัญย่ิงกว่านนั้ คือ การลกู ปา่ ในใจคน และนำมา ชาวบ้านมาอยา่ งยาวนาน เกดิ เป็นป่าชุมชนตน้ แบบ ชาวบา้ นรวมตัวกนั ดูแลสูแ่ นวคิดหลกั ในการทำกจิ กรรมเพอ่ื สังคมของกลุ่ม ปตท. รักษ์ป่าเพ่ือเป็นท่ีให้ชาวบ้านได้เข้ามาหากินกันโดยหลักที่ว่าพึ่งพาอาศัยกัน ปี2550 ในโอกาสทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงเจรญิ พระชนม และกนั และเกดิ ปราชญช์ มุ ชนดา้ นการเกษตรพฒั นาไปสกู่ ารจดั ตงั้ กลมุ่ เยาวชนพรรษา 84 พรรษา กลมุ่ ปตท.และภาคีเครือข่ายได้ผนกึ กำลงั นำหลกั ปรชั ญา คนรุ่นใหม่มาเรยี นรกู้ จิ กรรมหลัก อาทิ การอนุรกั ษป์ า่ ชมุ ชน กลุ่มออมทรพั ย์เศรษฐกจิ พอเพยี งมาเปน็ หวั ใจในการดำเนนิ งานโครงการรกั ษป์ า่ สรา้ งคน 84 ธนาคารข้าว กองทนุ สวสั ดกิ ารชมุ ชนตำบล วิถพี อเพียงโดยในแตล่ ะพื้นทจ่ี ะมีแนวทางการปฏิบัติตามแผนภมู ิท่ีได้วางไว้ ซงึ่ จะทำใหส้ ามารถดำเนนิ การโครงการตามเปา้ หมายหลกั ๆ ได้ จนได้ 5. ตำบลนาขอม อ.ไพศาลี จ.นครสวรรค์ตำบลนำรอ่ ง9 ตำบล ซง่ึ ไดอ้ าสาเขา้ มารว่ มโครงการและเปน็ ชมุ ชนตน้ แบบในดา้ นวเิ คราะห์ชุมชน เพ่มิ ทกั ษะใหช้ มุ ชน การดูแลรักษาทรพั ยากรท้องที่ การ เปน็ เสมอื นตำบลคแู่ ฝดกบั ต.วงั นำ้ ลดั ลกั ษณะพน้ื ทที่ ำกนิ เคยประสบจดั การพลงั งานในชมุ ชน การจดั การดา้ นการศกึ ษาทเ่ี นน้ โรงเรยี น ครแู ละนกั เรยี น ปัญหาภัยแล้ง ผู้นำชาวบ้านและแกนนำกลุ่มต่างๆ ได้สร้างความเข้าใจ ให้การดแู ลสงิ่ แวดลอ้ มในชมุ ชน การจดั การกองทนุ สดุ ทา้ ยจะเปน็ การพฒั นาดา้ น ความรแู้ ละกระตนุ้ สำนกึ ใหช้ าวบา้ นรจู้ กั ใชท้ รพั ยากรอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยจติ ใจทงั้ หมดทงั้ มวลกเ็ พอ่ื ใหช้ มุ ชนเรยี นรกู้ ารวเิ คราะหป์ ญั หาตา่ งๆ ของตนเอง เน้นแนวคิดว่าชาวบ้านต้องรักษาป่าไว้ให้ครอบครัว ส่งเสริมการทำเกษตรและเกิดสติปัญญาไปสู่การแก้ปัญหาตามวิถีพอเพียงเกิดระบบการบริหาร ผสมผสาน สร้างอาชพี เสรมิ ใหค้ นในชมุ ชน รวมไปถงึ จดั การปัญหายาเสพตดิจัดการดา้ นการเงนิ และบุคลากรที่เปน็ ระบบมีสวสั ดิการชมุ ชน โดย 9 ตำบล ดว้ ยความมงุ่ หวังใหช้ ุมชนเข้มแข็ง และพง่ึ ตนเองได้อย่างแทจ้ รงินำร่องของโครงการฯน้ีได้รับการคัดเลือกจากเครือข่ายรางวัลลูกโลกสีเขียวโครงการปลกู ปา่ ถาวรเฉลมิ พระเกยี รตฯิ 1 ลา้ นไร่ พนื้ ทดี่ ำเนนิ งานของกลมุ่ ปตท. 6. ตำบลเขาคอก อ.ประโคนชัย จ.บุรรี มั ย์และตำบลทส่ี มคั รเขา้ รว่ มโครงการ โดยแตล่ ะตำบลมผี ลการดำเนนิ โครงการฯ ดงั น้ี แกนนำชมุ ชน และชาวบา้ นตอ่ ตา้ นเรอ่ื งการบกุ รกุ ทำลายปา่ จนนำไปสู่1. ตำบลศิลาแลง อ.ปัว จ.นา่ น การรวมกลุ่มต้งั ป่าชุมชนเขาคอก และกลายเป็นแหล่งเรียนร้ขู องชมุ ชน ซึง่ มี สำนักงานกองทนุ สนับสนนุ การวจิ ยั เข้ามาให้การสนับสนุนเรือ่ งการวจิ ยั และ สมัยก่อนชาวไทลื้อ ม้ง, เม้ียน และลัวะ ได้อพยพเข้ามาอาศัยอยู่ ถอดองค์ความรู้เปน็ หนังสอื “ปา่ ชุมชนเขาคอก”ทำให้ผืนป่าถูกทำลาย น้ำในลำห้วยก็ลดน้อยลง ชาวบ้าน ต.ศิลาแลง ได้ชว่ ยกนั อนรุ กั ษป์ า่ ไม้ ไมท่ ำไรเ่ ลอ่ื นลอย และมกี ารจำกดั พน้ื ทท่ี ำไร่ รวมทง้ั ตง้ั กฎ 7. ตำบลปากทรง อ.พะโต๊ะ จ.ชุมพรว่าไม่ให้เขา้ ใกลล้ ำหว้ ย ระยะ 200 เมตร ชาวบา้ นทุกคนใหค้ วามรว่ มมอื เป็นอย่างดี ปา่ ไม้ก็ฟื้นตวั อุดมสมบูรณ์ ชาวบ้านสามารถหาอาหารจากปา่ เชน่ ต.ปากทรง ไดช้ อื่ วา่ เปน็ ดนิ แดนทม่ี ฝี นตกชกุ เพราะไดร้ บั มรสมุ ทงั้ ฝง่ั อา่ วไทยและทะเลอนั ดามนั ความอดุ มสมบรู ณข์ องทรพั ยากรธรรมชาติ ปา่ ไมถ้ กู บกุ รกุ ดว้ ยสวนผลไม้ ท้ังกาแฟ ลองกอง และปาลม์ นำ้ มัน แกนนำไดจ้ ดั ต้ัง หน่วยอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำพะโต๊ะ ได้จัดตั้งโครงการ “คนอยู่-ป่ายัง” เพ่ือทำใหช้ มุ ชนพึ่งตนเอง รู้จักจัดการทรพั ยากรธรรมชาติ 8. ตำบลทุ่งควายกิน อ.แกลง จ.ระยอง อาชพี หลักเปน็ สวนผลไม้ และสวนยางพารา เนือ่ งจากชุมชนอยู่ใกล้ เมืองทำให้ความอุดมสมบูรณ์ของป่าไม้และแม่น้ำลำคลองเริ่มเส่ือมโทรมลง จากการมองเหน็ ปัญหา ทำใหเ้ ป็นทีม่ าของการกอ่ ตง้ั กลมุ่ รกั ษ์เขาชะเมา ซง่ึ เป็นการรวมตัวของเด็กๆ ในชุมชนเพื่อทำกิจกรรมและปลูกฝังให้เด็กๆ มี จติ สำนกึ ในการอนรุ กั ษ์ทรัพยากร ธรรมชาติ 9. ตำบลท่ามะขาม อ.เมอื ง จ.กาญจนบรุ ี เปน็ ชมุ ชนเมอื ง ชาวบา้ นสว่ นใหญท่ ำงานมเี งนิ เดอื น ชมุ ชนมลี กั ษณะ ของบา้ นจดั สรรแบบวถิ ชี วี ติ ในเมอื งใหญ่ แตก่ ย็ งั คงมชี าวบา้ นบางกลมุ่ ยนื หยดั ทที่ ำการเกษตรด้วยกำลังใจทเ่ี ข้มแขง็ โดยแกนนำชุมชนไดพ้ ยายามโนม้ นา้ ว ใหค้ นในชุมชนหันมาทำการเกษตรแบบพง่ึ พาตนเอง ตามแนวพระราชดำรัส เศรษฐกจิ พอเพยี ง10 กา๊ ซไลน์ Gaslin e
สจุ นิ ดา มาลิเสน Knowledge Sharing ส่วนวิศวกรรมโครงการ วิธีการคำนวณความหนาของท่อก๊าซธรรมชาติ จากฉบบั ทผ่ี า่ นมาKnowledge Sharing ไดแ้ บง่ ปนั ความรเู้ กย่ี วกบัClass Location ของการวางท่อส่งก๊าซธรรมชาติ ฉบับนี้ขอนำ ClassLocation ท่ีได้นำเสนอในฉบับท่ีแล้วมาออกแบบความหนาของท่อก๊าซธรรมชาตเิ พอ่ื ใชใ้ นโครงการกอ่ สรา้ งวางทอ่ สง่ กา๊ ซฯ ซง่ึ เปน็ ไปตามมาตรฐานASME 31.8 : 2010 Transmission and Distribution Piping System หวั ขอ้ ที่841.1.1 Steel pipe design formula โดยมสี ตู รการคำนวณดังนี้ 2St FET E คอื Longtitudinal Joint Factor (ทอ่ ถกู ผลติ อย่างไร หรอื P= (U.S. Customary Units) มแี นวเช่อื มอยา่ งไร) D ท่อก๊าซฯของ ปตท. เป็น Spec. No. API 5L, ASTM 53, ASTM A 106 คือเป็นแบบ Seamless และ Electric Resistance Welded P = 200D0St FET (S.I. Units) ซึ่งจากตาราง E factor = 1 จากสูตรดังกล่าว เราสามารถลองคำนวณความหนาตามตัวอย่าง สามารถแทนค่าตวั เลขในสมการได้ดังนี้ไดด้ ังตอ่ ไปน้ี t = PD/2SFETตวั อยา่ ง บริษทั A มีความตอ้ งการใชก้ ๊าซธรรมชาตทิ ี่ Flow rate สงู สุด t = (1,250x6.625)/(2x42,000x0.4x1x1) 1 MMSCFD โดยท่อกา๊ ซฯซงึ่ อยู่ใกล้บริษทั A มากทส่ี ุดมขี นาด t = 0.246 inch. 6 นิ้ว, Design Pressure = 1,250 psi, Grade X42 Specified จากความหนาทไ่ี ด้ ทอ่ กา๊ ซฯทใ่ี ชง้ านจรงิ ตอ้ งมคี า่ ความหนามากกวา่ Minimum Yield Strength (SMYS= 42000 psi) 0.246 นว้ิ โดยผู้ผลิตท่อขนาด 6 นวิ้ ทคี่ วามหนาประมาณ 0.28 นิว้ ,จากข้อมูลดงั กลา่ ว แทนสตู รได้ดังนี้ Schedule 40 จงึ สามารถใช้ท่อดังกลา่ วในโครงการวางทอ่ สง่ กา๊ ซฯ ไปยงั P คอื Design Pressure ซงึ่ ท่อเดิมเป็นทอ่ Class 150 จะมคี า่ บริษัท A ไดต้ ามมาตรฐาน Design Pressure ประมาณ 240 psi จากตัวอย่างจะเห็นได้ว่าค่าความหนาของท่อส่งก๊าซฯได้เผ่ือค่า S คอื Specified minimum yield strength ซงึ่ เปน็ คา่ จากผผู้ ลติ ทอ่ ความหนาไวแ้ ลว้ จงึ มน่ั ใจไดว้ า่ ทอ่ สง่ กา๊ ซฯมคี วามปลอดภยั ในการคำนวณในท่ีนีก้ ำหนดให้ = 42000 psi จากตาราง ทแี่ สดงนเี้ ปน็ การหาความหนาทอ่ บนพนื้ ดนิ ในกรณที ไ่ี มม่ แี รงกระทำบนทอ่ แตใ่ นกรณที อ่ ทีอ่ ยใู่ ตด้ นิ วศิ วกรต้องนำ Load จากดินตามความลึกและน้ำ D คือ Nominal outside diameter ของ 6 นวิ้ คอื 6.625 นวิ้ หนกั รถท่ีวิง่ ผา่ นมาคิดเพอื่ หาความหนาดว้ ย F คือ Design Factor (by Class location) จะเหน็ วา่ Class Location มคี วามสำคญั มาก โดยการระบุ Class ซึ่งเราจะนำ Class Location ดังกล่าวมาเลือกค่า F ในตาราง Location นนั้ มผี ลตอ่ ความหนาของทอ่ ซง่ึ จะสง่ ผลตอ่ ราคาคา่ กอ่ สรา้ งและสมมติให้บริษทั A อยูใ่ น Class Location 4 ดงั นนั้ ค่า F = 0.4 เงนิ ลงทนุ ทเี่ พมิ่ ขนึ้ อกี มหาศาล และหากเลอื กClass Location ผดิ ตง้ั แตแ่ รก น่ันหมายถึงการแก้ไขในเรื่องการออกแบบเกือบท้ังหมด ซึ่งในมาตรฐาน T คือ Design Temperature จากตาราง Design Temperature ASME 31.8 ไดร้ ะบถุ งึ วธิ กี ารเปลยี่ น Class Location ไวด้ ้วย แต่ก็จะมีของ ปตท. จะมคี ่าเท่ากับหรอื น้อยกวา่ 250 F ดังนน้ั จะมีคา่ T = 1 ความซบั ซอ้ นมากย่งิ ขึ้น ดงั นน้ั การสำรวจแนวการวางทอ่ กอ่ นออกแบบและการศกึ ษาถงึ แนวทาง การพฒั นาพน้ื ทเ่ี ปา้ หมายในอนาคตขา้ งหนา้ วา่ จะมกี ารเปลย่ี นแปลงอย่างไร และมปี จั จยั อนื่ ๆอกี หรอื ไมท่ จ่ี ะทำใหจ้ ำนวนผอู้ ยอู่ าศยั บรเิ วณนน้ั เพม่ิ มากขน้ึ ซง่ึ สง่ิ ตา่ งๆ เหลา่ นม้ี ผี ลทำให้ Class Location ของทอ่ เปลย่ี นแปลงและตอ้ ง มาแก้ไขการออกแบบใหม่ ดังนน้ั Knowledge Management จึงมีบทบาท อยา่ งมากในการเขา้ มาชว่ ยการสำรวจเพราะตอ้ งใชป้ ระสบการณจ์ ากการลองผดิ ลองถูกซง่ึ จำเปน็ ตอ้ งถา่ ยถอดจากรนุ่ สรู่ นุ่ โดยฉบบั ถดั ไปจะกลา่ วถงึ การสำรวจ แนวทางการวางทอ่ สง่ กา๊ ซฯเพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจถงึ ปจั จยั การเลอื กแนวทางการวาง ท่อสง่ กา๊ ซฯมากยิ่งข้ึน กา๊ ซไลน์ Gaslin e 11
มมุ สขุ ภาพ ที่มา : ส่วนการแพทย์ รู้จัก ‘อีโคไล’ ระบาดที่เยอรมัน กรณที ม่ี กี ารระบาดของโรคอจุ จาระรว่ ง รายงานการระบาดในญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริการวมถึงเคยมีการสันนิษฐานว่า อาจมีผ้ไู ม่ประสงค์ดีใช้เชื้อดงั กลา่ วเป็นอาวธุ ชวี ภาพได้ จากเช้ืออีโคไลและมีผู้ป่วยเสียชีวิตในประเทศ เยอรมนนี ัน้ มกี ารสนั นษิ ฐานวา่ ผปู้ ว่ ยอาจไดร้ บั สำหรับเชื้ออีโคไลกลุม่ “อีเฮค” ท่ีระบาดในประเทศเยอรมนขี ณะน้ีพบวา่เชอ้ื อโี คไลจากการรบั ประทานผกั บางชนดิ ขา่ วดงั กลา่ วคงทำใหค้ นทวั่ โลกเกดิ ความ ไม่ใช่ โอ-157 มรี ายงานเบอ้ื งตน้ วา่ อาจจะเปน็ โอ-104 แตย่ งั อยู่ในระหวา่ งการตน่ื ตระหนกและอยากรจู้ กั เชอ้ื อโี คไลกนั มากขน้ึ ซง่ึ สาระนา่ รเู้ รอ่ื งดงั กลา่ วมดี งั น้ี สืบสวนโรค ยังมีอีกหลายสายพันธ์ุ เช่น โอ-111 ก็อาจเป็นสาเหตุก่อโรค เรม่ิ จาก รศ.ดร.นพ.ภทั รชยั กรี ตสิ นิ ภาควชิ าจลุ ชวี วทิ ยา คณะแพทยศาสตร์ ดงั กล่าวไดเ้ ช่นกนั คงตอ้ งรอผลการพสิ จู น์เช้อื เพม่ิ เตมิ ต่อไปศริ ริ าชพยาบาล มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล อธบิ ายวา่ อโี คไล(E.coli) หรอื เอสเชอรเิ ชยีโคไล(Escherichiacoli) เปน็ เชอ้ื แบคทเี รยี ชนดิ หนงึ่ ซง่ึ โดยปกตคิ นเรามเี ชอื้ อโี คไล โอกาสที่เชื้อแบคทีเรียอีโคไลท่ีระบาดในอาศัยในลำไสอ้ ยแู่ ล้วทกุ คนร่วมกบั แบคทีเรยี อน่ื ๆ อกี หลายชนดิ แต่สว่ นใหญจ่ ะ ประเทศเยอรมนีจะก่อโรคในคนไทยมีมากน้อยไมใ่ ชอ่ โี คไลทกี่ อ่ โรค บางทกี ม็ ปี ระโยชนเ์ หมอื นกนั เชน่ ชว่ ยยอ่ ยอาหาร สว่ นอโี คไล เพยี งใด? รศ.ดร.นพ.ภทั รชยั กลา่ ววา่ เชอื้ ในกลมุ่ นี้ทก่ี อ่ โรคจะพบไดท้ ว่ั ไปตามสงิ่ แวดลอ้ มและในสตั วแ์ มว้ า่ ชอื่ เดยี วกนั แตเ่ ปน็ คนละ ยงั ไมม่ รี ายงานการกอ่ โรค หรอื ระบาดในประเทศไทยสายพนั ธก์ุ นั คอื เปน็ อโี คไลสายพนั ธท์ุ กี่ อ่ โรคในคนได้ ซง่ึ เชอื้ ดงั กลา่ วสามารถกอ่ โรค เชอื้ พวกนต้ี ดิ ตอ่ ทางการกนิ เชอื้ สามารถปนเปอื้ นไดห้ ลายโรค รวมถงึ โรคอจุ จาระรว่ งปจั จบุ นั สายพนั ธท์ุ ก่ี อ่ โรคอจุ จาระรว่ งมมี ากมาย มากับน้ำและอาหารได้หลากหลายประเภท เคยมรี ายงานการระบาดทพ่ี บเชอ้ื ในแตท่ จ่ี ดั กลมุ่ กนั ไวจ้ ะเปน็ 5 กลมุ่ ใหญ่ ๆ ทม่ี ลี กั ษณะการดำเนนิ โรคและความรนุ แรง อาหารจำพวกฟาสตฟ์ ดู้ เชน่ ในแฮมเบอรเ์ กอรเ์ ชอื้ อาจปนเปอ้ื นในเนอื้ สตั วถ์ า้ ปรงุท่ีแตกต่างกัน คือ ไมส่ กุ กอ็ าจกอ่ โรคได้ รวมทงั้ ในผกั และผลไมต้ า่ งๆ กส็ ามารถพบเชอื้ ได้ การปอ้ งกนั 1. เอน็ เทอโรทอ็ กซเิ จนคิ อโี คไล หรอื อเี ทค (Enterotoxigenic E. coli : การไดร้ บั เชอ้ื ทส่ี ำคญั ทส่ี ดุ คอื หลกี เลย่ี งการกนิ อาหารดบิ ดงั นนั้ ตอ้ งกนิ เนอ้ื สตั วท์ ่ีETEC) สว่ นใหญก่ อ่ ใหเ้ กดิ โรคอจุ จาระรว่ งทถ่ี า่ ยเหลวแบบเปน็ นำ้ อาการมกั ไมร่ นุ แรง ปรุงสุกหรือผา่ นความร้อนท่เี หมาะสมสว่ นผักและผลไม้ จะค่อนข้างปอ้ งกนั ยากและสว่ นใหญห่ ายไดเ้ อง พบกอ่ โรคไดบ้ อ่ ยโดยเฉพาะพนื้ ทเี่ ขตรอ้ นอยา่ งในบา้ นเรา เพราะนยิ มกินสด ท่ีระบาดในประเทศเยอรมนีคราวนอ้ี ยู่ในระหวา่ งสนั นิษฐานวา่โดยเฉพาะในชว่ งฤดรู ้อน มาจากผกั จงึ ตอ้ งอาศยั การลา้ งใหส้ ะอาดเปน็ หลกั เพราะเชอ้ื จะอยตู่ ามสง่ิ แวดลอ้ ม 2. เอ็นเทอโรพาโธเจนิคอโี คไล หรอื อเี ปค (Enteropathogenic E. coli : ตามนำ้ ตามดิน ได้ท่วั ไปEPEC) มักกอ่ โรคในเด็กเลก็ และพบไดบ้ อ่ ยในประเทศกำลงั พัฒนา ผูป้ ว่ ยมักมีถา่ ยเหลวเปน็ มกู ถา่ ยไมม่ าก แตม่ ีอาการเร้อื รงั ไดน้ านเปน็ เดือน ๆ ในเดก็ ทเ่ี ป็น “ปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนที่จะป้องกันการติดเช้ือกลุ่มนี้ได้ แต่ไม่อยากให้นานๆ บางครั้งอาจเกดิ ภาวะขาดสารอาหารแทรกซ้อนได้ ประชาชนกังวลหรอื ตกใจ ควรปอ้ งกนั โรคดว้ ยการรกั ษาสขุ อนามัย ตามปกติ คอื 3. เอ็นเทอโรอินเวสีฟอีโคไล หรือ อีอิค (Enteroinvasive E. coli : การกินอาหารท่ีปรุงสุกในขณะทย่ี ังรอ้ น ดื่มน้ำท่สี ะอาดได้มาตรฐาน และลา้ งผกัEIEC) เช้ือกลุ่มนี้จะก่อโรคได้รุนแรงขึ้น โดยเชื้อบุกรุกผนังลำไส้ทำให้เกิดแผล ผลไม้ให้สะอาด ซ่ึงเป็นหลักพ้ืนฐานท่ีควรทำในชีวิตประจำวันเท่านี้ก็สามารถผปู้ ว่ ยมกั ปวดเกรง็ ทอ้ งมาก และอาจถา่ ยเปน็ มกู ปนเลอื ดออกมาได้ แตพ่ บกอ่ โรค ปอ้ งกันการติดเช้อื แบคทีเรีย ทั้งอีโคไล และเชอื้ อืน่ ๆ อีกหลายชนิดท่เี ปน็ สาเหตุได้ไมบ่ ่อย กอ่ โรคอุจจาระรว่ งได”้ รศ.ดร.นพ.ภทั รชัย กล่าว 4. เอ็นเทอโรแอก็ กรเี กทฟี อีโคไล หรอื อเี อค (Enteroaggregative E.coli: EAEC) เชอ้ื กลมุ่ นกี้ อ่ ใหเ้ กดิ อาการทห่ี ลากหลาย อาจถา่ ยเปน็ นำ้ หรอื เปน็ มกู ดา้ น นพ.ปฐม สวรรคป์ ญั ญาเลศิ รองอธบิ ดกี รมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์และอาจกอ่ ใหเ้ กดิ ทอ้ งรว่ งเรอ้ื รงั ได้ แตย่ งั ไมท่ ราบกลไกกอ่ โรคทแ่ี นช่ ดั นกั กระทรวงสาธารณสขุ พรอ้ มดว้ ย น.ส.กรองแกว้ ศภุ วฒั น์ นกั วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ 5. เอ็นเทอโรเฮโมราจิคอีโคไล หรือ อีเฮค (Enterohemorrhagic E. เชีย่ วชาญด้านบัคเตรีลำไส้ และ น.ส.ศรีวรรณา หัทยานานนท์ นักวทิ ยาศาสตร์coli:EHEC) เปน็ เชอ้ื ทก่ี อ่ โรคไดร้ นุ แรงมากทส่ี ดุ อาการของผปู้ ว่ ยมคี วามหลากหลาย การแพทย์ชำนาญการ ได้ใหข้ อ้ มลู ในเรื่องน้ีต้ังแตท่ อ้ งรว่ งถ่ายเหลวเป็นนำ้ ธรรมดา บางรายอาจถ่ายเป็นมูก แตอ่ าจมีผู้ปว่ ยบางสว่ นทอ่ี าการรนุ แรงมากได้ เนอ่ื งจากเชอ้ื สามารถบกุ รกุ ผนงั ลำไสท้ ำใหเ้ กดิ แผล โดย นพ.ปฐม อธบิ ายว่า อีโคไล (E.coli) เปน็ เช้อื แบคทเี รียท่มี ที ้งั กอ่ โรครวมถงึ เชอ้ื ยงั สามารถสรา้ งสารพษิ “ชกิ า”(Shigatoxin) สารพษิ นสี้ ามารถกระจาย และไมก่ ่อโรค โดยอีโคไลทำใหเ้ กิดโรคในคนได้ ดังน้ีเขา้ สกู่ ระแสเลอื ดได้ แมว้ า่ ตวั เชอื้ อโี คไลจะไมไ่ ดเ้ ขา้ ไปในเลอื ดดว้ ย โดยเชอื้ จะอยู่ในลำไสแ้ ละสรา้ งสารพษิ เขา้ สกู่ ระแสเลอื ด ซงึ่ สารพษิ จะไปออกฤทธอ์ิ ยทู่ ่ี 2 ระบบ 1. โรคติดเช้ือทางเดินปัสสาวะ ทำให้เกิดโรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบใหญ่ๆ คอื ในระบบเลือดโดยจะไปทำลายเมด็ เลือดแดงทำใหเ้ มด็ เลอื ดแดงแตก กรวยไตอักเสบ นิ่วในไตโดยการเกิดโรคมักมีสาเหตุมาจากเชื้ออีโคไลที่อาศัยเปน็ ผลใหผ้ ปู้ ว่ ยเกดิ ภาวะซดี เฉยี บพลนั รวมถงึ ทำลายเกลด็ เลอื ด ทำใหเ้ กลด็ เลอื ด อยู่ในลำไส้ของผปู้ ว่ ยเองลดต่ำลงอย่างมาก เป็นผลให้ผู้ป่วยเกิดภาวะเลือดออกง่าย ผู้ป่วยจึงอาจเกิดจ้ำเลือดตามผิวหนังและมีเลือดออกท่ีอวัยวะต่างๆ ภายในได้ อีกระบบหนึ่งคือ 2. โรคติดเช้ืออ่ืนๆ เช่น โลหิตติดเช้ือ ไส้ต่ิงอักเสบ เยื่อบุช่องท้องสารพิษจะไปออกฤทธ์ิทำลายไต หน้าที่การทำงานของไตเสียไป จึงทำให้เกิด อกั เสบ เยอ่ื หุม้ สมองอกั เสบ ฝีในตับไตวายเฉียบพลัน ภาวะท้ังสามน้ี (ซีดจากเม็ดเลือดแดงแตก เลือดออกจากเกลด็ เลอื ดตำ่ และไตวาย) เรยี กรวมกนั วา่ กลมุ่ อาการ “ฮโี มไลตคิ ยเู รมคิ ซนิ โดรม” 3. โรคอจุ จาระรว่ ง เชอื้ อโี คไลเปน็ แบคทเี รยี ประจำถนิ่ พบมากในลำไสค้ นหรอื “เอชยเู อส” (Hemolytic uremic syndrome :HUS) ซ่งึ ถอื เปน็ ภาวะทีร่ นุ แรง สตั วเ์ ลอื ดอ่นุ มเี ช้อื อโี คไลบางสายพันธุท์ ำให้เกดิ อุจจาระร่วงไดท้ งั้ ในคนและสตั ว์มาก ทำใหผ้ ้ปู ่วยเสียชวี ติ ได้อย่างรวดเรว็ มาก โดยเชอ้ื อาจปนเปอ้ื นในอาหาร น้ำดื่ม น้ำนม โดยเชอื้ อโี คไลทกี่ ่อโรคอจุ จาระรว่ ง สำหรบั เชอ้ื อโี คไลทร่ี ะบาดอยทู่ ป่ี ระเทศเยอรมนจี นทำใหม้ ผี ปู้ ว่ ยมากกวา่ แบง่ ไดเ้ ปน็ 5 กลมุ่ ตามกลไกการกอ่ โรค คอื เอน็ เทอโรทอ็ กซเิ จนคิ อโี คไล, เอน็ เทอพนั คน (และยังอาจมจี ำนวนเพิม่ ขน้ึ ตอ่ เนอ่ื ง) และมีผู้เสียชีวิตหลายรายก็คือเชื้อ โรพาโธเจนิคอีโคไล, เอ็นเทอโรอินเวสีฟอีโคไล, เอ็นเทอโรแอ็กกรีเกทีฟอีโคไลอโี คไล ในกลมุ่ อีเฮค (EHEC) นี้ ซ่งึ เป็นกลมุ่ ทก่ี อ่ โรคไดร้ นุ แรงมากท่สี ุดดังกลา่ ว และเอ็นเทอโรเฮโมราจิคอโี คไลขา้ งตน้ มกี ารแบง่ กลมุ่ ยอ่ ยของเชอ้ื ในกลมุ่ อเี ฮคลงอกี ตามชนดิ ของ แอนตเิ จนโอ(O-antigen) ซ่ึงเปน็ โมเลกลุ อยู่ทผ่ี นงั เซลลข์ องเชือ้ และเรียกช่อื เป็นหมายเลข สำหรับเช้ืออีโคไลท่ีระบาดในประเทศเยอรมนีนั้นเป็นแบคทีเรียก่อโรคตามชนิดของแอนติเจนโอ ซ่ึงเชื้อในกลุ่มอีเฮคท่ีพบก่อโรคและเป็นสาเหตุการ อจุ จาระร่วงในกลุ่ม เอน็ เทอโรเฮโมราจิคอีโคไล หรอื “ชิกา ทอ็ คซนิ โปรดิวซิ่งระบาดไดบ้ อ่ ยทสี่ ดุ คอื โอ-157 สว่ นใหญพ่ บกอ่ โรคในประเทศทเ่ี จรญิ แลว้ เชน่ เคยมี อีโคไล” คาดว่าจะเป็นสายพันธุ์ โอ-104 ท้ังนี้ต้ังแต่ปี 2538 โรงพยาบาลท่ัว ประเทศไดส้ ง่ เชอ้ื อโี คไลมาใหก้ รมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ โดยฝา่ ยแบคทเี รยี ลำไส้ ตรวจยนื ยนั สายพนั ธก์ุ วา่ 1,000 เชอ้ื ตอ่ ปี จนถงึ ปจั จบุ นั ตรวจไปแลว้ กวา่ 10,000 เชอื้ ปรากฏว่า ยงั ไม่พบ โอ-104 ในประเทศไทยแต่อย่างใด แม้ประเทศไทยจะยังไม่พบ โอ-104 แต่กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้ เฝา้ ระวงั เชอื้ อโี คไลอยแู่ ลว้ กรณที ส่ี นั นษิ ฐานวา่ เชอ้ื นา่ จะปนเปอื้ นในผกั นน้ั คงตอ้ ง บอกวา่ ผกั จากยโุ รปไมค่ อ่ ยมกี ารนำเขา้ มาประเทศไทยเนอ่ื งจากราคาแพง สว่ นใหญ่ มาจากประเทศจีน คือโอกาสท่ีเชื้อจะเข้ามาประเทศไทยน้อยมากดังนั้นไม่ควร ต่ืนตระหนก สำหรบั ข้อแนะนำประชาชนทัว่ ไป คือ กนิ ร้อน ชอ้ นกลาง ล้างมอื . ขอขอบคุณ คณุ นวพรร บุญชาญ เดลนิ ิวส์ออนไลน์12 กา๊ ซไลน์ Gaslin e
ชญานิน อารมณร์ ัตน์ ธรรมะพกั ใจส่วนตลาดและขายกา๊ ซพาณิชย์ปริยัติธรรม ปฏิบัติธรรม และปฏิเวธธรรมธรรมะพกั ใจฉบบั ทแ่ี ลว้ ไดก้ ลา่ วถงึ กาลเวลาทไ่ี ดล้ ว่ งผา่ นไปอยทู่ กุ ขณะ โดยนำเสนอใหท้ า่ นใชส้ ติในการพจิ ารณาการกระทำของทา่ นเพอ่ื ก่อใหเ้ กิดปัญญาท่ีเพ่ิมพนู มากข้นึ เร่ือยๆ ธรรมะพกั ใจฉบบั น้ี จะขอนำเสนอเกยี่ วกบั คำวา่ปรยิ ตั ธิ รรม ปฏิบตั ธิ รรม และปฏิเวธธรรม โดยท้ังสามคำนเี้ ป็นขัน้ ตอนในการศกึ ษาธรรมะ การนำธรรมะไปปฏิบัติและผลของการปฏิบัตธิ รรม นัน่ เอง ปริยัติธรรม คือ c จิตตวิเวก ความสงบสงัดทางจิต คือสงบจิตใจจากการเล่าเรียนศึกษาธรรมะ นิวรณ์ท้งั หลาย สงบสงัดจากกามฉนั ท์ คอื ความติดใน รปู เสียงใหร้ ถู้ งึ สมมตุ ิ บญั ญตั ิกลา่ ว กลน่ิ รส โผฏฐพั พะ สงิ่ ทน่ี า่ ใครน่ า่ ปรารถนานา่ พอใจทงั้ หลาย แลว้ ก็คอื ชอื่ ทเี่ รยี กสำหรบั พดู ให้ สงบสงัดจากพยาบาท คือความกระทบกระท่ัง ขึ้งเคียดโกรธแค้นรกู้ นั เชน่ โบสถ์บรเิ วณโบสถ์ ขัดเคือง ม่งุ ปองร้าย สงบสงดั จากถนี มทิ ธะความงว่ งงนุ เคลบิ เคลิ้มตน้ ไม้ตา่ งๆ ฯลฯ โดยเป็น สงบสงดั จากความฟงุ้ ซา่ นรำคาญใจ สงบสงดั จากความเคลอื บแคลงช่ือท่ีแต่งต้ังขึ้นมาร่วมกัน สงสัยทงั้ หลาย เม่อื จิตใจไดค้ วามสงบสงัดดงั นี้ ก็เปน็ จติ ตวเิ วก ใหท้ กุ คนรบั รรู้ ว่ มกนั เรยี ก รว่ มกนั แมบ้ คุ คลเรานเี้ อง c อปุ ธวิ เิ วก ความสงบสงดั จากกเิ ลสทร่ี บกวนจติ ใจ เมอ่ื ก็เป็นสมมุติบัญญัติ เช่น กล่าวโดยส่วนรวม ก็คือสงบสงัดจากโลภโกรธหลง หรือราคะ ช่ือสำหรับเรียกว่าคนนั้น ความติดใจยินดี โทสะความขัดเคืองประทุษร้ายใจตัวเอง โมหะชื่อนั้น คนน้ชี ือ่ นี้ เม่อื มีสมมุติบญั ญตั นิ ้ี ทกุ คนจงึ ตอ้ งเรียน ไมว่ า่ ความหลง สงบสงัดจากตัณหาความด้ินรนทะยานอยากไปต่างๆจากการฟงั การเหน็ ดว้ ยตา การจำไดห้ มายรู้ ซง่ึ เราทกุ คนกไ็ ดเ้ รยี นกนั ด้นิ รนทะยานอยากไปในกามบ้าง ในภพความเปน็ นัน่ เปน็ นบ่ี ้าง ในมาต้ังแต่เกิดขึ้นมา พอรู้เดียงสา พ่อแม่ก็ได้ทำการสอนให้รู้สิ่งนั้น วภิ พความไม่เป็นนัน่ เปน็ นบ่ี ้างรู้ส่ิงน้ี จะเรียกส่ิงนั้น ส่ิงน้ียังไง สำหรับคำสอนของพระพุทธเจ้าก็ต้องเรียน คือ เรยี นให้รู้จกั สมมุติบญั ญตั ิทเ่ี ป็นภาษาธรรมะ เช่นคำวา่ จติ ตภาวนา ศลี สมาธิ ปญั ญา ขนั ธ์ ๕ นามรปู สมถะ วปิ สั สนาฯลฯ ฉะนั้นเวลาเราฟังธรรมะ เราจึงจะสามารถเข้าใจว่าคำที่ใช้ในธรรมะน้ันหมายถึงอะไร และสามารถพูดคุยในเร่ืองของธรรมะได้รู้เรื่อง และสามารถนำมาปฏิบัติตามได้ ดังนั้นในข้ันตอนของการปรยิ ตั ธิ รรมนี้ กข็ น้ึ อยกู่ บั วา่ ใครมคี วามสามารถแสวงหาไดม้ ากเทา่ ใดสามารถจดจำไดม้ ากเทา่ ใด ปฏิบตั ธิ รรม คอื การนำธรรมะมาปฏิบัติ และมจี ิตเพง่ พินจิอยู่ในธรรมเสมอๆ ซ่ึงเป็นการใช้เวลาท่ีผ่านไปๆ ให้เป็นประโยชน์การที่เราจะสามารถปฏิบัติธรรมได้ เราก็จะต้องมีการปริยัติธรรมมากอ่ น ยง่ิ เราเรยี นรมู้ ากกจ็ ะสง่ ผลตอ่ การปฏบิ ตั ธิ รรมของเราไปดว้ ยแต่ส่ิงท่ีสำคัญก็คือ เราต้องนำธรรมะท่ีได้ศึกษาแล้วไปปฏิบัติด้วย ในขน้ั ตอนของ การปฏบิ ตั ธิ รรม นนั้ เบอ้ื งตน้ จะสามารถทำได้มฉิ ะนน้ั กจ็ ะไดเ้ พยี งแตร่ เู้ ฉยๆ ไมก่ อ่ ใหเ้ กดิ ประโยชน์ใดๆ เลย ขนั้ ตอน ยาก เพราะว่าตามปกตขิ องจิตน้นั จะพยายามด้นิ รนกระสับกระส่ายของการปฏิบัติธรรมก็ข้ึนอยู่กับว่าใครมีความสามารถในการปฏิบัติ ไปในอารมณ์ ที่ยึดถือไว้ต่างๆ ที่เก็บไว้ต่างๆ และบางทีก็มีความไดเ้ พียงไร ยึดถืออยู่ในส่ิงนั้นบ้างในสิ่งน้ีบ้าง น้อยบ้างมากบ้าง เป็นปกติ แต่ หากวา่ เราอาศยั อาตาปะ ความเพยี ร คอื ตง้ั ความพากเพยี รพยายาม ปฏิเวธธรรม คือ ผลที่ได้ตามการปฏิบัติ ก็หมายถึงการ สัมปชานะ หรอื สัมปชญั ญะความร้ตู ัว สติ ความกำหนด และตั้งใจ ละยนิ ดยี นิ รา้ ย ทเ่ี กาะเกย่ี วอยู่ในอารมณน์ นั้ ๆ เปน็ ๔ ประการ กจ็ ะพงึกอ่ ใหเ้ กิดการดบั ทุกข์ โดยขออธิบายถงึ ผลของการปฏิบัติ ดังน้ี ก่อให้เกิดปฏเิ วธ คือผลของการปฏบิ ัติ และจะเร่ิมได้สุขอันเป็นเหตุ c กายวเิ วก ความสงบสงัดทางกาย มีความหมาย คอื ให้พึงปฏิบัติยิ่งๆ ข้นึ ไปความสงบทั้งทางกาย วาจา และเนือ่ งมาถงึ จติ จากภยั เวรทงั้ หลาย อ้างอิง: เทปธรรมอบรมจติ ของสมเด็จพระญาณสงั วรหรอื จากบาปอกศุ ลทจุ ริต ท้งั หลาย เช่นศีล ๕ เมือ่ ต้ังใจงดเว้นจาก สมเด็จพระสงั ฆราช สกลมหาสังฆปริณายก วัดบวรนิเวศวหิ ารความประพฤตผิ ิดศีล ๕ กเ็ ป็นการรกั ษากรรมท้ัง ทางกาย ทางวาจาและทางใจ ไม่ให้กอ่ ความเดอื ดรอ้ นท้ังแก่ตนเองและผ้อู ่ืน กา๊ ซไลน์ Gaslin e 13
กนิ เท่ียวตามแนวท่อฯ เรียบเรยี งโดย : กติ ติพล น้อยอนุสนธิกลู สวรรคข์ องคนรักเหด็ .... เจ็ดคด-โกรกอีดก ส ภ า พ อ า ก า ศ ใ น ช่ ว ง นี้ ฝ น ค่ อ น ข้ า ง ต ก ชุ ก หลายพ้นื ท่นี ้ำเริ่มมาก เหมาะอยา่ งย่งิ กบั การเขา้ ไปสัมผัส ความงามของธรรมชาตอิ ยา่ งภเู ขา – นำ้ ตก โดยฉบับนี้ ขอพากันไปเท่ียวท่ี ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและท่องเท่ียว เชิงนิเวศเจ็ดคด-โป่งก้อนเส้า จ.สระบุรี ซ่ึงอยู่ในพื้นท่ี เขตปฏบิ ัตกิ ารระบบท่อเขต 2ห ลายคนอาจจะไมเ่ คยได้ยนิ สถานท่ีเทีย่ วแหง่ นม้ี ากนกั แมว้ ่าจะหา่ งจาก ขน้ึ เขาลงหว้ ย ขน้ึ ทางชนั ปนี ผา่ นปา่ ไผ่ กวา่ จะถงึ กเ็ หนอ่ื ยเอาการ ดงั นน้ักรงุ เทพฯ เพยี ง 150 กิโลเมตรเท่านั้น ศนู ย์ศกึ ษาธรรมชาติฯเจ็ดคด-โปง่ ก้อนเส้าน่ี หากคดิ จะไปควรเตรยี มความพรอ้ มของร่างกายด้วยเรม่ิ เปิดให้ท่องเทีย่ วเชิงนิเวศอย่างเปน็ ทางการเมือ่ ปี พ.ศ.2543 ซ่งึ ภายในมแี หลง่ การเดนิ ทาง จากกรงุ เทพฯ ม่งุ หนา้ อำเภอแกง่ คอย จ.สระบุรีทอ่ งเทยี่ วหลกั ๆไดแ้ ก่ นำ้ ตกเจด็ คด อา่ งเกบ็ นำ้ ซบั ปา่ วา่ น และ นำ้ ตกโกรกอดี ก โดย พอถึงหลักกโิ ลเมตรท่ี 126-127 ให้กลบั รถ จากนนั้ เลี้ยวซา้ ยตามปา้ ยสถานทแี่ หง่ นค้ี น้ พบโดย คณุ ปองพล อดเิ รกสาร สมยั เมอ่ื ครงั้ ดำรงตำแหนง่ รฐั มนตรี บอกทาง โดยขบั รถไปประมาณ 21.8 กโิ ลเมตรว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สำหรบั ผม หลายครง้ั ทพี่ อรสู้ กึ วา่ ชวี ติ ในเมอื งมนั วนุ่ วาย ผมมกั จะ สำหรบั คนชอบเท่ียวและคนชอบถา่ ยรูปหลายคน ผมว่าไม่นา่ พลาดกบั การ เลอื กกลบั ไปฟงั เสยี งธรรมชาตใิ หใ้ จเยน็ ขนึ้ ทง้ิ ฟกู ทง้ิ อาหารฟาสฟดู๊ และบกุ ป่าฝ่าดงเข้าไปเก็บบรรยากาศและภาพเด็ดๆ เช่น ภาพน้ำตก ภาพความชมุ่ ชน่ื สงั คมคนเมอื งมาใชช้ วี ติ แบบชา้ ๆ นอนเตน้ ท์ ทำกบั ขา้ วกนิ เองและอยกู่ บัของธรรมชาติ และทไี่ มค่ วรพลาดดว้ ยประการทงั้ ปวงคอื ภาพเหด็ ตา่ งๆ ทหี่ าไมไ่ ดง้ า่ ยๆ ธรรมชาติ ซึ่งผมพบว่ามนั เป็นวธิ ที ่ที ำให้จงั หวะชวี ติ เดนิ ชา้ ลงไดจ้ ริงนักในระยะ 150 กิโลเมตรจากกรงุ เทพฯ โดยเห็ดทมี่ กั พบบริเวณนี้ไดแ้ ก่a เห็ดถ้วยแชมเปญสชี มพู ชวนชิมริมทาง ลกั ษณะดอกเหด็ เปน็ รปู ทรงกรวย(คลา้ ยถว้ ยแชมเปญ) ดอกเหด็ มสี แี ดงหรอื หากมาถงึ แกง่ คอย เวลาสีชมพู ก้านดอกยึดติดเป็นแผ่นเดียวกับหมวกดอก ลักษณะก้านดอกเป็นรูปทรง เที่ยงๆ มองหาร้านอร่อยๆกระบอกสขี าว นขไมอา่เแจยนอเตะนช่าำวนแ“กชข่ิง้มาควริหมอทนยา”้างเวหปันร็ดนอื ี้a เห็ดถว้ ยแชมเปญขน ลักษณะดอกเห็ดโดยท่ัวไปคล้ายเห็ดถ้วยแชมเปญสีชมพูแต่แตกต่างตรงท่ี รา้ นเทพพนม เมนเู ดด็ ไดแ้ ก่ดอกเห็ดมสี ีส้ม และมขี นสีขาวขนาดยาวเตม็ ท่วั ผวิ ดอก ขา้ วหนา้ เปด็ ขา้ วหมแู ดง ฯลฯa นำ้ ตกเจ็ดคด เปน็ นำ้ ตกทป่ี ระกอบดว้ ยนำ้ ตก เจด็ คดเหนอื เจด็ คดกลาง เจด็ คดใตแ้ ละเจด็คดใหญ่ โดยการเดนิ ทางไปยงั นำ้ ตกตา่ งๆ แบง่ ออกเปน็ วงรอบ ไดแ้ ก่ รอบเลก็ (นำ้ ตก ประกาศรายชจ่อื าผกไู้กดารร้ รบั ว่ มGสiนfจtุกำVตนอoวบuนคcำh1ถe5าrมMรในาcกงวา๊Dซลั oไลnนaฉ์ldบ’บัsทมีแ่ ลลู ้วค่า 300 บาทเจด็ คดเหนอื ) ระยะทาง1.2 กโิ ลเมตร ใชเ้ วลาเดนิ ประมาณ1 ชว่ั โมง ในขณะทร่ี อบกลาง คคณุณุ จอันนทันนตา์ นเตุทมพาบกรลุ ร ทม บบรรษิิษทัทั คไทลยอ็ อกาเนซอาฮร์ีเคเพมนภี ทณั าฑพ์ลจาำสกทดั ์ จำกดั(นำ้ ตกเจด็ คดเหนอื กลาง ใต)้ ระยะทาง3 กโิ ลเมตร ใชเ้ วลาเดนิ ประมาณ2.30 ชวั่ โมง คคคุณุณุณวศธสรกั รุดอมาปุพอภรยมั ฝคู่ ภางาง นคนำ ท ์ บบบรรริษิษษิ ทััทัท ไฝสทยาลจาม์บี ทพจ้อรำปเี กสดัอิร์ฟนิ (มฟดัสหู้ดทาจชรำีนจก)ำดั กัด (มหาชน)ในขณะท่ีรอบใหญ่ (นำ้ ตกเจด็ คดเหนอื กลาง ใต้และน้ำตกเจ็ดคดใหญ่) ซง่ึ น้ำตก คคคณุณุณุ ววพสิไฒั ลันพนตร์์ เจยชนั ยี่ว่ ทมยรโสส์ชถุรตาว ินง ศ ์ บบบรรรษิษิิษทััททั วซโกนีพลชีเวอัย์ ฟจเำคผกมลัดีคิตอภลัณอฑินอ์ ดาสั หทารรสี่ จ์ จำกำกัดัดเจด็ คดใหญเ่ ปน็ นำ้ ตกทส่ี วยทส่ี ดุ ระยะทาง 4 กโิ ลเมตร ใชเ้ วลาเดนิ ประมาณ 4 ชว่ั โมง คคคณุุณุณพจกิรลังายษยาธ์ ุตรอยนุ่์อตรใจนัร ถสเกศุลร ษฐ โบบรรรงิษษิ ไฟัททั ฟบรา้ ะาพยงรอกะงอนเกพคกยีรลใวตา๊รส้ิฟาจยำเกอัดอร์ จำกดั (มหาชน)a นำ้ ตกโกรกอดี ก คคุณุณวสิสนั ทิ ตธิ อ์ิ วิงรีคะสโพัมพธิป์ันรธะ ์ สิทธ์ิ บบรริษิษทััท สรอหยโมัลเสปคออรซ์ุตสเลานหกจรำรกมัดจ(มำกหดั าช(มนห) าชน) เป็นน้ำตกท่ียังคงความเป็นธรรมชาติอยู่ค่อนข้างมาก และด้วยความสูง คคุณุณรอุ่งดุ พรชั ลรีรธาดิ ชา แกว้ ทอง บบรริษิษัททั สอยนิ าเตมอมริต์เซนุยชัน่ พแีทนเีลอ แจลำบกบดั อราทอรสี ์ จำกดัของน้ำตกกว่า 300 เมตร จงึ ได้รับการยอมรบั ว่าเป็น 1 ใน 10 ของน้ำตกสงู ใน ผไู้ ด้รบั รางวลั ทงั้ 15 ท่าน ก๊าซไลน์จะจดั สง่ ของรางวลั ใหก้ ับท่านตามท่อี ย่ทู ี่ไดแ้ จ้งไว้ภาคกลาง เหมาะสำหรบั นกั ผจญภยั ทนี่ ยิ มการทอ่ งเทย่ี วประเภทเดนิ ปา่ เพราะจะได้มีโอกาสพบเห็น เรียนรู้ ธรรมชาติ กลางปา่ ลกึ และใช้เวลาในการเดนิ ทางสูจ่ ุดสูงสุดไมน่ ้อยกว่า 4 ชม. สภาพเสน้ ทางเดนิ ปา่ เป็นลักษณะขนึ้ เขาเขา้ ปา่ ลกึ ไม่มเี ส้นทางเด่นชัดดังน้ันการเข้าไปเที่ยวชมน้ำตก ควรติดต่อเจา้ หนา้ ทท่ี ศ่ี นู ยฯ์ เจด็ คดใหน้ ำทางเขา้ ไปเพอ่ื ความปลอดภยั สภาพเสน้ ทาง ตอ้ งผา่ นปา่ ผา่ นลำธารหลายจดุ และตอ้ งเดนิคำถามร่วมสนกุ กับก๊าซไลน์คำถาม : ระบบ ISO27001 หรอื ISO/IEC 27001:2005 เปน็ มาตรฐานเกย่ี วกับอะไรคำตอบ : ....................................................................................................................................................................ช่ือ-นามสกลุ -ผู้สง่ ..........................................................................บรษิ ัท.......................................................................ทีอ่ ยทู่ ี่จดั สง่ ...................................................................................โทรศัพท.์ ..........................อเี มล์.................................. กรณุ าสง่ คำตอบตามชิน้ ส่วนนม้ี าท่ีโทรสารหมายเลข 0 2537 3257 หรือ 0 2537 3289 ภายในวนั ท่ี 31 สิงหาคม 2554 โดยกา๊ ซไลน์จะทำการ จับรางวัล บัตรเตมิ นำ้ มนั ปม๊ั ปตท. มลู ค่า 500 บาท จำนวน 10 รางวลั ให้กบั ผู้โชคดแี ละจดั สง่ ใหต้ ามท่อี ยู่ทีจ่ ดั สง่14 กา๊ ซไลน์ Gaslin e
พนั ธเ์ ทพ นิยะโมสถ บรกิ ารลกู ค้า สว่ นแผนกลยทุ ธ์ทอ่ จัดจำหน่ายกา๊ ซฯกา๊ ซธรรมชาตไิ ทย ปัจจบุ นั สู่อนาคต ตอนที่ 2 ฉบบั ทแี่ ลว้ ไดก้ ลา่ วถงึ การจดั หากา๊ ซฯ สดั สว่ นการใชก้ า๊ ซฯ และนโยบายราคากา๊ ซฯของประเทศไทย ซง่ึ จะเหน็ วา่ การจดั หาและจำหนา่ ยกา๊ ซธรรมชาตไิ ดร้ บั การขบั เคลอ่ื นจากความตอ้ งการผลติ กระแสไฟฟา้ เปน็ สำคญั หรอื จะกลา่ ววา่ ธรุ กจิ กา๊ ซธรรมชาตเิ กดิ ขนึ้ ได้เพราะความตอ้ งการผลิตไฟฟ้าของประเทศก็ไมผ่ ิด ปจั จบุ ันมีการใชก้ า๊ ซธรรมชาติถงึ ประมาณรอ้ ยละ 60 เพอ่ื การผลิตกระแสไฟฟ้า โครงข่ายระบบสง่ กา๊ ซธรรมชาตหิ รือท่อหลักจะขยายได้กต็ ้องมโี รงไฟฟ้าขนาดใหญร่ องรับในพนื้ ทีท่ ีจ่ ะสร้างระบบทอ่ ส่งก๊าซฯ โครงขา่ ยระบบจดั จำหนา่ ยกา๊ ซธรรมชาติ หรอื ทอ่ ยอ่ ยสำหรบั ลกู คา้ ภาค แตกต่างกัน ไม่สามารถนำราคาก๊าซธรรมชาติของประเทศหนึ่งมาอ้างอิงหรืออตุ สาหกรรมกจ็ ำเปน็ ตอ้ งอาศยั ระบบทอ่ สง่ กา๊ ซฯหลกั เปน็ ตวั นำอกี ทอดหนง่ึ กา๊ ซ เปรียบเทียบกับอีกประเทศหน่ึงได้ ปัจจัยท่ีทำให้ราคาก๊าซธรรมชาติของแต่ละธรรมชาติจะเข้าถึงโรงงานอุตสาหกรรมได้เฉพาะโรงงานที่ตั้งอยู่ในพื้นท่ีท่ีไม่ ประเทศแตกต่างกนั มหี ลายปัจจยั ทีส่ ำคัญได้แก่หา่ งไกลแนวทอ่ สง่ กา๊ ซฯหลกั มากนกั ทง้ั นี้ ขน้ึ อยกู่ บั ความเปน็ ไปไดท้ างเทคนคิ และ l ปรมิ าณสำรองกา๊ ซธรรมชาตขิ องประเทศนนั้ มากหรอื นอ้ ย เปน็ ผสู้ ง่ ออกความคมุ้ คา่ ทางเศรษฐศาสตร์ ซงึ่ ปจั จยั สำคญั สำหรบั ความคมุ้ คา่ เชงิ เศรษฐศาสตร์ หรือนำเข้าได้แก่ ราคาจำหน่ายก๊าซฯและปริมาณการใช้ก๊าซฯของลูกค้าหรือกลุ่มลูกค้าใน l ความต้องการใช้ก๊าซฯของประเทศนั้นซึ่งขึ้นอยู่กับโครงสร้างทางพน้ื ท่นี ัน้ ๆ เม่ือเทยี บกับมูลคา่ การลงทนุ ขยายโครงขา่ ยทอ่ ยอ่ ยไปในพื้นท่ี เศรษฐกจิ สังคม ว่าเป็นประเทศอุตสาหกรรมหรือเกษตรกรรม จำนวน นอกจากความเป็นไปได้ทางเทคนคิ และทางเศรษฐศาสตร์แลว้ การขยาย ประชากร ภมู อิ ากาศ(เขตหนาว เขตรอ้ นมคี วามจำเปน็ ในการใชก้ า๊ ซฯโครงขา่ ยท่อจัดจำหน่ายกา๊ ซฯยงั ตอ้ งปฏิบตั ิตามกฎหมายตา่ งๆ เพิม่ มากขึ้นกว่า ตา่ งกนั )แต่ก่อน ไม่ว่าจะเปน็ เร่อื งของการได้รับการยนิ ยอมจากชมุ ชนอนุมัติ EIA ฯลฯ l นโยบายราคาของประเทศนนั้ บางประเทศควบคมุ ราคา(subsidy) บางทำใหก้ ารขยายโครงข่ายท่อจัดจำหนา่ ยกา๊ ซฯไปสู่ลูกค้าอตุ สาหกรรม ทำได้ยาก ประเทศใช้ราคาตามกลไกตลาดขน้ึ และใช้เวลายาวนานขึน้ l ปัจจัยอนื่ ๆ เช่น การให้ความสำคัญด้านสิ่งแวดล้อม จากภาพใหญเ่ ราไดเ้ หน็ แลว้ วา่ ประเทศไทยเปน็ ประเทศทม่ี กี า๊ ซธรรมชาติ สำหรบั ประเทศไทยซง่ึ เปน็ ประเทศทม่ี ปี รมิ าณสำรองกา๊ ซฯในประเทศไมพ่ อไมพ่ อตอ่ ความต้องการ จำเป็นต้องจดั หามาเพมิ่ ด้วยการนำเข้า การจัดหาก๊าซฯ ตอ่ ความตอ้ งการและตอ้ งนำเขา้ กา๊ ซธรรมชาตกิ จ็ ะมรี าคากา๊ ซธรรมชาตทิ ส่ี งู กวา่ถูกผลักดันด้วยความต้องการใช้ไฟฟ้า ระบบท่อส่งก๊าซฯหลักตอบสนองท่ีตั้ง ประเทศทมี่ ปี รมิ าณสำรองกา๊ ซฯสงู กวา่ เชน่ ประเทศมาเลเซยี และ อนิ โดนเี ซยี ซงึ่โรงไฟฟา้ ขนาดใหญ่ ระบบทอ่ จดั จำหนา่ ยกา๊ ซฯหรอื ระบบทอ่ ยอ่ ย ตอ้ งอาศยั ระบบ ควบคมุ ราคากา๊ ซฯในประเทศ(subsidyprice) โดยมรี าคากา๊ ซฯในประเทศเฉลย่ี เพยี งท่อหลักเป็นตัวนำ ลำดับความสำคัญแรกสำหรับการจัดหาก๊าซธรรมชาติก็เพื่อ 4-6US$ ตอ่ ลา้ นบที ยี ู ในขณะทที่ งั้ สองประเทศนส้ี ง่ ออกกา๊ ซธรรมชาติในรปู LNGตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการใชไ้ ฟฟา้ ของประเทศ ราคาจำหนา่ ยกา๊ ซฯสำหรบั ลกู คา้ ใหญ้ ปี่ นุ่ เกาหลี หรอื สง่ ทางทอ่ ใหส้ งิ คโปร์ ในราคาองิ กบั ราคานำ้ มนั ในตลาดโลก หากภาคอุตสาหกรรมท่ีกำหนดราคาให้แข่งขันกับเช้ือเพลิงทดแทนตามกลไกตลาด จะเปรยี บเทยี บประเทศไทยกบั ประเทศทนี่ ำเขา้ กา๊ ซธรรมชาตใิ นภมู ภิ าคเดยี วกนั ก็จงึ เป็นความเหมาะสมสำหรับประเทศไทย ดว้ ยเหตุผลว่า มีประเทศสงิ คโปร์ ซง่ึ มรี าคาก๊าซฯประมาณ 12-13 US$ ต่อล้านบที ียู ซ่ึงไมไ่ ด้ประเทศlไท ยก๊าเปซ็นธปรรรมะเชทาศตทิเป่ีข็นาดเชแ้อืคเลพนลกงิ ทา๊ ซางธเรลรือมกชสาำตหริ (บั จโึงรตงงอ้ างนนอำตุ เสขาา้ ห) กรรม คอื ตำ่ กวา่ ประเทศไทย ในสว่ นของประเทศมาเลเซยี และอนิ โดนเี ซยี กเ็ รม่ิ ตระหนกั ถงึ ผลเสยี ของ หากไม่ใช้ก๊าซธรรมชาติโรงงานสามารถใช้เชื้อเพลิงอ่ืนไม่ว่าจะเป็น การควบคมุ ราคากา๊ ซธรรมชาตใิ นประเทศแลว้ โดยเฉพาะมาเลเซยี รฐั บาลมนี โยบาย l ถกา่ารนใหชนิก้ า๊ นซ้ำฯมเพันอ่ืเตเปาน็ หเชรอือ้ื เLพPลGงิ ในภาคอตุ สาหกรรมเปน็ การใชก้ า๊ ซฯทม่ี ี ชดั เจนทจ่ี ะลดการสนบั สนนุ ราคากา๊ ซธรรมชาตลิ งเปน็ ลำดบั และตงั้ เปา้ หมายทจ่ี ะ ไมส่ นบั สนนุ ราคาโดยสนิ้ เชิงภายในระยะเวลาท่ีแน่นอน l ลปกูรคะสา้ อิทตุธสภิ าาหพกตร่ำรกมวใชา่ ก้กา๊าซรใฯชตก้ อ่ า๊รซายฯเเปพน็ อ่ื ปกรามิ ราผณลนติ อไ้ ฟยเฟม้าอ่ื ใเนทลยี กับษกณบั โะรงCไฟHฟPา้ เม่ือเทียบกับประเทศในภูมิภาคเดียวกันราคาก๊าซธรรมชาติ จำหน่ายใน ภาคอุตสาหกรรมของไทยใกล้เคียงกับประเทศนำเข้าก๊าซธรรมชาติแต่สูงกว่า l กแลลไะกไมต่สลาามดเาปรน็ถยกนืลไยกนั ทปห่ี ราิมจาดุ ณสซมอ้ืดขลุ น้ั (Eตq่ำuในiliรbะrยiuะmย)าวในไดเช้ (งิNเศoรnษ-Fฐiศrmาส)ตร์ ประเทศท่ีมตี น้ ทุนต่ำและส่งออกก๊าซธรรมชาติ ระหวา่ งผซู้ อื้ และผขู้ าย ไมส่ รา้ งภาระใหภ้ าครฐั หรอื ฝา่ ยอน่ื ใด เปน็ กลไก ทีผ่ ลกั ดนั ให้ผูซ้ ื้อใช้ก๊าซฯอยา่ งประหยัดและมปี ระสทิ ธภิ าพ USD/MMBTU ผน�ู ำเขา� กา� ซฯ ประเทศ นโยบายกำหนดราคา 14 มาเลเซีย รฐั ควบคุมราคา และสนบั สนุน เงินทนุ ให�ก�าซฯในประเทศ มี ปจั จบุ นั ปตท. กำหนดสตู รราคาจำหนา่ ยกา๊ ซฯสำหรบั ลกู คา้ อตุ สาหกรรม 12 ราคาต่ำให้แข่งขันได้กับน้ำมันเตา ซึ่งโดยทั่วไปลูกค้าที่ได้ใช้ก๊าซธรรมชาติจะประหยัด 10 รัฐบาลมไิ ดค� วบคมุ หรอื อดุ หนนุตน้ ทุนเชอ้ื เพลงิ เมือ่ เทียบกบั การใช้น้ำมนั เตา และ/หรือ LPG 8 ผสู� �งออกก�าซฯ Asscciated อินโดนเี ซีย ราคาก�าซฯ แต�ก็มิไดม� นี โยบาย 6 gas จูงใจใหใ� ชก� �าซฯ ในประเทศ 4 ราคาขึ้นอยกู� บั การเจรจาต�อรอง 2 เนือ่ งจากเปน� ผลพลอยได�จาก ราคากา๊ ซฯสำหรับภาคอุตสาหกรรมของไทยและราคาก๊าซฯ 0 ไทย เวยี ดนาม การผลติ นำ้ มนั ของต่างประเทศ สิงค�โปร� ราคาขึน้ อย�กู ับการนำเขา� กา� ซฯ มาเลเซีย อินโดนเี ซยี เวียดนาม สิงค�โปร� มกี ระแสจากบรษิ ทั ตา่ งประเทศทม่ี โี รงงานหลายแหง่ นอกจากประเทศไทย ท่มี า : Wood Mcklnsey ราคาแข�งขนั กับเชื้อเพลงิวา่ ราคากา๊ ซธรรมชาตขิ องประเทศไทยมรี าคาสงู สดุ ในอาเซยี น และบางรายอา้ งไปถงึ วา่ ราคากา๊ ซฯ ของไทย ทำให้ความน่าลงทนุ ของประเทศลดลง ไทย ทางเลือก ไดแ� ก� ราคาน้ำมนั เป็นท่ีทราบกนั ดีในเรอื่ งปจั จัยความสามารถในการแขง่ ขนั (ในเชงิ การคา้ เตาการลงทนุ ) ของประเทศ ข้ึนอย่กู บั ปัจจัยหลายอย่าง ตง้ั แต่ ความมีเสถียรภาพทางการเมือง ความรู้ความสามารถของคน ราคาและคุณภาพของแรงงาน **ข้อมูล ณ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2553ภาษี (Taxes Regime) โครงสร้างพ้ืนฐาน (Infra-structures) กฎหมายต่างๆ หากจะดรู าคากา๊ ซธรรมชาตใิ นประเทศใหญๆ่ เชน่ สหรฐั อเมรกิ าหรอื ประเทศจนีภูมิยุทธศาสตร์ ฯลฯ ราคาพลังงานอาจเป็นเพียงปัจจัยหน่ึงท่ีสนับสนุน หลาย กจ็ ะเหน็ วา่ กา๊ ซธรรมชาตมิ รี าคาแตกตา่ งกนั แมแ้ ตใ่ นประเทศเดยี วกนั กม็ รี าคากา๊ ซประเทศทต่ี ดิ อนั ดบั ความนา่ ลงทนุ สงู กวา่ ประเทศไทย ไมม่ แี หลง่ พลงั งานของตนเอง ธรรมชาติทตี่ ่างกนั ในแต่ละภมู ภิ าค เช่นสหรฐั อเมรกิ า เปน็ ประเทศทม่ี ีราคากา๊ ซมากนกั หรอื มรี าคาพลงั งานตามกลไกตลาด เชน่ ประเทศสงิ คโปร์ หรอื ฮอ่ งกง ธรรมชาตติ ำ่ กวา่ ราคากา๊ ซธรรมชาตใิ นภมู ภิ าคเอเชยี และยโุ รป เนอ่ื งจากสหรฐั อเมรกิ า ไดค้ น้ พบกา๊ ซธรรมชาตปิ รมิ าณมากในชนั้ หนิ (ShaleGas) แมก้ ระนน้ั ราคาในแตล่ ะ ในเรอ่ื งราคากา๊ ซธรรมชาติ กข็ อเรยี นทำความเขา้ ใจวา่ กา๊ ซธรรมชาตเิ ปน็ มลรัฐของประเทศก็ยังต่างกัน ตง้ั แต่ 4.5 US$ ไปจนถงึ 16 US$ ตอ่ ล้านบที ยี ูเช้ือเพลิงที่ต่างจากน้ำมันท่ีเป็นสินค้าโภคภัณฑ์ (Commodity) ในระดับสากล (ในสหรฐั อเมรกิ ามกี ารแยกกลมุ่ ลกู คา้ ออกเปน็ ลกู คา้ โรงไฟฟา้ ลกู คา้ โรงงานอตุ สาหกรรมราคาน้ำมันสามารถอ้างอิงจากแหล่งตลาดท่ีแน่นอน เช่น Dubai หรือ Brent ลกู คา้ พาณชิ ยกรรม และลกู คา้ ผอู้ ยอู่ าศยั (residential) ซงึ่ ลกู คา้ แตล่ ะประเภทกม็ ีเน่ืองจากน้ำมันเป็นสินค้าที่ใช้กันท่ัวโลก ในขณะท่ีก๊าซธรรมชาติจะมีใช้ในบาง ราคาไมเ่ ทา่ กนั ) เชน่ เดยี วกบั ประเทศจนี ซง่ึ เปน็ ประเทศทม่ี แี หลง่ กา๊ ซฯในประเทศประเทศเทา่ นนั้ ราคากา๊ ซธรรมชาติในแตล่ ะประเทศ หรอื แตล่ ะภมู ภิ าคจะมรี าคา และนำเขา้ กา๊ ซธรรมชาตดิ ว้ ย ราคากา๊ ซฯในแตล่ ะมณฑลกแ็ ตกตา่ งกนั เชน่ เดยี วกนั กา๊ ซธรรมชาตจิ งึ เปน็ สนิ คา้ ทม่ี รี าคาเฉพาะมตี ลาดเฉพาะในแตล่ ะประเทศ ซ่ึงไม่ควรนำมาเปรียบเทียบกนั ในเชิงการแข่งขันของแตล่ ะประเทศ กา๊ ซไลน์ Gaslin e 15
ถามมา-ตอบไป กติ ตพิ งษ์ อนุรตั นานนท์ หนว่ ยวดั และควบคุมปริมาณกา๊ ซฯQuestion & Answer ถามมา-ตอบไปฉบบั น้ี ขอไขขอ้ ขอ้ งใจของลกู คา้ กา๊ ซฯในเรอ่ื งการคดิ คำนวณปรมิ าณกา๊ ซฯลกู คา้ อตุ สาหกรรม ซง่ึ สามารถอธิบายไดถ้ งึ ขั้นตอนในการคดิ คำนวณไดด้ ังนี้AQ :: ในการคำนวณปริมาณสำหรบั อตุ สาหกรรมมีวิธีการคิดคำนวณปริมาณการใชอ้ ย่างไร ในการคิดคำนวณ ซ่ึง การวัดซ้ือขายและคำนวณปริมาณก๊าซฯของลูกค้าอุตสาหกรรม จะใช้หน่วยพลังงานของก๊าซฯ (MMBTU)ขั้นตอนปฏิบัติงานเพื่อให้สามารถและคำนวณปรมิ าณก๊าซฯออกมาเป็นพลงั งานของก๊าซฯ เริ่มจาก ขนั้ ตอนท่ี 1 ข้นั ตอนที่ 2 การคำนวณปริมาณก๊าซฯไปที่ ขอ้ มลู ปรมิ าณกา๊ ซฯ จากโรงงานจะถกู ส่งมายงั หน่วยวดั และควบคุมปริมาณก๊าซ ได้ 2 ลักษณะสภาวะมาตรฐาน (Standard Volume) 2.1 ใบบนั ทกึ ปรมิ าณกา๊ ซฯ โดยพนกั งานเขตปฏบิ ตั กิ ารระบบทอ่ สง่ กา๊ ซฯจะเขา้ ไป จดบนั ทกึทำการคำนวณโดย Electronic Volume ค่าที่สำคญั จาก EVC ได้แก่ค่า Line Volume (M3), Corrected Volume (SCM), และจาก TurbineCorrector(EVC) ซงึ่ จะคำนวณโดยการ Meter (Turbine Volume, M3) จากนนั้ พนกั งานเขตปฏบิ ัตกิ ารระบบทอ่ ส่งก๊าซฯ จะนำใบบนั ทึกปรับคา่ Actual Volume จากTurbine ปริมาณก๊าซฯสง่ ใหห้ น่วยงานวัดและควบคมุ ปริมาณกา๊ ซMeter, Pressure, Temperatureจากอุปกรณ์เครื่องมือวัดและค่า SG, Human : ส่งใบแจ้งปริมาณการใชก้ ๊าซฯจากเขตปฏบิ ัตกิ ารมาท่ีหนว่ ยวดั และควบคุมปรมิ าณก๊าซโดยทางรถยนต์CO2, N2 ซึ่งมาจากการป้อนค่าในทกุ เดือน 2.2 ระบบ AMR โดยขอ้ มูลปริมาณก๊าซฯ Line Volume และ Corrected Volume จาก การคำนวณปริมาณก๊าซฯของ EVC จะถกู สง่ มาเกบ็ ทฐี่ านขอ้ มลู ของAMRServer ซง่ึ หนว่ ยวดั และควบคมุ ปรมิ าณกา๊ ซ สามารถEVC ทำตามคำนวณตามมาตรฐาน ตรวจสอบขอ้ มูลได้ทกุ วนั ผา่ นทาง Web Page ของ ปตท.AGA.7 ปี ค.ศ. 1996 สำหรบั คา่ การยุบตัวของก๊าซฯ Zb, Zf นั้นใช้การ AMR : Automatic Meter Reading : ระบบส่งปริมาณการใช้กา๊ ซฯ จาก Electronic Volume Corrector (EVC)คำนวณตามมาตรฐาน AGA.8 ปี ค.ศ. ผ่านเครือข่ายการสื่อสารไรส้ ายมายงั ฐานขอ้ มลู ระบบ AMR1994 หรอื AGA. NX-19 การซ้ือขายก๊าซฯจะซือ้ ขายกันทีส่ ภาวะ Standard การสื่อสารไรส้ ายCondition ที่Temp=600F,Pressure= 14.73 Psia ข้นั ตอนที่ 3การคำนวณปริมาณก๊าซฯ หน่วยวัดและควบคุมปริมาณก๊าซ นำข้อมูล Corrected Volume (SCM) จากใบบันทึกปริมาณก๊าซฯ หรือข้อมูลจากระบบ AMRมาทำการคำนวณปริมาณการใช้ก๊าซฯของลูกค้า เป็นค่าพลังงานของก๊าซฯ (MMBTU) โดยป้อนข้อมูลเข้าระบบ NG-BILLING จากนั้นProgram ในระบบ NG-BILLING จะแปลงค่าจากสภาวะมาตรฐานไปเป็นสภาวะท่อี ิม่ ตัวดว้ ยไอน้ำ Saturated Standard Cubic Foot (SCF)และคำนวณเป็นค่าพลังงานของก๊าซฯ (MMBTU) โดยคณู กับ Gross Heating Value (Sat) ที่ไดจ้ ากการวิเคราะห์โดย QC LAB และสง่Statement ไปยงั ส่วนบริการลูกค้ากา๊ ซฯ เพอ่ื เรยี กเกบ็ เงนิ กับลกู ค้าตอ่ ไป QC LAB - Gross Heating Value (Sat) - H2O ขอ้ มลู ปรมิ าณก๊าซฯจาก EVC NG BILLING SYSTEM BILLING - ใบบันทึกปริมาณก๊าซฯ STATEMENT - AMR16 ก๊าซไลน์ Gaslin e
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: