Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 4 คาดการณ์เทคโนโลยีในอนาคต

บทที่ 4 คาดการณ์เทคโนโลยีในอนาคต

Published by Komvech Dangprapai, 2021-05-22 07:23:25

Description: บทที่ 4 คาดการณ์เทคโนโลยีในอนาคต

Search

Read the Text Version

Chapter 4 คาดการณเ์ ทคโนโลยใี นอนาคต

หวั ข้อการบรรยาย 01 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยแี ละการ เลือกใช้เทคโนโลยี 02 การคาดการณ์เทคโนโลยีในอนาคต

จดุ ประสงคบ์ ทเรยี น 01 เลือกใชเ้ ทคโนโลยี โดยคานงึ ถงึ ผลกระทบท่ี เกดิ ขึ้นตอ่ ชีวิต สงั คมและสง่ิ แวดลอ้ ม 02 คาดการณแ์ นวโน้มเทคโนโลยใี นอนาคต

การนาไปใช้ เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาอย่าง ต่อเนื่อง ซึ่งส่งผลกระทบทั้งทางด้านบวกและ ด้านลบต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม จึงต้อง ติดตามความก้าวหน้าและรู้ทันเทคโนโลยี เพื่อให้สามารถคาดการณ์แนวโน้มเทคโนโลยี ในอนาคตและสามารถเลือกใช้เทคโนโลยีได้ เหมาะสมกบั สถานการณ์

ทบทวนความรกู้ อ่ นเรยี น ❑ เทคโนโลยีเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างหรือพัฒนาขึ้น อาจ เปน็ ได้ทง้ั ชิน้ งานและวิธีการ ❑ เพื่อใช้แก้ปัญหา สนองความต้องการ หรือ เพิ่ม ความสามารถในการทางานของมนษุ ย์ ❑ เนื่องจากความต้องการของมนุษย์มีการเปลี่ยนแปลง อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลง ด้วยเชน่ กนั

การเปลย่ี นแปลงและการเลอื กใชเ้ ทคโนโลยี

การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยแี ละการเลอื กใชเ้ ทคโนโลยี ❑ เทคโนโลยมี กี ารเปล่ียนแปลงและพัฒนาอย่างตอ่ เนือ่ ง ➢ การเปลีย่ นแปลงรูปรา่ ง รูปทรง กลไกการทางาน ➢ วิธีการใช้งาน วัสดุ และวธิ กี ารผลิต ❑ สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงหรือพัฒนาเกดิ จากปัจจัย เช่น ➢ ปญั หาและความต้องการ ➢ ความกา้ วหน้าของศาสตร์ต่าง ๆ ➢ สภาพเศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรม และส่งิ แวดล้อม ❑ การเลือกใช้หรอื พฒั นาเทคโนโลยตี ้องคานงึ ถึง ➢ ผลกระทบด้านบวกและด้านลบ ต่อชีวิต สังคม และ สิง่ แวดล้อม

การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยกี ารจดั การขยะมลู ฝอย เทกลางแจ้ง ฝังกลบอยา่ งถูกหลกั สขุ าภบิ าล ❑ การนาขยะมูลฝอยไปกาจัดโดยการเทกอง ❑ การนาขยะมาฝังกลบในบ่อขยะที่ออกแบบ รวมกันไว้กลางแจ้งในพื้นที่ว่างเปล่าเพื่อให้ และสร้างตามหลักวิชาการ เช่น ปูพื้นบ่อด้วย ขยะเน่าเปอ่ื ยตามธรรมชาติ พลาสติกกนั ซมึ การวางทอ่ ระบายแก๊ส ❑ ง่ายและไมย่ ุง่ ยาก ใช้งบประมาณน้อย ❑ งา่ ยและไมย่ งุ่ ยาก ใช้งบประมาณน้อย ❑ แก๊สมเี ทนสามารถนามาผลติ กระแสไฟฟ้าได้ ❑ เปน็ แหล่งแพร่เช้ือโรค และกลิ่นรบกวน ❑ ใช้พ้ืนทมี่ าก สกปรก ไม่เปน็ ระเบยี บ ❑ ใช้พ้นื ท่มี ากและตอ้ งห่างไกลจากชุมชน ❑ เกิดมลพษิ ทางน้า ดิน อากาศ และทศั นยี ภาพ ❑ มีค่าใช้จา่ ยในการขนส่งขยะ ❑ ใช้ดนิ กลบทบั ขยะเปน็ จานวนมาก

การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยกี ารจดั การขยะมลู ฝอย ฝงั กลบอย่างถูกหลักสขุ าภบิ าล หมักทาปยุ๋ ❑ ขยะอินทรีย์เพิ่มมากขึ้น จึงใช้ความรู้เรื่องการ ย่อยสลายสารอินทรีย์ โดยผ่านกระบวนการ หมักเป็นปยุ๋ เพ่อื ปรบั ปรุงคุณภาพดิน ❑ สรา้ งประโยชนจ์ ากขยะอินทรียโ์ ดยการผลิตปยุ๋ ❑ มกี ารคัดแยกขยะอินทรียก์ ่อนทาปุ๋ย ❑ ใชพ้ น้ื ทที่ าปุ๋ยตอ้ งห่างไกลจากชมุ ชน ป้องกันกลิ่น ❑ ต้องมีการดูแลพลกิ กลบั กองปุ๋ยหมัก

การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยกี ารจดั การขยะมลู ฝอย ฝงั กลบอย่างถูกหลักสขุ าภบิ าล เตาเผาในชมุ ชน ❑ ไมม่ พี นื้ ที่ แต่ใชค้ วามร้เู ทคโนโลยเี ผาไหม้ ❑ ไม่ก่อให้เกิดขยะตกคา้ งในชุมชน ❑ ไม่เสียคา่ ใชจ้ ่ายในการขนส่งขยะ ❑ ใชพ้ ้นื ท่ีน้อย ❑ มีการคดั แยกขยะท่นี ากลบั มาใช้ใหม่ได้ ❑ ก่อปญั หามลพิษทางอากาศ ❑ มคี า่ ใช้จา่ ยในการลงทนุ และดแู ลระบบ

การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยกี ารจดั การขยะมลู ฝอย เตาเผาในชุมชน เตาเผาเพอ่ื ผลติ พลังงาน ❑ การนาความรู้เรื่องการนาพลังงานความร้อน จากการเผาไหม้มาผลิตเป็นพลังงานไฟฟ้า ❑ ใชป้ ระโยชนจ์ ากขยะในการผลติ พลังงานไฟฟา้ ❑ ใชพ้ ้ืนท่ีน้อย ไม่มีขยะตกค้าง ❑ ก่อปัญหามลพษิ ทางอากาศ ระคายเคอื งระบบหายใจ ❑ ข้เี ถา้ ตอ้ งนาไปจากัดด้วยวธิ ฝี งั กลบ ❑ ค่าใชจ้ า่ ยในการลงทุนและดูแลสงู

การเลอื กใชเ้ ทคโนโลยีการจัดการขยะมูลฝอย ❑ ลกั ษณะของขยะมูลฝอย ➢ ขยะอนิ ทรีย์ทาปุ๋ยหมกั ➢ ขยะมูลฝอยเผาเพอื่ ผลติ พลงั งานไฟฟา้ ➢ ขยะโลหะพลาสตกิ รไี ซเคลิ ได้ ❑ สถานท่ใี นการจัดการขยะ ➢ ถ้ามีพื้นที่มากให้ใช้การฝังกลบและระวัง เรื่องกลน่ิ ➢ ถา้ ไม่มีพืน้ ทวี่ า่ งใหใ้ ช้วธิ กี ารเผา ❑ คา่ ใชจ้ ่ายในการลงทุน ➢ งบประมาณและความค้มุ ทนุ

กระบวนการทางานของโรงงานผลติ ไฟฟ้าจากขยะมลู ฝอย

คาอธิบายกระบวนการทางาน ระบบผลิตกระแสไฟฟ้า ❑ รถขนขยะ ขนขยะมลู ฝอยมาส่บู ่อเก็บขยะ ❑ เครนก้ามปทู าหนา้ ท่ตี กั และปอ้ นขยะเขา้ สชู่ ่องเตาเผาด้วยแรงโนม้ ถ่วง ❑ หม้อตม้ ไอน้า (ความรอ้ น 800-1,000 C) ใชเ้ ผาขยะแลว้ ไดพ้ ลงั งาน ความร้อน นาความรอ้ นไปต้มน้าได้ไอน้าท่มี อี ุณหภมู สิ ูง ❑ ไอน้าทมี่ ีความดนั และอุณหภมู ิสงู ❑ เครอ่ื งกาเนิดไฟฟ้าเปล่ียนพลังงานกลเปน็ พลังงานไฟฟา้ (ไอนา้ ขบั เคลอ่ื นใหก้ งั หันหมุน)

การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยกี ารบาบดั น้าเสยี ระบบบาบัดนา้ เสยี แบบบงึ ประดษิ ฐ์ ระบบบาบัดน้าเสียแบบบ่อเตมิ อากาศ ❑ สารอินทรีย์ส่วนหนึ่งจะตกตะกอนจมลงและถูกย่อย ❑ เป็นการเติมออกซิเจนให้กับน้าเสีย โดยใช้เครื่องเติม สลายโดยจุลินทรีย์ ส่วนสารอินทรีย์ที่ละลายน้าถูก อากาศ ให้เพียงพอสาหรับจุลินทรีย์สามารถนาไปใช้ จุลินทรีย์ที่เกาะติดกับพืชและชั้นหินกาจัด โดยได้รับ ยอ่ ยสลายสารอนิ ทรีย์ในนา้ ไดร้ วดเร็วกว่า ออกซเิ จนแทรกซึมจากอาการศผ่านผวิ น้าหรอื ชน้ั หนิ ❑ สามารถบาบดั นา้ เสยี จากโรงงานขนาดเลก็ ❑ ไมซ่ ับซอ้ น ❑ การดาเนินงานและบารุงรกั ษาไมย่ ุง่ ยาก ❑ พชื น้าสามารถนามาใช้ประโยชน์และเพิ่มมลู ค่าได้ ❑ ใช้ไฟฟ้าในการทางาน ❑ มคี ่าซ่อมบารงุ และดแู ลเครอื่ งเตมิ อากาศ ❑ ใชร้ ะยเวลานานในการบาบัด ❑ มปี ระสิทธภิ าพต่า ❑ ไม่สามารถรบั น้าเสยี ปริมาณมาก ๆ ได้

การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยกี ารบาบดั น้าเสยี ระบบบาบัดนา้ เสียแบบตะกอนเรง่ ระบบบาบดั นา้ เสียแบบโคแอกกูเลชัน ❑ เป็นการเติมแบคทีเรีย พร้อมกับมีการเติมอากาศ ซึ่ง ❑ การบาบัดในทุกวิธีที่กล่าวมาไม่สามารถใช้สารแขวนลอยขนาด เป็นการผสมให้น้าเสียและจุลินทรีย์ที่อยู่ในถังให้เป็น เล็ก จึงนาหลักการของกระบวนการโคแอกกูเลชันซึ่งเป็น เนื้อเดียวกัน เพื่อเร่งการย่อยสลายสารอินทรีย์และ กระบวนการประสานคอลลอยด์มาใช้ในการบาบัด โดยการเติม สารอนนิ ทรียใ์ หเ้ ร็วข้ึน สารชว่ ยให้เกดิ การตกตะกอน ❑ สามารถใช้บาบัดในโรงงานขนาดใหญไ่ ด้ ❑ สามารถบาบดั น้าเสยี จากโรงงานทม่ี ีสารแขวนลอย ❑ ใช้เวลาในการบาบดั น้าเสยี น้อยลง ขนาดเล็กและมไี ขมันหรือน้ามันละลายอยู่ ❑ การดาเนินงานและบารุงรักษามีความย่งุ ยาก ❑ มคี า่ ใช้จา่ ยในการซอ้ื สารเคมี และการใชไ้ ฟฟา้ ❑ ต้องควบคมุ สภาพแวดล้อมและลกั ษณะทางกายภาพ ❑ การดาเนนิ งานและบารุงรักษายาก ของการเตบิ โตของจลุ นิ ทรยี ์

การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยกี ารบาบดั น้าเสยี ระบบบาบดั น้าแบบแลกเปลย่ี นประจุ ❑ เป็นการบาบัดโลหะหนัก โดยอาศัยหลักการ แลกเปลี่ยนประจุระหว่างโลหะหนักในน้าเสียกับ ตัวกลางหรือเรซินแลว้ ถูกจับเรซินไว้ ❑ บาบดั นา้ เสียจากโรงงานที่มีโลหะหนัก ❑ ฟน้ื ฟสู ภาพเรซินท่เี สือ่ มสภาพให้นากลบั มาใชใ้ หม่ ❑ นาโลหะหนักท่เี ปน็ สารปนเปือ้ นมาใช้ประโยชน์ใหม่ ❑ ใชส้ ารเคมีในการฟ้นื ฟสู ภาพเรซนิ ❑ มีค่าใช้จา่ ยในการดแู ล และราคาแพง

การเลอื กใช้เทคโนโลยีการบาบดั น้าเสยี ❑ ลักษณะน้าเสีย ❑ นา้ เสียจากชมุ ชน เกษตรกรรม โรงงาน ❑ ปรมิ าณน้าเสยี ในแต่ละวนั ❑ งบประมาณในการก่อสรา้ ง ❑ งบประมาณในการดูแลรักษา ❑ พืน้ ทอี่ ยขู่ ้างเคยี ง ❑ ผลกระทบท่เี กดิ ข้นึ จาการสรา้ งและใช้ระบบ

การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยกี ารควบคุมมลพษิ ทางอากาศ เครอ่ื งแยกโดยการตกเน่ืองจากนา้ หนกั ❑ การนาความรู้เรือ่ งแรงโนม้ ถว่ งมาใชแ้ ยกอนุภาคของฝนุ่ ละอองออกจากอากาศ ❑ อากาศจะถกู ดดู ผ่านทอ่ ทม่ี ีพนื้ ทีข่ นาดเล็กเขา้ มาสพู่ ้ืนที่ขนาดใหญ่ ❑ ทาใหอ้ นภุ าคฝนุ่ มีความเร็วลดลงและตกลงสดู่ ้านล่างเคร่ือง ❑ อาการศทีไ่ ม่มีฝนุ่ จะไหลผ่านทอ่ เพือ่ ปล่อยสสู่ ง่ิ แวดลอ้ ม ❑ อปุ กรณ์ออกแบบง่าย ควบคมุ ดแู ลและบารุงรกั ษางา่ ย ❑ แยกอนุภาคขนาดใหญ่ 40-60 ไมครอน ❑ มีประสทิ ธิภาพต่า จงึ มกั ใชใ้ นการบาบดั ข้นั ตน้ กาจัดฝุ่นละอองขนาดใหญ่ ❑ มขี นาดใหญท่ าให้สิ้นเปลืองเนือ้ ที่ ❑ ไม่เหมาะกบั ฝ่นุ ที่มคี วามชืน้ และเปียก

การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยกี ารควบคมุ มลพษิ ทางอากาศ เครอ่ื งแยกดว้ ยแรงเหว่ยี ง (ไซโคลน) ❑ การนาความรูเ้ รื่องแรงหนีศูนยก์ ลาง แรงเหว่ียง ❑ โดยแรงหนีศูนย์กลางท่ีเกดิ ข้ึนจะบงั คับใหฝ้ ุน่ ละอองเคลอื่ นท่แี นบติดกบั ผนงั ไซโคลน ❑ และเกิดการหมนุ ลงไปยังส่วนปลายไซโคลนที่เรียวเลก็ ลงไปเรอื่ ย ๆ ❑ และบงั คบั ให้ฝนุ่ ละอองออกจากตัวไซโคลนท่ีดา้ นล่าง ❑ แยกอนภุ าคฝ่นุ ละอองขนาดมากกว่า 10 ไมครอน ❑ คา่ ตดิ ตงั้ และดาเนินการไมส่ ูง ❑ สามารถใช้ไดก้ บั อากาศที่มีอณุ หูมสิ งู ❑ ไม่เหมาะกบั โรงงานท่ฝี นุ่ มีความช้นื สูงหรือฝุ่นเปียก ❑ เกิดการสกึ หรอของตัวเครื่องอย่างรวดเร็ว

การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยกี ารควบคุมมลพษิ ทางอากาศ เครอื่ งแยกอนุภาคดว้ ยถงุ กรอง ❑ การนาหลกั การของการกรอง ซ่งึ แยกอนุภาคสารปนเปื้อนโดยผ่านตวั กรอง ❑ ตัวกรองทาจากถุงผ้าฝา้ ยหรอื ไฟเบอร์กลาส ใยหินหรือไนลอน ❑ แยกอนุภาคฝนุ่ ละอองขนาดเล็กถงึ 0.1 ไมครอน ❑ ใช้ควบคุมฝุ่นแห้ง ❑ ต้องการเปล่ยี นถุงกรอง ❑ อายกุ ารใช้งานของถงุ กรองอาจส้นั เนอ่ื งจากอุณหภมู สิ งู หรือความเปน็ กรดด่าง ❑ ใช้กับอากาศทมี่ คี วามช้นื สูงไม่ได้ เพราะถุงกรองจะอดุ ตัน

การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยกี ารควบคมุ มลพษิ ทางอากาศ เครอื่ งพ่นจับแบบเปยี ก ❑ นาหลักการทางานแบบสัมผสั กนั ระหวา่ งอากาศเสียและของเหลวมาใช้ดักจบั ฝุ่น ❑ และไอสารเคมี โดยการฉดี ละอองของเหลวให้เปน็ ฝอยสูอ่ ากาศเสีย ❑ โดยไอสารเคมแี ละฝ่นุ ละอองที่เปยี กจะรวมกนั เปน็ กลุ่มก้อนและตกลงดา้ นล่าง พร้อมน้าเสียจากการใช้งาน ❑ แยกแกส๊ และฝ่นุ ละอองได้ ❑ สามารถใชก้ ับอากาศเสยี ที่มอี ุณหภมู ิและความชน้ื สงู ได้ ❑ เหมาะสาหรับการควบคุมอากาศเสยี ท่เี ปน็ กรด-ดา่ ง ❑ มปี ญั หาการผกุ รอ่ นและสึกหรอของตัวเคร่ือง ❑ มีคา่ ใชจ้ า่ ยในการบาบัดนา้ เสยี

การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยกี ารควบคุมมลพษิ ทางอากาศ เครื่องตกตะกอนไฟฟา้ สถิต ❑ นาความรู้เรอ่ื งแรงทางไฟฟ้ามาใชใ้ นการแยกฝุ่นละอองขนาดเล็กออกจากอากาศ ❑ แผ่นที่ให้ประจลุ บกบั อนุภาคฝุน่ และแผน่ เกบ็ ฝนุ่ ท่มี ีประจุบวกทาหน้าที่จบั และเก็บฝ่นุ ไว้ ❑ เมอื่ ฝ่นุ หน้าประมาณ 6-12 มม. จะถูกเคาะใหฝ้ ุน่ รว่ งลงมาในท่อลาเลยี งออกจากตัวเครอื่ ง ❑ สามารถแยกฝ่นุ ที่มขี นาดเล็กกวา่ 1 ไมครอน ไดม้ ากกว่า 99% ❑ ใช้ได้กบั อากาศทมี่ ีความช้นิ และแหง้ ❑ มีการใช้ไฟฟ้าจานวนมาก ❑ คา่ ใช้จ่ายในการก่อสรา้ งระบบสูง ❑ ไมส่ ามารถใช้กบั ฝุน่ ละอองท่ีมสี มบัติติดไฟหรือระเบิดงา่ ย

มลพษิ ทางอากาศ

การเลอื กใช้เทคโนโลยีในการควบคมุ มลพษิ ทางอากาศ ❑ ปจั จยั ทต่ี ้องคานงึ ถงึ ❑ ชนิดและปริมาณของมลพษิ ทางอากาศ ❑ ลกั ษณะการเกดิ ของแหลง่ กาเนดิ อากาศเสยี ❑ ช่วงเวลาการทางาน ❑ คา่ ใชจ้ า่ ยในการลงทนุ ก่อสร้าง ❑ ผลเสียที่อาจเกิดขึ้นต่อมนุษย์ สังคม และ ส่ิงแวดล้อม

การคาดการณ์เทคโนโลยใี นอนาคต

การคาดการณ์เทคโนโลยใี นอนาคต ❑การคาดการณ์เทคโนโลยีจะต้องอยู่บนพื้นฐานข้อมูลหรือ ความรู้ทเ่ี ปน็ ไปได้ ❑ต้องคานึงถึงการเปลี่ยนแปลงของมนุษย์ สังคม เศรษฐกิจและ สิ่งแวดล้อม ❑โดยนาปัจจัยหรือสาเหตุที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงมา คาดการณ์และพัฒนาต่อยอดเทคโนโลยีที่มีอยู่เดิม หรือสร้าง ขึ้นใหม่

การคาดการณเ์ ทคโนโลยกี ารจดั การขยะมลู ฝอย ปัจจัยหรือสาเหตุที่มผี ลต่อการเปลีย่ นแปลง ความกา้ วหน้าของศาสตรต์ ่าง ๆ การเปล่ยี นแปลง แหล่งขอ้ มลู การคาดการณ์เทคโนโลยี ❑ ความรดู้ า้ นสมบตั ขิ องวัสดุ Abdulkadir Kan (2009). ❑ เทคโนโลยใี นการรไี ซเคิล เช่น การนาขวดพลาสติก ❑ การแบ่งประเภทของขยะ มาผลติ เปน็ เส้อื ผ้าและ เครอ่ื งน่งุ หม่ ❑ เทคโนโลยีในการกาจดั ขยะมูลฝอย มีมากขน้ึ

การคาดการณ์เทคโนโลยกี ารจดั การขยะมลู ฝอย ปัจจยั หรอื สาเหตุทม่ี ีผลตอ่ การเปลยี่ นแปลง การเปลี่ยนแปลง มนษุ ยและสังคม การคาดการณเ์ ทคโนโลยี ❑ มนษุ ยแ์ ละสงั คมเรม่ิ ตระหนักถงึ แหลง่ ขอ้ มูล ❑ เทคโนโลยสี มัยใหมเ่ พื่อ จานวนขยะทมี่ ีปริมาณมากขึ้นใน จดั การขยะมลู ฝอย ทกุ ๆ ปี Minister’s Secretariat, Waste Management and Recycling ❑ นาขยะมูลฝอยมาผา่ น Department (2012). กระบวนการรไี ซเคลิ เปน็ การเพิ่มมูลค่าให้กับขยะ

การคาดการณเ์ ทคโนโลยกี ารจดั การขยะมูลฝอย ปัจจัยหรือสาเหตุทม่ี ีผลต่อการเปลีย่ นแปลง การเปลี่ยนแปลง เศรษฐกิจ การคาดการณ์เทคโนโลยี แหล่งข้อมูล ❑ ในอนาคตมีความต้องการใช้ ❑ พัฒนาเทคโนโลยีในการ พลงั งานไฟฟา้ เพ่ือขับเคล่อื น กระทรวงพลงั งาน (2561). ผลิตพลังงานไฟฟา้ จาก เศรษฐกจิ เปน็ จานวนมาก ขยะมูลฝอยให้มี ประสทิ ธภิ าพมากขนึ้ ❑ ลดมลพิษท่ีเกดิ จากการ เผาขยะ

การคาดการณ์เทคโนโลยกี ารจัดการขยะมลู ฝอย ปัจจยั หรอื สาเหตทุ ม่ี ีผลต่อการเปลย่ี นแปลง การเปลี่ยนแปลง สง่ิ แวดล้อม การคาดการณเ์ ทคโนโลยี ❑ ปรมิ าณขยะมลู ฝอยเพิ่มมากขึน้ แหล่งข้อมูล ❑ เทคโนโลยีทสี่ ามารถกาจัด สง่ ผลใหเ้ กิดมลพิษต่อสง่ิ แวดล้อม ขยะได้ในปริมาณมากต่อ เชน่ มลพษิ ทางนา้ มลพษิ ทางดิน สมาคมวิทยาศาสตรอ์ นามยั วนั เช่น ระบบการเผา สง่ิ แวดลอ้ ม (2561). ขยะทปี่ ราศจากมลพษิ

สรุปท้ายบท การคาดการณ์เทคโนโลยีในอนาคต จะต้องคาดการณ์บนฐานของความรู้ที่น่าเชื่อถือ และความเป็นไปได้ ตลอดจนคานึงถึงการเปลี่ยนแปลงของปัญหาและความต้องการ ของมนุษย์และสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีที่มีการเปลี่ยนแปลง ตลอดเวลา เนื่องจากมนุษย์ต้องการใช้เทคโนโลยีช่วยอานวยความสะดวก และเพิ่ม ความสามารถในการทางานหรอื กจิ กรรมตา่ ง ๆ

SOCIAL MEDIA กจิ กรรมท่ี 4 เรอ่ื ง คาดการณ์เทคโนโลยีในอนาคต ให้นักเรียนคาดการณ์ว่าเทคโนโลยีของนักเรียนจะเปลี่ยนแปลงไปจากเดิ ม อยา่ งไร โดยวเิ คราะห์ปจั จยั ดา้ นตา่ ง ๆ ทม่ี ีผลต่อการเปล่ียนแปลงเทคโนโลยี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook