Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Chapter2

Chapter2

Published by noppadol_kkw, 2019-09-01 04:58:19

Description: นพดล สายคติกรณ์
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล

Search

Read the Text Version

การพฒั นาระบบสารสนเทศเพ่ือการแลกเปลย่ี นเรียนรู้ สาหรบั นักศึกษาสหกจิ ศกึ ษา คณะบรหิ ารธุรกจิ ผ่านการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ นพดล สายคติกรณ์ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจ คณะบริหารธรุ กิจ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลรัตนโกสนิ ทร์ วทิ ยาเขตวังไกลกังวล

6 บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรมทีเ่ ก่ียวขอ้ ง / ทฤษฎที ่เี กย่ี วข้อง ผู้วจิ ัยต้องการจะทบทวนวรรณกรรมเพื่อทาความเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างปัญหาการวิจัยและ องค์ความรดู้ ้านแนวคิดและทฤษฎีรวมท้ังผลงานวิจัยในอดีตแล้วนามาสร้างกรอบแนวคิดเพ่ือเป็นกรอบซึ่ง สามารถชี้ประเด็นในการเชื่อมโยงความสัมพันธ์แล้วหาข้อสรุปการวิจัยเพื่อตอบคาถามการวิจัย (กาญจนพันธ์ุ 2544) โดยมีกรอบทฤษฎี (theoretical framework) ในการพัฒนากรอบแนวคิด (conceptual framework) เพ่ือเป็นกรอบการวิเคราะห์ (analysis framework) ในการอธิบายและ ตคี วามหาขอ้ สรปุ ซึ่งประกอบดว้ ย ทฤษฎดี ังตอ่ ไปนี้ 2.1 ระบบสารสนเทศ (Information System) 2.2 วงจรพัฒนาระบบสารสนเทศ (Software Development Life Cycle : SDLC) 2.3 การแลกเปลีย่ นเรียนรู้ (Knowledge Sharing) 2.4 การจดั การความรู้ (Knowledge Management) 2.5 การประมวลผลแบบกล่มุ เมฆ (Cloud Computing) 2.6 สหกจิ ศกึ ษา (Cooperative Education) 2.7 งานวจิ ัยทีเ่ กี่ยวขอ้ ง 2.1 ระบบสารสนเทศ (Information System) เม่อื กล่าวถงึ ความหมายของสารสนเทศก่อนอน่ื ผู้วิจัยขอใหค้ วามหมายของส่งิ ทเี่ กยี่ วขอ้ งดังน้ี ข้อมูล (Data) หมายถึง “กลุ่มตัวอักขระท่ีเม่ือนามารวมกันแล้วมีความหมายอย่างใดอย่างหน่ึง และมคี วามสาคัญควรค่าแก่การจัดเก็บเพื่อนาไปใช้ในโอกาสต่อๆ ไป ข้อมลู มักเป็นข้อความที่อธิบายถึงส่ิง ใดส่ิงหน่ึง อาจเป็นตัวอักษร ตัวเลข หรือสัญลักษณ์ใดๆ ที่สามารถนาไปประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ได้” (ทักษิณา สวนานนท์ และ ฐานิศรา เกียรติบารมี, 2546, หน้า 165) ทั้งน้ี ข้อมูลสามารถทาให้ผู้อ่านทราบ ความเปน็ ไปของเหตุการณ์ที่เกิดข้ึน บอกสภาพการณ์หรือปรากฏการณ์ที่เกิดขน้ึ และขอ้ มลู จะยังคงสภาพ ความเปน็ ขอ้ มูลไม่ว่าจะนาไปใชห้ รอื ไม่ใชก้ ต็ าม นอกจากนี้ ครรชิต มาลัยวงศ์ (2546, หน้า 10) ยังได้สรุปความหมายของข้อมูล ว่าคือ “ขอ้ เท็จจริงเกี่ยวกับเหตกุ ารณ์ทเ่ี กิดขึน้ ภายในองค์กร หรือในสิง่ แวดลอ้ มทางกายภาพกอ่ นที่จะนามาเรียบ เรยี งหรือจดั กลมุ่ ให้อยู่ในรปู แบบทีค่ นทว่ั ไปเข้าใจหรอื นาไปใช้ได้” สรุปได้วา่ “ข้อมลู ” คือ ข้อเท็จจริงท่ีทาให้ทราบถึงเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนภายในองค์กร บอก สภาพและปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนกับสิ่งแวดล้อม โดยอธิบายถึงส่ิงใดส่ิงหน่ึง ซ่ึงข้อมูลอาจจะเป็นตัวอักษร ตวั เลข ภาพและเสียง ที่สามารถนามาประมวลผลด้วยคอมพิวเตอรไ์ ด้ การพัฒนาระบบสารสนเทศเพือ่ การแลกเปล่ียนเรียนรูส้ าหรบั นกั ศกึ ษาสหกิจศกึ ษา คณะบรหิ ารธุรกจิ ผ่านการประมวลผลแบบกล่มุ เมฆ นายนพดล สายคติกรณ์

7 สารสนเทศ เป็นคาที่ราชบัณฑิตยสถานบัญญัติศัพท์จากคาว่า “Information” ซ่ึงมีผู้ใช้คา ภาษาไทยหลายคา เช่น ข่าวสาร ข้อสนเทศ สารสนเทศ (ราชบัณฑิตยสถาน, 2546, หน้า 79) แต่มักจะ พบกับคาว่า สารสนเทศและสารสนเทศมากกว่าคาอื่นๆ ซ่ึงคาว่าสารสนเทศน้ันมักจะพบในเอกสารท่ี เก่ียวข้องกับคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยกี ารสอ่ื สารเปน็ ส่วนใหญ่ ส่วนคาว่า ”สารสนเทศ” นนั้ มกั จะพบใน เอกสารท่ีเกีย่ วข้องกับสาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ ซึง่ ในปัจจบุ ันราชบัณฑิตยสถาน ให้ใช้ได้ทั้งสองคา จึงสามารถใช้ได้ ท้ังนี้เน่ืองจากคาศัพท์ทั้งสองมีรากศัพท์มาจากคาว่า “Information” ในภาษาอังกฤษ เช่นเดียวกัน (ชัชวาล วงษ์ประเสริฐ, 2548, หน้า 52) ซึ่งในพจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้ความหมายของคาว่า “สารสนเทศ” คือ การช้ีแจงแนะนาเกี่ยวกับ ข่าวสารหรอื ข้อมูลต่างๆ (ราชบัณฑิตยสถาน, 2546, หน้า 1182) นอกจากนี้ ประภาวดี สืบสนธ์ิ (2543, หน้า 6) ยังได้สรุปความหมายของ สารสนเทศ หรือ สารสนเทศ ว่าคือ “ข้อเท็จจริง เหตกุ ารณ์ ทผี่ ่านกระบวนการประมวลผล มกี ารถ่ายทอดและการบันทึกไว้ ในรูปแบบต่างๆ เช่น หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ รายงาน โสตทัศนวัสดุ เทปคอมพิวเตอร์ ตลอดจน ถ่ายทอดในรูปแบบอืน่ เชน่ คาพูด โดยมวี ตั ถุประสงคเ์ พื่อเผยแพร่ให้ผู้รบั สารได้ทราบ ฉะน้ัน เม่ือพิจารณา สารสนเทศจึงอาจพิจารณาได้ 2 ประเด็น คือ เน้ือหา และการประมวล เพ่ือเผยแพร่ หรือถ่ายทอดเนื้อหา ของสารสนเทศน้ัน ในด้านเนอื้ หาสารสนเทศถอื ไดว้ ่าเป็นผลผลิตทางปญั ญาของมนุษยส์ าขาวิชาใด เรอ่ื งใด ปรากฏในรูปแบบใด ภาษาใดก็ได้ ส่วนการประมวล หมายถึง วิธีที่ใช้ในการผลิต การส่ง การจัดเก็บ การ ถ่ายทอดหรือเผยแพร่เนอ้ื หาของสารสนเทศ เพอื่ นาไปใช้ เพ่อื ให้บรรลวุ ัตถุประสงคอ์ ย่างใดอยา่ งหนงึ่ ” สรุปได้ว่า “สารสนเทศ” คือ ข้อมูลท่ีผ่านการประมวลผลแล้ว โดยกระบวนการคิด วิเคราะห์ ซ่ึง สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ตามวัตถุประสงค์ของผู้ใช้ ซึ่งคาที่มีความหมายใกล้เคียงและเก่ียวข้องกับ สารสนเทศ ไดแ้ ก่ ข้อมลู ขา่ วสาร และทรพั ยากรสารสนเทศ เปน็ ตน้ ระบบสารสนเทศ (Information System) หมายถึง ระบบที่มีการนาคอมพิวเตอร์มาช่วยใน การรวบรวม จัดเก็บ หรือจัดการกับข้อมูลข่าวสารเพ่ือให้ข้อมูลน้ันกลายเป็นสารสนเทศที่ดี สามารถ นาไปใช้ในการประกอบการตัดสินใจได้ในเวลาอันรวดเร็วและถูกต้อง ระบบสารสนเทศประกอบด้วย องคป์ ระกอบดงั นี้ 1. Hardware หมายถึง อุปกรณ์ท่ีเก่ียวข้องในการจัดกระทากับข้อมูลทั้งที่เป็นอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์และอปุ กรณ์อ่นื ๆ เชน่ เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ เครือ่ งคดิ เลข 2. Software หมายถึง ชุดคาสั่ง หรือเรียกให้เข้าง่ายว่า โปรแกรม ท่ีสามารถสั่งการให้ คอมพิวเตอร์ทางานในลักษณะทต่ี ้องการภายใตข้ อบเขตความสามารถที่เครื่องคอมพิวเตอร์ หรือโปรแกรม นั้น ๆ สามารถทาได้ ซอรฟ์ แวรแ์ บง่ ออกเปน็ ซอร์ฟแวร์ระบบ และ ซอรฟ์ แวร์ประยกุ ต์ 3 User หมายถึง กลมุ่ ผ้คู นทท่ี างานหรอื เกี่ยวขอ้ งกับระบบสารสนเทศ การพัฒนาระบบสารสนเทศเพอื่ การแลกเปลี่ยนเรยี นร้สู าหรบั นกั ศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา คณะบริหารธรุ กจิ ผ่านการประมวลผลแบบกลมุ่ เมฆ นายนพดล สายคติกรณ์

8 4. Data หมายถึง ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ท่ีอาจอยู่ในรูปแบบต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น ตัวหนังสือ แสง สี เสียง สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ ภาพ วัตถุ หรือ หลาย ๆ อย่างผสมผสานกัน ซ่ึงข้อมูลท่ีดีจะต้องตรงกับ ความต้องการของผูใ้ ช้ 5. Procedure หมายถึง ขัน้ ตอน กระบวนการตา่ ง ๆ ในการปฏิบตั ิงานในระบบสารสนเทศ เมื่อท้ัง 5 ส่วนดังกล่าวขา้ งต้น ทางานประสานกัน ส่งผลให้ขอ้ มูลเกิดการประมวลผลและนาไปใช้ ประโยชน์ นั่นก็คือ สารสนเทศนั่นเอง ซึ่งสารเสนทศน้ีจะเป็นสารสนเทศท่ีดี จะต้องเป็นสารสนเทศท่ีมี ความถูกต้องตรงกับความต้องการของผู้ใช้และทันเวลาในการใช้งาน กล่าวโดยสรุปก็คือ กระบวนการ สารสนเทศเป็นกระบวนการท่ีทาให้เกิดสารเสนเทศขึ้นมานั่นเอง ซึ่งจะต้องประกอบด้วยองค์ประกอบ สาคญั 5 ส่วน นน่ั คอื Hardware, Software Use, Procedure และ Data ภาพที่ 2 กระบวนการทางานของระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศเปนกลุมของสวนประกอบที่สัมพันธ์ซ่ึงกันและกัน มีการเก็บรวบรวม การ ประมวลผล การจัดเก็บ และกระจายสารสนเทศไปเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจ การประสานงาน และ การควบคุมภายในองค์กร ซ่ึงเปนการชวยผูจดั การ และพนกั งานในการวิเคราะห์ปญหา การเขาใจเร่ืองราว ท่ี ซับซอน รวมถึงการสรางสรรค์ผลิตภัณฑใหม ระบบสารสนเทศประกอบไปดวย สารสนเทศเกี่ยวกับ คน สถานที่และส่ิงตางๆ ท่ีมีความสาคัญ ภายในองคกรหรือภายในสภาพแวดลอมรอบ ๆ ของระบบ กจิ กรรมพ้นื ฐานของระบบสารสนเทศ (Laudon, Kenneth C, 2002: 7 อางถงึ ในนริ ันดร, 2546:9) ไดแก การนาขอมูลเขา (Input) เปนการเก็บรวบรวมขอมูลจากแหลงตางๆ ในองคกร หรือ สภาพแวดล้อมภายนอกองคกร การประมวลผล (Process) เปนการแปลงขอมูลท่ีไดจากการนาขอมูลเขาใหอยูรูปแบบท่ีมี ความหมายมากขึ้น ผลลพั ธ (Output) เปนการแสดงสารสนเทศท่ไี ดจากกระบวนการประมวลผล ใหกบั ผูใช การพัฒนาระบบสารสนเทศเพอ่ื การแลกเปล่ียนเรยี นรสู้ าหรบั นกั ศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา คณะบริหารธุรกจิ ผ่านการประมวลผลแบบกลมุ่ เมฆ นายนพดล สายคตกิ รณ์

9 ขอมูลยอนกลับ (Feedback) และการควบคุม (Control) เปนการสงผลที่ไดรับ กลับไปยงั องค์กร เพื่อใชในการประเมินผลการปฏิบัติงานและปรับปรุงการทางานของระบบตอไป ระบบสารสนเทศของ องคกร (Laudon, Kenneth C, 2002: 9 อางถึงในนิรันดร, 2546: 10) 2.2 วงจรพฒั นาระบบสารสนเทศ (Software Development Life Cycle : SDLC) ใน ก า ร พั ฒ น า ร ะ บ บ ส า ร ส น เท ศ ท่ั ว ไป มี ข้ั น ต อ น ใน ก า ร พั ฒ น า ต า ม ว งจ ร ก า ร พั ฒ น า ร ะ บ บ ประกอบด้วย 7 ขน้ั ตอน (Kendall, K.E., and Kendall, J.E., 1999: 10 อางถึงในนริ ันดร, 2546:13) ได แก 2.2.1) การกาห นดป ญ ห าโอกาสและจุดประสงค ของระบ บ (Identifying Problems, Opportunities and Objectives) ขั้นตอนน้ีเปนงานท่ีมีความสาคัญและสงผลถึงความสาเร็จของ ข้ันตอนการพัฒนาระบบที่เหลือท้ังหมด เน่ืองจากการระบุปญหาผิดจะทาใหเสียเวลาและทรัพยากร ตาง ๆ โดยเปล่าประโยชน โดยตองระบุปญหาที่ประสบอยู ระบุโอกาสในการพัฒนาปรับปรุงใหดี ข้ึนโดย การใชระบบสารสนเทศ และระบุวัตถุประสงคท่ีชัดเจนจะทาใหรูวาควรสรางระบบ สารสนเทศไปใน ทิศทาง 2.2.2) การศึกษาความตองการทางดานสารสนเทศ (Information Requirement Study) เปน ข้ันตอนท่ีพิจารณาความตองการของผูใชระบบ โดยมีการใชเครื่องมือเพ่ือเก็บขอมูลประกอบการพิจารณา เชน การใชแบบสอบถาม การสัมภาษณ การสังเกตพฤติกรรม สิ่งแวดลอมในระบบเพื่อให เขาใจใน สารสนเทศที่ผูใชตองการ 2.2.3) การวิเคราะหระบบ (System Analysis) เปนการวิเคราะหระบบปจจุบนัและความตอง การ ของระบบจากขั้นตอนท่ี 2 โดยเมื่อทาการเก็บขอมูลแลวจะทาพิจารณาความตองการทางสารสนเทศ เพ่ือหาความตองการที่แทจรงิและเปนความตองการท่ีสามารถตอบสนองไดดวยระบบสารสนเทศ และใช เคร่ืองมือในการนาเสนอแผนภาพท่ีระบุ การนาเขา (Input) การประมวลผล (Process) และ ผลลัพธ (Output) สารสนเทศทตี่ องการ 2.2.4) การออกแบบระบบ (System Design) ในข้ันตอนนี้ เปนการใชขอมูลที่รวบรวมไดมา ออกแบบระบบสารสนเทศโดยออกแบบระบบ สารสนเทศ ทาการออกแบบกระบวนการรับขอมูลและการ แสดงผลผานทางรายงาน นอกจากน้ียงั รวมถึงการออกแบบฐานขอมูลเพื่อใชในการเก็บสารสนเทศตาง ๆ ไวในระบบเพ่อื ใหสามารถดึงมาใชงานภายหลังไดซงึ่ ฐานขอมูลถือเปนรากฐานของระบบสารสนเทศ 2.2.5) การพัฒนาระบบ (System Developing) เปนขั้นตอนในการพัฒนาการเขียนหรือพัฒนา โปรแกรมคอมพิวเตอร โดยเคร่ืองมือท่ีใชในขั้นตอน น้ีคือ โปรแกรมสาหรับการเขียนภาษาคอมพิวเตอรต าง ๆ โดยทาการแปลงแผนภาพกระบวนการ จากข้ันตอนการออกแบบมาเปนผังงานโครงสรางเพ่ือการ เขียนโปรแกรม แลวดาเนินการเขยี น โปรแกรม และพฒั นาฐานขอมูลโดยใชระบบจัดการฐานขอมูล การพฒั นาระบบสารสนเทศเพอ่ื การแลกเปลีย่ นเรียนรสู้ าหรบั นักศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา คณะบริหารธุรกจิ ผา่ นการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ นายนพดล สายคตกิ รณ์

10 2.2.6) การทดสอบระบบ (System Testing) เปนข้ันตอนท่ีดาเนินการกอนท่ีระบบสารสนเทศที่ พัฒนาจะนาไปใช เปนการทดสอบเพ่ือหาจุด ผิดพลาดโดยขอมูลที่ใชแบงเปน 2 ประเภทคือ ขอมู ลเพอื่ การทดสอบและขอมลู จรงิ ประเภทแรก เปนขอมูลทีผ่ ูพัฒนาสรางขึน้ โดยจาลองจากการทางานจรงิ ส วนประเภทที่สองคือขอมูลท่ีเกิดข้ึน จริง ในการทดสอบจะตองทดลองใสขอมูลหลาย ๆ แบบเพื่อทดสอบ ความเสถยี รของระบบ 2.2.7) การนาระบบไปใชงานจริงและประเมินผล (System Implementing and Evaluating) ขน้ั ตอนสุดทายเปนข้ันตอนท่นี าระบบใหมมาใชแทนระบบเดมิ ควรทาในลักษณะคอย เปนคอยไป ซึง่ วธิ ีที่ ดีคือ การใชระบบใหมควบคูไปกับระบบเดิมระยะหึน่งโดยใชขอมูลขุดเดียวกันและ เปรียบเทียบผลลัพธท่ี เกิดขน้ึ วาตรงกนั หรอื ไม ถาไมมี ขอผดิ พลาดใดจึงคอยๆ นาระบบเดมิ ออกไปจนหมด จากท่ีกลาวมานั้น ทาใหทราบวาการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle: SDLC) มีขั้นตอนที่สาคัญ 7 ขั้นตอน ควรศึกษาและทาตามกระบวนการในการพัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อใหเกดิ ประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ลของงานท่ีถกู พัฒนาขึน้ มา ภาพที่ 3 วงจรการพฒั นาระบบสารสนเทศ (Software Development Life Cycle) [ที่มาของภาพ : http://ricklapenna.com] แผนภาพวงจรการพัฒนาระบบ (SDLC) ทฤษฎีการวิเคราะห์และออกแบบระบบ การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) เป็น การศึกษา วิเคราะห์ และแยกแยะถึงปัญหาที่ เกดิ ข้ึนในระบบ พรอ้ มท้ังเสนอแนวทางเสนอแนวทางแก้ไขตามความตอ้ งการของผใู้ ช้งานและความเหมาะ การพัฒนาระบบสารสนเทศเพอื่ การแลกเปลย่ี นเรียนรสู้ าหรับนกั ศกึ ษาสหกิจศกึ ษา คณะบริหารธุรกจิ ผา่ นการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ นายนพดล สายคตกิ รณ์

11 สมต่อสถานะทางการเงินขององค์กร การออกแบบระบบ (System Design) คือ การสร้างแบบพิมพ์เขียว ของระบบใหม่ตามความต้องการในเอกสารความต้องการระบบ กาหนดสิ่งที่จาเป็น เช่น อินพุท เอ้าท์พุท สว่ นต่อประสานผู้ใช้ และการประมวลผล เพื่อประกันความน่าเช่ือถือ ความถูกต้องแม่นยา การบารุงรักษา ได้ และความปลอดภยั ของระบบ นอกจากน้ัน การออกแบบระบบเป็นวิธีการออกแบบ และกาหนดคุณสมบัติทางเทคนิคโดยนา ระบบคอมพิวเตอร์มาประยุคใช้ เพอ่ื แกป้ ัญหาที่ทาการวเิ คราะห์มาแล้วข้ันตอนการวเิ คราะหแ์ ละออกแบบ ระบบออกเป็น 2 ระดับคือ ข้ันตน้ และขน้ั สงู 1. ข้นั ต้น (Basic System Analysis) ประกอบ 8 ขั้นตอนคอื 1.1 System Requirement เป็นการรับทราบปัญหา หรือความต้องการของผู้ใช้ หรือ เจา้ ของงานอาจเรียกรวมไดว้ า่ เป็นขน้ั ตอนของการเก็บรายละเอียด 1.2 Context Description เป็นการกาหนดบริบท ประกอบด้วย List of Entities, List of Data และ List of Process 1.3 Context Diagram เป็นการออกแบบโครงสร้างบริบท โดยอาศัยข้อมูลในขั้นตอนที่ 1.2 นักวิเคราะห์ระบบบางราย มีความถนดั ท่ีจะทาขน้ั ตอนนีก้ ่อนขน้ั ตอนท่ี 1.2 ซงึ่ ไมม่ ีผลเสียแตอ่ ยา่ งไร 1.4 Process Hierarchy Chart เป็นการเขียนผงั การไหลของข้อมูลในระดบั ต่าง ๆ ที่ปรากฏ ตามขน้ั ตอนท่ี 1.3 1.5 Data Flow Diagram: DFD เป็นการเขียนผังการไหลของข้อมูลในระดับต่าง ๆ ท่ปี รากฏ ตามข้ันตอนท่ี 1.4 1.6 Process Description เป็นการอธิบายรายละเอียด Process ให้ชัดเจนข้ึน โดยทั่วไป นิยมอธิบายใน End Process ของแต่ละ Root 1.7 Data Modeling เป็นข้ันตอนการกาหนด Cardinality เพื่อพิจารณาความสัมพันธ์ ของ Entities ทั้งหมดทีเ่ กิดขึ้นในระบบ ซึง่ ใช้ Data Storage ทไี่ ด้ในข้นั ตอน DFD 1.8 Data Dictionary เป็นขั้นตอนกาหนด Attribute ท่ีอ้างถึงใน Data Modeling เพื่อ กาหนดรายละเอยี ดทจ่ี ะเป็นเบ้อื งต้นสาหรบั ใชใ้ นระบบ 2. ขน้ั สูง (Advance System Analysis) ประกอบ 4 ข้ันตอนคือ 2.1 Database Design เป็นข้ันตอนการออกแบบฐานข้อมูล โดยอาศัยข้อมูลนาเข้าในข้ันท่ี 1.7 และ 1.8 ซึ่งอาจใช้วิธีการ Normalization หรือ Entity Relationship Model แลว้ แต่ละกรณี ซ่งึ ไม่ จาเป็นว่าจะต้องได้ Normal Form (5NF) ขึ้นอยู่กับ นักวิเคราะห์ระบบจะเห็นว่า มีความจาเป็นและ เหมาะสามในระดบั ใด แต่ทง้ั นีค้ วรไม่ต่ากวา่ Boyce Cod Normal Form (BCNF) 2.2 Data Table Description เป็นขั้นตอนกาหนดรายละเอียด Attribute ท่ีมีในแต่ละ Table โดยอาศยั ขอ้ มูลจากขั้นตอนที่ 1.8 และ 2.1 การพฒั นาระบบสารสนเทศเพ่อื การแลกเปลย่ี นเรยี นรสู้ าหรับนักศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา คณะบริหารธุรกจิ ผา่ นการประมวลผลแบบกลุม่ เมฆ นายนพดล สายคติกรณ์

12 2.3 Output Design หรือ การออกแบบส่วนแสดงผล แยกออกเป็น รายงาน เอกสาร และ ข้อความ มพี ฤติกรรม 3 ชนดิ 2.3.1 แสดงผลจากฐานขอ้ มูลโดยตรง (Data to Output: D2O) 2.3.2 แสดงผลจากการประมวลผลท่ีได้รับจากการข้อมูลนาเข้า (Data-Process to Output: DP2O) 2.3.3 แสดงผลโดยตรงจากข้อมูลนาเข้า (Input to Output: I2O) โดยสามารถแสดง ผลได้ทัง้ กระดาษ และจอภาพ การออกแบบ Output Design ควรกระทาก่อนการออกแบบอื่น ๆ ทงั้ หมด เพราะจะช่วยตรวจสอบว่า มี Attribute ที่ออกแบบไวใ้ นข้ัน 2.2 ครบถ้วนหรอื ไม่ 2.4 Input Design หรือ การออกแบบส่วนนาข้อมูลเข้า วัตถุประสงค์เป็นการออกแบบเพ่ือ นาข้อมลู เข้าไปในระบบคอมพวิ เตอร์ จึงถูกออกแบบให้มรี ูปแบบสอดคลอ้ งกับการแสดงผลทางจอภาพ คือ 25 บรรทดั 80 คอลัมน์ แม้ว่าบางครั้งจะถูกออกแบบเปน็ แบบบันทึกข้อมูลล่วงหน้า ก่อนนามาบันทึกผ่าน จอภาพ ก็ยังอ้างอิงกับตาแหน่งทางจอภาพ เพื่อหลีกเลี่ยงความสับสนของผู้ใช้ แบ่งออกเป็น 2 พฤติกรรม คือ 2.4.1 ออกแบบฟอร์มเอกสารกรอกข้อมลู 2.4.2 ออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้ ซึง่ มี 3 ชนิด คือ ส่วนติดต่อกับผู้ใช้ด้วยเมนู ด้วยคาส่ัง และดว้ ยกราฟกิ วงจรการพัฒนาระบบ วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle : SDLC) คือ กระบวนการทาง ความคิด (Logical Process) ใน การพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือแก้ปัญหาทางธุรกิจและตอบสนองความ ต้องการของผู้ ใช้ได้ โดยระบบท่ีจะพัฒนาน้ัน อาจเริ่มด้วยการพัฒนาระบบใหม่เลยหรือนาระบบเดิมท่ีมี อยู่แล้วมาปรับเปล่ียน ให้ดียิง่ ขึน้ ภายในวงจรน้จี ะแบง่ กระบวนการพัฒนาออกเป็นระยะ (Phases) ไดแ้ ก่ ระยะการวางแผน (Planning Phase) ระยะการวิเคราะห์ (Analysis Phase) ระยะการออกแบบ (Design Phase) และ ระยะการสร้างและพฒั นา (Implementation Phase) การพัฒนาระบบสารสนเทศเพือ่ การแลกเปล่ยี นเรียนรสู้ าหรบั นักศกึ ษาสหกิจศกึ ษา คณะบรหิ ารธุรกจิ ผา่ นการประมวลผลแบบกลมุ่ เมฆ นายนพดล สายคตกิ รณ์

13 โดยแต่ละระยะจะประกอบไปด้วยข้ันตอน (Steps) ต่าง ๆ แตกต่างกันไปตาม Methodology ที่ นักวิเคราะหน์ ามาใช้ เพอื่ ใหเ้ หมาะสมกับสถานะทางการเงินและความพรอ้ มขององค์กรในขณะนั้น ขั้นตอนในวงจรพัฒนาระบบ ช่วยให้นักวิเคราะห์ระบบสามารถดาเนินการได้อย่างมีแนวทางและ เป็นข้ันตอน ทาให้สามารถควบคุมระยะเวลาและงบประมาณในการปฏิบัติงานของโครงการพัฒนาระบบ ได้ขั้นตอนต่าง ๆ น้ันมีลักษณะคล้ายกับการตัดสินใจแก้ปัญหาตามแนวทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) อันได้แก่ การค้นหาปัญหา การค้นหาแนวทางแก้ไขปัญหา การประเมินผลแนวทางแก้ไข ปัญหาท่ีค้นพบ เลือกแนวทางท่ีดีท่ีสุด และพัฒนาทางเลือกน้ันให้ใช้งานได้ สาหรับวงจรการพัฒนาระบบ ในหนงั สอื เล่มน้ี จะแบ่งเปน็ 7 ขั้นตอน ได้แก่ 1. ค้นหาและเลือกสรรโครงการ (Project Identification and Selection) 2. จดั ต้งั และวางแผนโครงการ (Project Initiating and Planning) 3. วิเคราะห์ระบบ (Analysis) 4. ออกแบบเชงิ ตรรกะ (Logical Design) 5. ออกแบบเชิงกายภาพ (Physical Design) 6. พัฒนาและตดิ ต้งั ระบบ (System Implement) 7. ซ่อมบารุงระบบ (System Maintenance) ภาพท่ี 4 แสดงวงจรพฒั นาระบบ 1. การค้นหาและเลือกสรรโครงการ (Project Identification and Selection) เป็นข้ันตอนในการค้นหาโครงการพัฒนาระบบ ที่เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบันของบริษัท สามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น และให้ผลประโยชน์กับบริษัทมากท่ีสุด โดยใช้ตารางเมตริก (Matrix Table) เป็นเคร่ืองมือประกอบการพิจารณา ซ่ึงเป็นขั้นตอนท่ีได้ดาเนินการผ่านไปแล้วในเบื้องต้น สามารถสรุป กิจกรรมไดด้ ังนี้ การพัฒนาระบบสารสนเทศเพือ่ การแลกเปลีย่ นเรยี นรู้สาหรับนกั ศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา คณะบริหารธรุ กจิ ผา่ นการประมวลผลแบบกล่มุ เมฆ นายนพดล สายคตกิ รณ์

14 1. คน้ หาโครงการพฒั นาระบบทเี่ ห็นสมควรต่อการได้รับการพฒั นา 2. จาแนกและจดั กลุ่มโครงการ 3. เลอื กโครงการทเี่ หมาะสมท่ีสดุ ในการพฒั นา 2. การเร่มิ ตน้ และวางแผนโครงการ (Project Initiating and Planning System Development) เป็นข้ันตอนในการเริม่ ต้นจัดทาโครงการด้วยการจัดตั้งทีมงาน กาหนดตาแหน่งหน้าท่ีให้กับทมี งาน แต่ละคนอย่างชัดเจน เพื่อร่วมกันสร้างแนวทางเลือกในการนาระบบใหม่มาใช้งาน และเลือกทางเลือกท่ีดี ที่สดุ จากนั้นจะรว่ มกนั วางแผนจัดทาโครงการกาหนดระยะเวลาในการดาเนนิ โครงการ ศึกษาความเปน็ ไป ได้ของโครงการ และประมาณการต้นทุน และกาไรที่จะได้รับจากการลงทุนในโครงการพัฒนาระบบ เพื่อ นาเสนอต่อผู้จัดการ เพ่ือพิจารณาอนุมัติดาเนินการในขั้นตอนต่อไป โดยในขณะที่นาเสนอ โครงการอยู่น้ี ถือเป็นการดาเนินงานในข้ันตอนท่ี 2 ซึ่งใช้เทคนิคในการเก็บรวบรวมข้อเท็จจริงด้วยการสัมภาษณ์ (Interviewing) การออกแบบสอบถาม (Questionnaires) รวมทั้งพิจารณาจากเอกสารการทางาน รายงานและแบบฟอร์มตา่ ง ๆ ของบริษัทประกอบด้วย สรุปกจิ กรรมขั้นตอนที่ 2 ได้ดังน้ี 1. เร่ิมตน้ โครงการ 2. เสนอแนวทางเลอื กในการนาระบบใหม่มาใชง้ าน 3. วางแผนโครงการ 3. การวิเคราะห์ (System Analysis)เป็นขัน้ ตอนในการศึกษาและวิเคราะหถ์ ึงขนั้ ตอน การดาเนินงานของระบบเดิม ซ่ึงการท่ีจะสามารถดาเนินการในขั้นตอนน้ี ได้จะต้องผ่านการอนุมัติ ในขั้นตอนที่ 2 ใน การนาเสนอโครงการหลังจากน้ันจะรวบรวมความต้องการในระบบใหม่ จากผู้ใช้ระบบ แล้วนามาศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการเหล่านั้นด้วย การใช้เครื่องมือชนิดต่าง ๆ ได้แก่ แบบจาลอง ขั้นตอนการทางานของระบบ (Process Modeling) โดยใช้แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram: DFD) และแบบจาลองข้อมูล (Data Modeling) โดยใช้แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ข้อมูล (Entity Relationship Diagram: E-R Diagram) สรปุ กจิ กรรมในขน้ั ตอนท่ี 3 ได้ดังนี้ 1. ศึกษาขน้ั ตอนการทางานของระบบเดมิ 2. รวบรวมความตอ้ งการในระบบใหม่จากผู้ใช้ระบบ 3. จาลองแบบความตอ้ งการที่รวบรวมได้ 4. การออกแบบเชงิ ตรรกะ (Logical Design) เป็นข้นั ตอนในการออกแบบลักษณะการ ทางานของระบบตามทางเลือกที่ได้จากเลอื กไว้จากข้นั ตอน การวเิ คราะหร์ ะบบโดยการออกแบบใน เชิงตรรกะน้ียังไม่ได้มีการระบุถึงคุณลักษณะ ของอุปกรณ์ท่ีจะนามาใช้ เพียงแต่กาหนดถึงลักษณะของ รูปแบบรายงานท่ีเกิดจากการทางานของระบบ ลักษณะของการนาข้อมูลเขา้ สู่ระบบ และผลลัพธ์ท่ีได้จาก การพฒั นาระบบสารสนเทศเพอื่ การแลกเปล่ยี นเรยี นรสู้ าหรบั นกั ศกึ ษาสหกิจศกึ ษา คณะบรหิ ารธรุ กจิ ผา่ นการประมวลผลแบบกลุม่ เมฆ นายนพดล สายคติกรณ์

15 ระบบ ซึ่งจะเลือกใช้การนาเสนอรปู แบบของรายงาน และลักษณะของจอภาพของระบบจะทาให้สามารถ เข้าใจข้นั ตอนการทางานของระบบได้ ชัดเจนข้ึน สรปุ กจิ กรรมในขั้นตอนท่ี 4 ไดด้ งั นี้ 1. ออกแบบแบบฟอรม์ และรายงาน (Form/Report Design) 2. ออกแบบส่วนตดิ ตอ่ กบั ผใู้ ช้ (User Interfaces Design) 3. ออกแบบฐานข้อมลู ในระดบั Logical 5. การออกแบบเชิงกายภาพ (Physical Design) เป็นขั้นตอนที่ระบุถึงลักษณะการทางานของ ระบบทางกายภาพหรือทางเทคนิค โดยระบุถึง คุณลักษณะของ อุปกรณ์ที่จะนามาใช้ เทคโนโลยีโปรแกรมภาษาที่จะนามาทาการเขียนโปรแกรม ฐานข้อมูลของการออกแบบเครอื ข่ายที่เหมาะสมกับระบบ สิ่งทีไ่ ดจ้ ากขนั้ ตอนการออกแบบทางกายภาพน้ี จะเป็นข้อมูลของการออกแบบ เพ่ือส่งมอบให้กับโปรแกรมเมอร์เพื่อ ใช้เขียนโปรแกรมตามลักษณะการ ทางานของระบบท่ไี ดอ้ อกแบบและกาหนดไว้ สรุปกิจกรรมในข้นั ตอนท่ี 5 ได้ดงั นี้ 1. ออกแบบฐานข้อมูลในระดับ Physical 2. ออกแบบ Application 6. การพฒั นาและตดิ ตั้งระบบ (System Implementation) เป็นขั้นตอนในการนาข้อมูลเฉพาะ ของการออกแบบมาทาการเขียนโปรแกรมเพื่อให้เป็นไปตาม คุณลักษณะและรูปแบบ ต่าง ๆ ที่ได้กาหนดไว้ หลังจากเขียนโปรแกรมเรียบร้อยแล้ว จะต้องทาการ ทดสอบโปรแกรม ตรวจสอบหาข้อผิดพลาดของโปรแกรมท่ีพัฒนาขึ้นมา และสุดท้ายคือการติดตั้งระบบ โดยทาการตดิ ต้ังตวั โปรแกรม ติดตั้งอุปกรณ์ พร้อมท้ังจดั ทาคมู่ ือและจัดเตรยี มหลักสตู รฝึกอบรมผู้ใช้งานท่ี เกีย่ วขอ้ ง เพอ่ื ให้ระบบใหมส่ ามารถใชง้ านได้ สรปุ กิจกรรมในขั้นตอนท่ี 6 ไดด้ ังนี้ 1. เขียนโปรแกรม (Coding) 2. ทดสอบโปรแกรม (Testing) 3. ติดต้งั ระบบ (Installation) 4. จดั ทาเอกสาร (Documentation) 5. จัดทาหลกั สตู รฝกึ อบรม (Training) 6. การบริการใหค้ วามชว่ ยเหลอื หลงั การติดตง้ั ระบบ (Support) 7. การซ่อมบารงุ ระบบ (System Maintenance) เป็นขน้ั ตอนสุดทา้ ยของวงจรพฒั นา ระบบ (SDLC) หลัง จากระบบใหม่ได้เริ่มดาเนินการ ผู้ใช้ระบบจะพบกับ ปัญหาท่ีเกิดข้ึนเนื่องจาก ความไม่คุ้นเคยกับระบบใหม่ และค้นหาวิธีการแก้ไขปัญหาน้ันเพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้เองได้ สรปุ กจิ กรรมในข้นั ตอนท่ี 7 ไดด้ งั นี้ การพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่อื การแลกเปล่ยี นเรยี นรสู้ าหรับนักศกึ ษาสหกิจศกึ ษา คณะบริหารธุรกจิ ผา่ นการประมวลผลแบบกล่มุ เมฆ นายนพดล สายคติกรณ์

16 1. เก็บรวบรวมคารอ้ งขอใหป้ รับปรุงระบบ 2. วิเคราะห์ข้อมูลรอ้ งขอใหป้ รับปรุงระบบ 3. ออกแบบการทางานทตี่ อ้ งการปรับปรุง 4. ปรับปรงุ หลกั ความสาเร็จของการพัฒนาระบบงาน หลักการทาให้การพัฒนาระบบงานประสบความสาเร็จ ซ่ึงนักวิเคราะห์ระบบควรรู้ถึงหลักการ เหลา่ น้ดี ว้ ย หลกั ความสาเร็จของการพฒั นาระบบ ไดแ้ ก่ 1. ระบบเป็นของผู้ใช้ นักวิเคราะห์ระบบควรระลึกเอาไวเ้ สมอว่า ระบบเป็นของผ้ใู ช้ ซึง่ จะเปน็ ผู้ท่ี นาเอาระบบและผลงานที่ได้ทาการออกแบบไว้ไปใช้และก่อให้เกิดประโยชน์ต่อระบบธุรกิจของเขา ผู้ใช้ ระบบจึงมีส่วนสาคัญท่ีจะผลักดันให้การพัฒนาระบบงานเป็นไปอย่างถกู ต้อง และเพ่ือตอบสนองกับความ ต้องการท่ีแท้จริง นักวิเคราะห์ระบบจะต้องนาเอาความเห็นของผู้ใช้ระบบมาเก่ียวข้องในทุกขั้นตอนของ การพัฒนาระบบ ในวงจรการพัฒนาระบบงานจะต้องมีบทบาทของผู้ใช้ระบบอยู่เสมอทุกขั้นตอน การมี ส่วนร่วมในการพัฒนาระบบของผู้ใช้ระบบ จะทาให้ผู้ใช้ระบบรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของระบบและจะลด แนวความคิดที่ว่าผู้ใช้ระบบถูกยัดเยียดงานใหม่ท่ีพัฒนาขึ้นโดยอัตโนมัติ แรงต่อต้านของระบบงานก็จะ ลดลง 2. ทาการจดั ตงั้ และแบ่งกลุ่มของระบบออกเป็นกลมุ่ งานย่อย กลุ่มงานย่อย ๆ ซ่ึงแบ่งออกจากระบบใหญ่ ตามวงจรการพัฒนาระบบงาน ได้แบ่งขั้นตอนของการ ทางานเป็นกลมุ่ ยอ่ ย 4 ข้ันตอน ดงั นี้ • ขน้ั ตอนการวเิ คราะหร์ ะบบงาน (System Analysis) • ขน้ั ตอนการออกแบบและวางระบบงาน (System Analysis) • ข้ันตอนการน าระบบงานเขา้ ส่ธู ุรกิจเพื่อใชป้ ฏบิ ตั งิ านจรงิ (System Implementation) • ข้นั ตอนการติดตามและด าเนินการภายหลงั การตดิ ตง้ั ระบบงาน (System Support) สาเหตุท่ีต้องมีการจัดแบ่งกลุ่มออกเป็นกลุ่มย่อย ๆ นั้น เพ่ือท่ีจะให้ผู้บริหารโครงการหรือผู้พัฒนา ระบบงานสามารถควบคุมความคืบหน้าของการพัฒนาระบบได้อย่างใกล้ชิด และสามารถท่ีจะกาหนดและ ควบคมุ ระยะเวลาทใ่ี ชใ้ นการพฒั นาระบบไดด้ ขี ึน้ อีกดว้ ย 3. ขั้นตอนการพฒั นาระบบงานไมใ่ ชแ่ บบอนกุ รม (Sequential Process) ขั้นตอนในการพัฒนาระบบงานที่ได้กล่าวมา 2 ข้อแรกน้ัน สามารถจะทาซ้อนกันได้ในลักษณะท่ีไม่ จาเป็นจะต้องรอให้ข้ันตอนแรกทางานเสร็จก่อนจึงจะทางานในข้ันตอนต่อไป ท้ังน้ีจะต้องข้ึนอยู่กับความ เหมาะสมด้วย โดยบางขน้ั ตอนจะต้องรอให้การทางานเสร็จ สมบูรณ์ก่อนจงึ จะสามารถทางานในขั้นต่อไป ได้ 4. ระบบงานข้อมลู ถือเปน็ การลงทนุ อย่างหน่ึง การพฒั นาระบบสารสนเทศเพ่อื การแลกเปล่ยี นเรยี นรูส้ าหรับนักศกึ ษาสหกิจศกึ ษา คณะบริหารธุรกจิ ผา่ นการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ นายนพดล สายคตกิ รณ์

17 การพัฒนาระบบงาน ถือเป็นการลงทุนอย่างหนึ่ง ซึ่งไม่แตกต่างจากการลงทุนซื้อสินค้ามาทาการ ขายต่อใหผ้ ู้บรโิ ภค ส่ิงท่ีนักวเิ คราะห์ระบบควรจะต้องคานงึ ถึง คอื ทางเลือกต่าง ๆ ที่จะนาเงินไปลงทุน ซ่ึง ควรคิดทางเลือกของการพัฒนาระบบงานในหลาย ๆ งานและพิจารณาถึงความเป็นไปได้ต่าง ๆ รวมถึง การเปรียบเทียบต้นทุนและผลกาไรที่จะเกิดจากระบบงาน ว่าระบบงานน้ัน ๆ คุ้มค่าท่ีจะทาการลงทุน หรอื ไม่ 5. อยา่ กลัวที่จะต้องยกเลกิ ทกุ ขั้นตอนของวงจรการพฒั นาระบบงานจะตอ้ งมีการศกึ ษาถึงความเป็นไปได้ (Feasibility Study) ของระบบงาน นักวิเคราะห์ระบบจะมีโอกาสเสมอท่ีจะตัดสินใจว่าจะให้ระบบงานนั้นดาเนินต่อไปหรือ ยกเลิกระบบท่ีได้มีการพัฒนาข้ึน ความรู้สึกของนักวิเคราะห์ระบบที่จะต้องถูกยกเลิกงานท่ีทามาตั้งแต่ต้น ซึง่ ไม่ใช่เรอื่ งง่ายที่จะศึกษาวิเคราะห์ออกแบบจนออกมาเป็นระบบงานใดงานหน่ึงคงจะเป็นความรู้สึกที่ไม่ ดีนักและไม่มีนักวิเคราะห์ระบบคนใดที่อยากจะเจอกับเหตุการณ์แบบน้ี แต่เม่ือการพัฒนาระบบงานไม่ สามารถจะทาให้เป็นไปตามความต้องการของผู้ใช้ระบบได้ การยกเลิกโครงการหรือระบบงานก็เป็นสิ่งท่ี จาเป็น ข้อเสยี ต่อความกลวั ท่จี ะต้องยกเลกิ ระบบงาน คอื • สุดท้ายแล้วระบบงานน้ันก็จะต้องท าการยกเลิกอยู่ดี เม่ือพยายามจะ หลีกเลี่ยงการยกเลิก ระบบงาน • การดันทรุ ังให้ระบบงานที่ควรจะยกเลิกให้ทางานต่อไป จะต้องใช้เงินเปน็ จานวนมากไปลงทุนเพ่ิม ในระบบทไ่ี ม่ควรจะลงทนุ • ใชเ้ วลาและจานวนคนเพ่ิมมากขึน้ ทาใหง้ บประมาณบานปลาย จนไมส่ ามารถทจ่ี ะควบคุมได้ 6. ทกุ ขั้นตอนของการพฒั นาระบบงานต้องมีการจดั ทาเอกสารเพอื่ ใช้อ้างอิงเสมอ การขาดการทาเอกสารประกอบหรือเอกสารอ้างอิงมักจะส่งผลให้เกิดข้อผิดพลาดต่อระบบงานและ ต่อนักวิเคราะห์ระบบ เพราะการจัดทาเอกสารมักจะถูกมองข้ามไป เน่ืองจากเห็นว่าการจัดทาเอกสารเป็น สิ่งที่เสียเวลา แม้กระท่ังในส่วนของโปรแกรมเอง โปรแกรมเมอร์มักจะไม่นิยมเขียนคาอธิบายการทางาน เลก็ ๆ นอ้ ย ๆ ว่าโปรแกรมส่วนนนั้ ๆ ทาอะไร เพ่ืออะไร ทั้งนี้เปน็ การยากลาบากสาหรับการกลับมาแก้ไข โปรแกรมในขัน้ ตอนต่าง ๆ ซ่ึงมีผลทาให้การบารุงรักษาระบบเป็นการยากและเสียเวลา บางคร้ังอาจจะไม่ สามารถแก้ไขระบบได้ถึงขนาดที่จะต้องเริ่มการศึกษาวิเคราะห์และออกแบบระบบกันใหม่ การจัดทา เอกสารในที่น้ีหมายรวมถึงการบันทึกเหตุการณ์ต่าง ๆ และแนวความคิด รวมทั้งข้อสรุปท่ีเกิดขึ้นในแต่ละ ขนั้ ตอนของการพฒั นาระบบงานดว้ ย 2.3 การแลกเปลีย่ นเรียนรู้ (Knowledge Sharing) การแลกเปล่ียนเรียนรู้ (Knowledge Sharing) คือ การท่ีกลุ่มคนท่ีมีความสนใจในเรื่องใดเรื่อง หนึ่งรว่ มกัน มารวมตัวกันและแลกเปล่ียนเรยี นรู้ ด้วยความสมัครใจ เพื่อร่วมสร้างความเข้าใจหรือพัฒนา การพฒั นาระบบสารสนเทศเพ่อื การแลกเปล่ยี นเรียนรู้สาหรับนกั ศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา คณะบรหิ ารธรุ กจิ ผา่ นการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ นายนพดล สายคติกรณ์

18 แนวปฏิบตั ิในเรื่องนั้นๆ องคป์ ระกอบหลกั ท่ีสาคัญๆ ของการแลกเปลยี่ นเรียนรู้ (Knowledge Sharing) มี อยดู่ ้วยกัน 3 องคป์ ระกอบ ไดแ้ ก่ 1. คน (People) ถือว่าเป็นองค์ประกอบท่ีสาคัญที่สุด เพราะเป็นแหล่งศูนย์รวมของความรู้ที่ สมควรนาออกมาแบ่งปันเป็นอย่างยิ่ง โดยก็ควรจะเป็นคนท่ีมีความรู้จากการปฏิบัติจริง และอยากจะมา แบ่งปันและแลกเปลยี่ นความรู้นนั้ ดว้ ยความเต็มใจ 2. สถานท่ี และบรรยากาศ (Place) เป็นองค์ประกอบที่สาคัญอีกประการหนึ่งท่ีจะทาให้การ แลกเปลี่ยนเรียนรู้มี ชีวิตชีวาและน่าสนใจ เพราะสถานท่ีและบรรยากาศที่ดี (สบายๆผ่อนคลาย) มีความ เหมาะสมกับแต่ละกลุ่มคน จะทาให้คนเหล่านั้นมาเจอกันพูดคุย ปรึกษา วิเคราะห์ปัญหา แบ่งปัน และ แลกเปลี่ยนเรยี นร้ซู งึ่ กันและกนั อย่างสบายใจ 3. สิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ (Infrastructure) เป็นองค์ประกอบท่ีสาคัญที่ช่วยให้การแบ่งปัน และแลกเปล่ียนเรียนรู้เกิดได้ ง่ายและสะดวกขึ้น เช่น กระดานสาหรับเขียน คอมพิวเตอร์สาหรบั การสรุป และจัดเก็บความร้รู วมถึงการแบ่งปนั (Share) หรือการสง่ ต่อขอ้ มูล ภาพที่ 5 องค์ประกอบของการแลกเปล่ียนเรยี นรู้ [ทีม่ าของภาพ: https://kminbusiness.wordpress.com] และเมื่อมีองค์ประกอบทั้ง 3 ประการพร้อมแล้ว การท่ีจะทาให้การแลกเปลี่ยนเรียนรู้นั้นประสบ ความสาเร็จ และใช้ประโยชน์ได้จริง ก็ควรคานึงถึงปัจจัยท่ีสาคัญๆของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่มี ประสิทธผิ ล (Effective Knowledge Sharing) ดังนี้ ปัจจัยหลกั ของการแบง่ ปนั และแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ 6 ประการ ไดแ้ ก่ การพฒั นาระบบสารสนเทศเพือ่ การแลกเปล่ียนเรยี นร้สู าหรบั นักศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา คณะบรหิ ารธรุ กจิ ผ่านการประมวลผลแบบกลมุ่ เมฆ นายนพดล สายคติกรณ์

19 1. กาหนดเป้าหมายการแบง่ ปนั และแลกเปลยี่ นเรยี นรใู้ หช้ ดั เจนและสัมพันธ์กับเปา้ หมายทางธรุ กจิ 2. สร้างผนู้ าท่ีเปน็ แบบอย่าง 3. สร้างเครอื ข่ายของผ้มู คี วามรูจ้ ากการปฏิบตั ิ (Human Networks) 4. กาหนดวิธีการแบ่งปนั และแลกเปลย่ี นเรียนร้ใู หเ้ หมาะกับวฒั นธรรมองค์กร 5. แบ่งปนั และแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ทีน่ าไปใช้ในงานประจาวันได้ 6. สร้างแรงจูงใจทส่ี นบั สนุนการแบ่งปันและแลกเปลย่ี นเรียนรู้ กล่าวโดยสรุปได้ว่า การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Sharing) ท่ีมีประสิทธิผลน้ัน จะต้อง ประกอบไปด้วย 3 องค์ประกอบหลัก คือ คน, สถานที่ และส่ิงอานวยความสะดวก รวมท้ังดาเนิน กจิ กรรมการแลกเปลีย่ นเรียนรู้โดยพจิ ารณา 6 ปัจจัยหลัก ขา้ งตน้ ดว้ ยการประยกุ ต์ใชใ้ ห้เหมาะสม เพื่อให้ เกิดการแลกเปลย่ี นเรียนรทู้ มี่ ีประสิทธิภาพและประสทิ ธิผลอย่างแท้ จรงิ ดร.พิเชษฐ์ บัญญัติ ได้กล่าวถึงหลักการของการจัดการความรู้ ดังนี้ ในการจัดการความรู้ มี องค์ประกอบท่ีหลากหลาย แล้วแต่ทฤษฎีหรือตัวแบบ แต่สิ่งหนึ่งท่ีสาคัญมากและขาดไม่ได้คือการ แลกเปล่ียนเรียนรู้ (Knowledge sharing) ซ่ึงสามารถทาได้หลายรูปแบบท้ังเวทีจริง (F2F) และเวที เสมอื น (B2B) ในเวทแี ลกเปลีย่ นเรยี นรเู้ ราสามารถใชร้ ปู แบบหรอื กระบวนการไดห้ ลายรูปแบบ เชน่ 1. ชุมชนนักปฏิบัติ Community of practice: Co P เป็นการจัดกลุ่มคุณกิจที่ทาเร่ืองเดียวกัน มารวมตัวกันด้วยเร่ืองที่สนใจเรื่องเดียวกัน (Domain) มาพบปะกันสม่าเสมอ (Community) และมา พัฒนาวธิ กี ารทางานในเรือ่ งนน้ั ๆให้ดีขน้ึ (Best practice) 2. การศึกษาดูงาน (Study tour) หรือ สุนทรียทัศนา เป็นการขอไปเรียนลัดจากประสบการณ์ ของผอู้ ื่นโดยเข้าไปดูสถานท่จี ริง การปฏบิ ัตจิ รงิ ๆของเขา หรืออาจใช้ในหนว่ ยงานตนเองโดยการให้เพื่อนท่ี ทาดีๆสาธิตหรือทาเปน็ ตวั อย่างให้เราดู ใหเ้ ราเรยี นรู้ก็ได้ 3. การทบทวนหลังปฏิบัติการหรือการถอดบทเรียน: After action review (AAR) เมื่อทางาน เร่ืองใดเรื่องหน่งึ เสร็จแล้ว กม็ ีการมานั่งทบทวนร่วมกันผ่านทางการเขียนและการพูด ด้วยการตอบคาถาม ง่ายๆว่า วันน้ีท่ีทานี่เพื่ออะไรหรืออยากได้อะไร ทาแล้วได้ตามที่คาดหวังไว้ไหม ทาไมถึงได้มากกว่าหรื อ น้อยกว่า ได้อะไรดีๆเพ่ิมข้ึนมาบ้างและถ้าจะทาแบบนี้อีกควรปรับปรุงอย่างไร ในระยะหลังมีคนคิดการ ทบทวนก่อนปฏิบัติ (Before action review: BAR) ข้นึ มาใช้และการทบทวนขณะปฏิบัติ (During action review: DAR) 4. การเรียนรู้ร่วมกันหลังงานสาเร็จ: Retrospect เป็นกิจกรรมท่ีทีมทางานสาเร็จไปแล้วระยะ หนง่ึ ก็นัดเจอกันเพอ่ื ทบทวนย้อนหลงั งานนั้นๆ เชน่ ทบทวนการดแู ลผู้ปว่ ย การสมั มนาผปู้ ว่ ย เป็นตน้ 5. เรอื่ งเล่าเรา้ พลัง: Springboard Storytelling เปน็ การถอดความรู้ฝงั ลกึ โดยการมอบหมายให้ผู้ ที่มีผลงานดีหรือมีวธิ ีการทางานที่ดี มาเล่าให้คนอื่นๆฟังว่าทาอย่างไร คนเล่าจะต้องเล่าให้สนุก น่าฟัง เร้า การพัฒนาระบบสารสนเทศเพอื่ การแลกเปล่ียนเรียนรสู้ าหรับนกั ศกึ ษาสหกิจศกึ ษา คณะบริหารธุรกจิ ผ่านการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ นายนพดล สายคตกิ รณ์

20 ใจ เล่าให้เห็นการปฏิบัติ เห็นบุคคล ตัวละครในเหตุการณ์ ใช้ภาษาเชิงปฏิบัติจริง เล่าสิ่งที่ตนเองทาจริงๆ กับมอื ไม่ปรงุ แตง่ ใส่สตี ีไข่ เลา่ เหมือนเล่านิทานเดก็ ฟงั 6. การค้นหาส่ิงดีๆรอบๆตัว: Appreciative Inquiring หรือสุนทรียะสาธก เป็นการมองเชิงบวก พยายามคน้ หาสิ่งดๆี ความสขุ คาช่นื ชม ความดีงามที่อย่ใู นตวั คน ในองคก์ าร ในการทางานหรือนวตั กรรม ตา่ งๆเพอื่ นามาเผยแพร่ให้คนอน่ื ๆได้ทราบ 7. เวทีเสวนา : Dialogue หรือสุนทรียะสนทนา เป็นจัดกลุ่มพูดคุยกันเพ่ือเอาส่ิงดีๆที่แต่ละคนมี อยใู่ นตัวเองหรือในการปฏิบัติออกมา โดยไมข่ ดี วงที่ชัดเจนมากเกนิ ไป มีเพียงการกาหนดประเด็นกวา้ งๆใน เรื่องท่ีจะสนทนากัน ไม่รู้คาตอบสุดท้ายว่าคืออะไร ไม่กาหนดเวลาสนทนาของแต่ละคน เปิดกว้างด้าน เวลา สถานท่ี บุคคลและเปิดกว้างทางใจของทุกคนที่เข้าร่วมกิจกรรมกัน บรรยากาศสบายๆ บรรยากาศ เชิงบวก พูดเรื่องเก่า ท้าวความหลังที่ดีๆ พูดถึงส่ิงที่ทาจริงๆในอดีต ไม่ใช่ความคิดเห็นท่ีจะทาในอนาคต ลักษณะสาคัญของการเข้ากลุ่มสุนทรียะสนทนาในการจัดการความรู้จึงมีลักษณะสาคัญ 4 ประการคือพูด อย่างจริงใจ ฟังอย่างต้ังใจ ถามอยา่ งซาบซ้งึ ใจและจดอยา่ งเขา้ ใจใสใ่ จ 8. เพื่อนช่วยเพื่อน: Peer Assist เชิญทีมอ่ืนมาแบ่งปันประสบการณ์ดีๆให้เรา มาแนะ มาสอน มาบอก มาเลา่ ให้เราไดฟ้ งั เพ่อื จะได้นาไปประยุกตใ์ ชใ้ นหน่วยงานเรา 9. Action Learning การเรียนรู้โดยการปฏิบัติ เป็นการรวมกลุ่มกันของผู้ปฏิบัติเพื่อจะแก้ไข ปัญหาใดปัญหาหน่ึง โดยการวิเคราะห์สาเหตุ วิเคราะห์ทางเลือก เลือกทางเลือกที่เหมาะสมแล้วนาไป ปฏบิ ตั ิ พรอ้ มทง้ั ติดตามประเมนิ ผลเพือ่ ปรับใหด้ ขี นึ้ เรื่อยๆ ในภาษานกั คุณภาพเขาเรยี กทา CQI Story 10.Benchmarking มาตรฐานเปรียบเทียบ เป็นการตกลงกันเองในกลุ่มผู้ปฏิบัติอาจเป็นระดับ บุคคล งาน แผนก ฝ่าย กลุ่มงานหรือองค์การก็ได้ กาหนดประเด็นร่วมกันแล้วนามาเปรียบเทียบกันเพื่อ ร่วมมือกันในการยกระดับงานให้ดีขึ้นเรื่อยๆ ไม่ใช่เปรียบเทียบเพื่อแข่งขันเอารางวัลกัน แต่เปรียบเทียบ เพื่อเรียนรู้ร่วมกัน ในการเปรียบเทียบมาตรฐานปฏิบัติมี 2 แบบคือ Process Benchmarking และ Result Benchmarking เคร่ืองมือที่นาหลักการเปรียบเทียบมาตรฐานปฏิบัติมาใช้คือเครื่องมือชุดธาร ปญั ญา 11. Coaching การสอนงาน เป็นการขับเคลื่อนความรขู้ ้ามบุคคลที่งา่ ยและใกล้ตัวคนทางานมาก ท่ีสดุ ใหผ้ ู้ท่ีมีประสบการณ์มากกวา่ หรือรุน่ พ่ีทมี่ ผี ลงานดี มาแนะนา สอน ใหค้ นท่มี าใหม่หรือคนท่ีมผี ลงาน ไม่ดไี ด้เรยี นรู้ปรบั ปรุงวธิ กี ารทางาน มักใชใ้ นกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ตั หิ รืองานระดบั ปฏิบัติการ 12. Mentoring การเป็นพ่ีเลีย้ ง เป็นการให้คนทางานท่ีอยู่คนละฝ่ายหรอื กล่มุ งานหรือแผนกหรือ แผนกเดียวกันก็ได้ มาช่วยแนะนาวิธีการทางาน ช่วยเหลือสนับสนุน คอยให้คาปรึกษาช้ีแนะ มักใช้ในการ เรียนรใู้ นกลมุ่ ผู้บริหารหรอื ผ้ทู จี่ ะก้าวไปเปน็ ผูบ้ ริหาร 13. Portfolio แฟ้มงานเพื่อการพัฒนา เป็นการบันทึกผลงานดีๆ นวัตกรรมในการทางาน คาช่ืน ชม ความภาคภูมใิ จทงั้ ระดบั บุคคล ระดับแผนกหรือระดับองคก์ าร เรียกอกี อยา่ งวา่ บัญชีความสุข การพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการแลกเปล่ียนเรยี นร้สู าหรบั นักศกึ ษาสหกิจศกึ ษา คณะบรหิ ารธรุ กจิ ผ่านการประมวลผลแบบกลมุ่ เมฆ นายนพดล สายคตกิ รณ์

21 14. บทเรียนจากความผิดพลาด : Lesson Learned ในทางการแพทย์มักจะมีการทาอยู่บ่อยๆ เพื่อลดความผิดพลาดในการรักษาผู้ป่วย ท่ีเรียกว่า Dead case conference ในการทากิจกรรมผิดเป็น ครูน้ี ถ้าเร่ิมทา KM ใหม่ๆ ไม่แนะนาให้ใช้ เพราะคนยังไม่มีความสัมพันธ์กันดีพอ ยังไม่เปิดใจเข้าหากัน อาจเป็นบ่อเกิดของการโทษกันหรือทะเลาะกินใจกันได้ กิจกรรมผิดเป็นครูที่ดี ควรเป็นคนที่ทาผิดพลาด หรือทางานไม่สาเร็จ เป็นผู้ที่นาเอาความผิดพลาดน้ันมาเล่าให้คนอื่นๆฟังอย่างเต็มใจ เล่าให้เห็นวิธีการ เหมือนทาเรอ่ื งเลา่ เร้าพลัง เล่าโดยไมพ่ ยายามปกป้องตนเอง คนฟงั ก็ต้องฟงั อย่างเข้าใจ เห็นใจ ไม่ตาหนิ ไม่ว่ากล่าวโทษ ไม่หาผู้กระทาผิด แต่เป็นการเรยี นรู้จากเหตุการณ์เพ่ือหาสาเหตุของความผิดพลาด จะได้ วางระบบเพื่อป้องกันความผิดพลาดน้ันๆ ไม่ให้คนอ่ืนๆผิดพลาดซ้าอีก ในการทาคุณภาพจะมีการทาการ บรหิ ารความเสี่ยง (Risk management : RM) ก็เป็นไปตามหลักการนี้ กิจกรรมผดิ เปน็ ครนู ้ี ดีมากสาหรับ การเรียนร้ขู องตนเอง เพราะถ้าเราเรยี นรู้แบบผดิ เปน็ ครู กจ็ ะไมเ่ กดิ สภาพทวี่ า่ ผดิ เป็นกู(ทกุ ที) จะเหน็ ได้วา่ เคร่ืองมอื การแลกเปล่ียนเรียนรู้มอี ยู่มากมาย เราต้องเลือกใช้ให้เหมาะกับเวที บุคคล สถานท่ี เหตุการณ์ ก็จะส่งผลประโยชน์ท่ีแท้จริงในการแลกเปลี่ยนได้ เรียกว่า งานได้ผล คนสุขใจ ไปได้ พร้อมๆกนั 2.4 การจัดการความรู้ (Knowledge Management) การจัดการความรู้ (อังกฤษ: Knowledge management - KM) คือ การรวบรวม สร้าง จัด ระเบียบ แลกเปลี่ยน และประยุกต์ใช้ความรู้ในองค์กร โดยพัฒนาระบบจาก ข้อมูล ไปสู่ สารสนเทศ เพอ่ื ใหเ้ กิด ความรู้ และ ปญั ญา ในทสี่ ดุ การจัดการความรู้ประกอบไปด้วยชุดของการปฏิบัติงานที่ถูกใช้โดยองค์กรต่าง ๆ เพื่อท่ีจะระบุ สร้าง แสดงและกระจายความรู้ เพื่อประโยชน์ในการนาไปใช้และการเรียนรู้ภายในองค์กร อันนาไปสู่การ จดั การสารสนเทศที่มีประสิทธภิ าพมากข้นึ ซึ่งเป็นสิ่งทจ่ี าเป็นสาหรบั การดาเนินการธุรกจิ ทีด่ ี องคก์ รขนาด ใหญ่โดยส่วนมากจะมีการจัดสรรทรัพยากรสาหรับการจัดการองค์ความรู้ โดยมักจะเป็นส่วนหนึ่งของ แผนกเทคโนโลยีสารสนเทศหรอื แผนกการจัดการทรัพยากรมนุษย์ รูปแบบการจัดการองค์ความรู้โดยปกติจะถูกจัดให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ขององค์กรและประสงค์ ที่จะได้ผลลัพธ์เฉพาะด้าน เช่น เพื่อแบ่งปันภูมิปัญญา,เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการทางาน, เพ่ือความ ได้เปรียบทางการแขง่ ขัน, หรอื เพอ่ื เพิม่ ระดบั นวตั กรรมใหส้ ูงขึน้ ปัจจุบันโลกได้เข้าสู่ยุคเศรษฐกิจฐานความรู้ (Knowledge-based Economy – KBE) งานต่าง ๆ จาเป็นต้องใช้ความรู้มาสร้างผลผลิตให้เกิดมูลค่าเพิ่มมากยิ่งข้ึน การจัดการความรู้เป็นคากว้างๆ ที่มี ความหมายครอบคลุมเทคนิค กลไกต่าง ๆ มากมาย เพื่อสนับสนุนให้การทางานของแรงงานความรู้ (Knowledge Worker) มีประสิทธภิ าพย่งิ ขน้ึ กลไกดงั กลา่ วได้แก่ การรวบรวมความรู้ทก่ี ระจัดกระจายอยู่ ท่ีต่าง ๆ มารวมไว้ที่เดียวกัน การสร้างบรรยากาศให้คนคิดค้น เรียนรู้ สร้างความรู้ใหม่ๆ ขึ้น การจัด การพฒั นาระบบสารสนเทศเพอื่ การแลกเปลีย่ นเรียนร้สู าหรับนักศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา คณะบรหิ ารธรุ กจิ ผ่านการประมวลผลแบบกลุม่ เมฆ นายนพดล สายคติกรณ์

22 ระเบียบความรู้ในเอกสาร และทาสมุดหน้าเหลืองรวบรวมรายชื่อผู้มีความรู้ในด้านต่าง ๆ และที่สาคัญ ท่ีสดุ คือการสร้างชอ่ งทาง และเง่อื นไขใหค้ นเกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างกนั เพือ่ นาไปใช้พัฒนางาน ของตนให้สัมฤทธ์ผิ ล ประเภทของความรู้ ความรู้สามารถแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้สองประเภท คือ ความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) และความรู้แฝงเร้น หรือความรู้แบบฝังลึก (Tacit Knowledge) ความรู้ชัดแจ้งคือความรู้ท่ี เขียนอธิบายออกมาเป็นตัวอักษร เช่น คู่มือปฏิบัติงาน หนังสือ ตารา เว็บไซต์ Blog ฯลฯ ส่วนความรู้แฝง เร้นคือความรู้ท่ีฝังอยู่ในตัวคน ไม่ได้ถอดออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร หรือบางครั้งก็ไม่สามารถถอดเป็น ลายลักษณ์อักษรได้ ความรู้ที่สาคัญส่วนใหญ่ มีลักษณะเป็นความรู้แฝงเร้น อยู่ในคนทางาน และ ผเู้ ชี่ยวชาญในแต่ละเร่ือง จึงต้องอาศัยกลไกแลกเปล่ียนเรียนรู้ให้คนได้พบกัน สร้างความไวว้ างใจกนั และ ถ่ายทอดความรรู้ ะหว่างกนั และกนั ความรูแ้ บบฝงั ลกึ ความรู้แบบฝังลึก (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ท่ีไม่สามารถอธิบายโดยใช้คาพูดได้ มีรากฐาน มาจากการกระทาและประสบการณ์ มีลักษณะเป็นความเชื่อ ทักษะ และเป็นอัตวิสัย (Subjective) ต้องการการฝึกฝนเพื่อให้เกิดความชานาญ มีลักษณะเป็นเร่ืองส่วนบุคคล มีบริบทเฉพาะ (Context- specific) ทาให้เป็นทางการและส่ือสารยาก เช่น วิจารณญาณ ความลับทางการค้า วัฒนธรรมองค์กร ทักษะ ความเชี่ยวชาญในเร่ืองต่างๆ การเรียนรู้ขององค์กร ความสามารถในการชิมรสไวน์ หรือกระท่ัง ทักษะในการสังเกตเปลวควันจากปลอ่ งโรงงานว่ามีปัญหาในกระบวนการผลิตหรอื ไม่ ความรู้ชดั แจง้ ความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ท่ีรวบรวมได้ง่าย จัดระบบและถ่ายโอนโดยใช้ วิธีการดิจิทัล มีลักษณะเป็นวัตถุดิบ (Objective) เป็นทฤษฎี สามารถแปลงเป็นรหัสในการถ่ายทอดโดย วิธีการท่ีเป็นทางการ ไม่จาเป็นต้องอาศัยการปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นเพื่อถ่ายทอดความรู้ เช่น นโยบายของ องคก์ ร กระบวนการทางาน ซอฟตแ์ วร์ เอกสาร และกลยุทธ์ เป้าหมายและความสามารถขององคก์ ร ความรู้ย่ิงมีลักษณะไม่ชัดแจ้งมากเท่าไร การถ่ายโอนความรู้ย่ิงกระทาได้ยากเท่านั้น ดังนั้นบางคน จึงเรียกความรู้ประเภทน้ีว่าเป็นความรู้แบบเหนียว (Sticky Knowledge) หรือความรู้แบบฝังอยู่ภายใน (Embedded Knowledge) ส่วนความรู้แบบชัดแจ้งมีการถ่ายโอนและแบ่งปันง่าย จึงมีชื่ออีกชื่อหนึ่งว่า ความรูแ้ บบรว่ั ไหลไดง้ า่ ย (Leaky Knowledge) ความสัมพันธ์ของความรู้ทั้งสองประเภทเปน็ ส่ิงที่แยกจาก กันไม่ได้ ต้องอาศัยซึ่งกันและกัน (Mutually Constituted) (Troikas, 1996) เนื่องจากความรู้แบบฝังลึก เป็นสว่ นประกอบของความร้ทู ั้งหมด (Grant, 1996) และสามารถแปลงให้เป็นความรู้แบบชัดแจ้งโดยการ สอ่ื สารดว้ ยคาพูด การพฒั นาระบบสารสนเทศเพ่ือการแลกเปลี่ยนเรยี นรูส้ าหรบั นกั ศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา คณะบริหารธุรกจิ ผา่ นการประมวลผลแบบกลมุ่ เมฆ นายนพดล สายคติกรณ์

23 ตามรูปแบบของเซซี (SECI Model) (ของ Nonaka และ Takeuchi) ความรู้ทั้งแบบแฝงเร้นและ แบบชัดแจ้งจะมีการแปรเปล่ียนถ่ายทอดไปตามกลไกต่าง ๆ เช่น การแลกเปล่ียนเรียนรู้ การถอดความรู้ การผสานความรู้ และการซึมซับความรู้ การจัดการความรู้นัน้ มหี ลายรปู แบบ มหี ลากหลายโมเดล แตท่ ่ีน่าสนใจ คือ การจัดการความรู้ ท่ที า ใหค้ นเคารพศักด์ิศรขี องคนอน่ื เป็นรปู แบบการจดั การความรู้ทเ่ี ช่ือว่า ทุกคนมีความรู้ปฏิบัตใิ นระดับความ ชานาญที่ต่างกัน เคารพความรู้ที่อยู่ในคน เพราะหากถ้าเคารพความรู้ในตาราวิชาการอย่างเดียวนั้น ก็ เทา่ กบั ว่าเปน็ การมองว่า คนทไี่ มไ่ ดเ้ รียนหนงั สือ เป็นคนที่ไมม่ คี วามรู้ ระดบั ของความรู้ หากจาแนกระดบั ของความรู้ สามารถแบ่งออกไดเ้ ป็น 4 ระดับ คือ ความรู้เชิงทฤษฎี (Know-What) เป็นความรู้เชิงข้อเท็จจริง รู้อะไร เป็นอะไร จะพบในผู้ที่สาเร็จ การศึกษามาใหม่ๆ ที่มีความรู้โดยเฉพาะความรู้ท่ีจามาได้จากความรู้ชัดแจ้งซึ่งได้จากการได้เรียนมาก แต่ เวลาทางาน กจ็ ะไม่มนั่ ใจ มกั จะปรึกษารุ่นพกี่ อ่ น ความรู้เชิงทฤษฎีและเชิงบริบท (Know-How) เป็นความรู้เช่ือมโยงกับโลกของความเป็นจริง ภายใต้สภาพความเป็นจริงท่ีซับซ้อนสามารถนาเอาความรู้ชัดแจ้งท่ีได้มาประยุกต์ใช้ตามบริบทของตนเอง ได้ มกั พบในคนท่ีทางานไปหลายๆปี จนเกิดความรู้ฝงั ลกึ ที่เป็นทกั ษะหรือประสบการณ์มากข้ึน ความรู้ในระดับที่อธิบายเหตุผล (Know-Why) เป็นความรู้เชิงเหตุผลระหว่างเร่ืองราวหรือ เหตุการณ์ต่าง ๆ ผลของประสบการณ์แก้ปัญหาท่ีซับซ้อน และนาประสบการณ์มาแลกเปล่ียนเรียนรู้กับ ผู้อ่ืน เป็นผู้ทางานมาระยะหน่ึงแล้วเกิดความรู้ฝังลึก สามารถถ่ายทอดความรู้ฝังลึกของตนเองมา แลกเปล่ียนกับผูอ้ ืน่ หรอื ถ่ายทอดใหผ้ อู้ ืน่ ไดพ้ ร้อมทั้งรับเอาความรจู้ ากผู้อนื่ ไปปรบั ใช้ในบรบิ ทของตนเองได้ ความรู้ในระดับคุณค่า ความเชื่อ (Care-Why) เป็นความรู้ในลักษณะของความคิดริเร่ิม สร้างสรรค์ท่ีขบั ดันมาจากภายในตนเองจะเป็นผู้ทสี่ ามารถสกัด ประมวล วเิ คราะห์ความรทู้ ่ีตนเองมอี ยู่ กับ ความรูท้ ี่ตนเองไดร้ ับมาสรา้ งเป็นองค์ความรู้ใหม่ข้นึ มาได้ เช่น สร้างตัวแบบหรือทฤษฎีใหม่หรือนวัตกรรม ขนึ้ มาใช้ในการทางานได้ กรอบแนวคดิ การจดั การความรู้ ตวั อยา่ งแผนผงั อิชคิ ะวะ แผนผังอิชิคะวะ (Ishikawa diagram) หรอื แผงผังก้างปลา (หรือในชือ่ อื่นของไทยเช่น ตัวแบบทูน่า หรือตัวแบบปลาตะเพียน) เป็นกรอบแนวคิดอย่างง่ายในการจัดการความรู้ โดยให้การจัดการความรู้ เปรียบเสมอื นปลา ซึ่งประกอบดว้ ยส่วนหัว ลาตวั และหาง แตล่ ะส่วนมีหน้าทที่ ี่ต่างกนั ดังนี้ ส่วนหัวและตา (Knowledge Vision - KV) มองว่ากาลังจะไปทางไหน ซ่ึงต้องตอบให้ได้ว่า \"ทา KM ไปเพือ่ อะไร\" ส่วนกลางลาตัว (Knowledge Sharing - KS) ส่วนที่เป็นหัวใจให้ความความสาคัญกับการ แลกเปลีย่ นเรียนรชู้ ว่ ยเหลือ เก้ือกูลกนั และกัน การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการแลกเปลย่ี นเรยี นร้สู าหรับนักศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา คณะบริหารธรุ กจิ ผา่ นการประมวลผลแบบกลุม่ เมฆ นายนพดล สายคตกิ รณ์

24 ส่วนหาง (Knowledge Assets - KA) คือ สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศ \"สะบัดหาง\" สร้างพลงั จากชมุ ชนแนวปฏบิ ตั ิ สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพ่ือสังคม (สคส.) ในประเทศไทย ได้พัฒนาตัวแบบทูน่าเป็น \"ตัว แบบปลาตะเพียน\" โดยมองว่าองค์การมีหน่วยงานย่อย ซ่ึงมีความแตกต่างกัน รูปแบบความรู้แต่ละหน่วย จงึ ต้องปรับให้เหมาะสมกับบรษิ ัทของตน แตท่ ัง้ ฝูงปลาจะหันหน้าไปทิศทางเดียวกัน กรอบความคิดของ Holsapple Holsapple ได้ทบทวนวรรณกรรมเก่ียวกับพัฒนาการของแนวคิด ของการจัดการความรู้ 10 แบบมาประมวล ซ่ึงแสดงถึงส่วนประกอบของการจัดการความรู้ (KM elements) เพ่ือนาไปจัดระบบเป็นองค์ประกอบหลัก 3 ด้านของการจัดการความรู้ (Three-fold framework) ได้แก่ ทรัพยากรด้านการจัดการความรู้ กิจกรรมการจัดการความรู้ และอิทธิพลของการ จัดการความรู้ และให้ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ และผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ให้ ข้อคดิ เห็น วิจารณแ์ ละขอ้ เสนอแนะ ไดผ้ ลออกมาเปน็ กรอบความร่วมมือ (Collaborative Framework) การถ่ายทอดความรู้ การถ่ายทอดความรู้ อันเป็นส่วนประกอบของการจัดการองคค์ วามรู้ ถูกประพฤติปฏิบัติกันมานาน แล้ว ตัวอย่างรูปแบบการถ่ายทอดความรู้ เช่น การอภิปรายของเพื่อนร่วมงานในระหว่างการปฏิบัติงาน, การอบรมพนักงานใหม่อย่างเป็นทางการ, ห้องสมุดขององค์กร, โปรแกรมการฝึกสอนทางอาชีพและการ เป็นพี่เลี้ยง ซึ่งรูปแบบการถ่ายทอดความร้มู ีการพัฒนารูปแบบโดยอาศัยเทคโนโลยีคอมพิวเตอรท์ ่ีกระจาย อย่างกว้างขวางในศตวรรษที่ 20 ก่อให้เกิดเทคโนโลยีฐานความรู้, ระบบผู้เช่ียวชาญและคลังความรู้ ซง่ึ ทา ใหก้ ระบวนการถา่ ยทอดความร้งู ่ายมากขน้ึ การจดั การความรู้ กบั การพัฒนาระบบราชการในประเทศไทย พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี เป็นกฎหมายที่ออกมา เพื่อผลักดันแนวคิดธรรมาภิบาล (Good Governance) ให้เกิดผลเป็นรูปธรรมขึ้น ในมาตรา ๑๑ กาหนด ว่าส่วนราชการมีหน้าที่พัฒนาความรู้ในส่วนราชการ เพื่อให้มีลักษณะเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้อย่าง สม่าเสมอ โดยต้องรับรขู้ อ้ มลู ขา่ วสารและสามารถประมวลผลความรูใ้ นดา้ นต่าง ๆ เพอ่ื นามาประยกุ ต์ใชใ้ น การปฏิบัติราชการได้อย่างถูกต้อง รวดเร็วและเหมาะสมกับสถานการณ์ รวมท้ังต้องส่งเสริมและพัฒนา ความรู้ความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์และปรับเปล่ียนทัศนคติของข้าราชการในสังกัดให้เป็นบุคลากรที่มี ประสิทธิภาพและมีการเรียนรู้ร่วมกัน ท้ังนี้เพ่ือประโยชน์ในการปฏิบัติราชการของส่ว นราชการให้ สอดคล้องกับการบริหารราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามพระราชกฤษฎีกานี้ จึงเป็นท่ีมาของการประเมินผล งานหน่วยราชการต่าง ๆ โดยมีการจัดการความรู้ เป็นข้อหนึ่งด้วย หน่วยราชการไทยจานวนมากจึงเร่ิม สนใจการจดั การความรู้ ดว้ ยสาเหตุน้ี การพฒั นาระบบสารสนเทศเพอื่ การแลกเปล่ยี นเรยี นรู้สาหรับนักศกึ ษาสหกิจศกึ ษา คณะบรหิ ารธรุ กจิ ผ่านการประมวลผลแบบกล่มุ เมฆ นายนพดล สายคตกิ รณ์

25 ภาพที่ 6 แสดงตัวอย่างแผนผังอิชคิ ะวะ 2.5 การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ (Cloud Computing) ปัจจุบันเป็นยุคของโลกสังคมออนไลน์ สังคมดิจิตอล ประชาชนจานวนมากเข้ามาใช้บริการ เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพ่ิมสูงข้ึนเรื่อย ๆ และจากการศึกษาจะพบว่า การนาเทคโนโลยีการประมวลผล แบบกลุ่มเมฆไม่เพียงเพ่ือใช้งานอินเทอร์เน็ตเพียงแค่การสนทนาออนไลน์ (Chat) หรือการตรวจสอบ จดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์ (E-mail) เท่านน้ั ปัจจบุ ันประชากรบนโลกไซเบอร์หันมาใช้บริการหรอื ใชง้ านเพ่ือ เขา้ สงั คมผา่ น ระบบสังคมเครือข่ายออนไลน์ (Social network) มากขึ้น การแชรไ์ ฟล์, อัพโหลดไฟล์, แชร์ วีดโี อต่าง ๆ รวมถงึ การใช้งานผ่าน Application บนบรกิ ารทม่ี ีอยมู่ ากมายตั้งแต่ Search engine, Gmail, Picasa, Google, video, YouTube, maps, blogger เป็นต้น การแขง่ ขันอยา่ งรนุ แรงทางธรุ กิจในปัจจบุ ัน องคก์ รชั้นนาหลายแห่งต่างใหค้ วามสาคญั กับการนา เทคโนโลยีมาใช้เพ่ือเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและการสร้างความแตกต่างขององค์กรในอีกทาง หน่ึง ดังนั้น ธุรกิจท่ีสามารถนาเทคโนโลยีดังกล่าวไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อธุรกิจของตนได้ก่อนก็ย่อมจะ สรา้ งความได้เปรยี บและโอกาสในการตอ่ ยอดความสาเร็จทางธุรกิจขององค์กรได้ในอนาคต ภาพที่ 7 แสดงรูปแบบการทางานของ Cloud Computing [ที่มา: http://lonewolflibrarian.files.wordpress.com/2009/02/cloud-computing-kitchen-sink.jpg] การพัฒนาระบบสารสนเทศเพอ่ื การแลกเปลี่ยนเรยี นรู้สาหรับนักศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา คณะบรหิ ารธุรกจิ ผา่ นการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ นายนพดล สายคติกรณ์

26 Cloud computing จะเข้ามามีบทบาทสาคัญต่อองค์กรธุรกิจ หน่วยงานราชการ และ สถานศึกษา เพราะเทคโนโลยี Cloud Computing เปรียบเสมือนคลังเก็บข้อมูลออนไลนท์ ่ีมีขนาดความจุ มหาศาล บริการรับฝากไฟล์ความจุสูงและบริการด้านข้อมูลนานาชนิดบนโลกออนไลน์แบบไร้ขีดจากัด และสามารถทาใหล้ ูกค้าเข้าถงึ ไดง้ า่ ยและรวดเรว็ ระบบประมวลผลกลุ่มเมฆ เป็นที่ยอมรับกันท่ัวไปในวงการไอทีตั้งแต่ช่วงปลายทศวรรษ 1990 โดยเมื่อต้นปี 2007 บริษัท เดลล์ ได้ยื่นขอจดทะเบียนเคร่ืองหมายการค้า \"Cloud Computing\" สาหรับ ผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์ประเภทศูนย์ข้อมูล (Data Center) และสภาพแวดล้อมของระบบประมวลผลที่ ปรับเปล่ียนขนาดได้ขนาดใหญ่ (Mega-scale computing environment) แต่ในท่ีสุดเมื่อ สานัก สิทธิบัตรและเครื่องหมายการค้าแห่งสหรัฐอเมริกา (United States Patent and Trademark Office : USPTO) ได้ใช้เวลาพิจารณา กว่า 1 ปี การย่ืนขอจดทะเบียนของเดลล์ได้รับการปฏิเสธโดย USPTO ระบุ ว่า ระบบปฏิบัติการกลุ่มเมฆเป็นคาท่ีใช้กันโดยทั่วไปในอุตสาหกรรมไอที ซ่ึงหมายถึง แอพพลิเคช่ันการ ประมวลผลทางไกล (Remote Computing Applications) ภาพท่ี 8 แสดง Application ตา่ งๆ ที่ทางานบนระบบ Cloud Computing [ที่มา: http://707056suchada.files.wordpress.com/2011/07/cloud-computing.png] 2.5.1) นยิ าม และ ความหมายของการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ สาหรับเทคโนโลยีการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ หรือที่รู้จักกันในวงการด้านเทคโนโลยี สารสนเทศส่วนใหญ่จะคุ้นกับคาว่า Cloud Computing นั้นได้มีการให้คาจากัดความ หรือคานิยามไว้ มากมาย อาทเิ ชน่ ฟ อ เร ส เต อ ร์ ก รุ๊ ป ได้ นิ ย า ม ว่ า “เท ค โน โล ยี ก า ร ป ร ะ ม ว ล ผ ล แ บ บ ก ลุ่ ม เม ฆ (cloud computing) คือ กลุ่มของโครงสร้างพ้ืนฐานท่ีถูกบริหารจัดการและขยายตัวได้อย่างมาก ซ่ึงมีขีด ความสามารถในการรองรบั โปรแกรมประยุกต์ต่างๆของผูใ้ ชแ้ ละเก็บคา่ บรกิ ารตามการใชง้ าน” การพัฒนาระบบสารสนเทศเพือ่ การแลกเปลีย่ นเรยี นรสู้ าหรับนักศกึ ษาสหกิจศกึ ษา คณะบริหารธุรกจิ ผา่ นการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ นายนพดล สายคตกิ รณ์

27 บริษัทการ์ตเนอร์ Gartner ได้ให้นิยามว่า “เทคโนโลยีการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ (cloud computing) คือ แนวทางการประมวลผลที่พลังของโครงสร้างทางไอทีขนาดใหญ่ที่ขยายตัวได้ถูกนา เสนอยังลูกค้าภายนอกจานวนมหาศาลในรูปแบบของบรกิ าร” ภุชงค์ อุทโยภาศ, 2553 กล่าวว่า ปัจจุบันมีปริมาณการใช้งานคอมพิวเตอร์มากข้ึน ส่งผล ให้มีคอมพิวเตอร์และเครือข่ายในการให้บริการต่างๆ มากข้ึน ทาให้เกิดภาระในการจัดการเก่ียวกับ คอมพิวเตอร์ จนไม่สามารถตอบสนองความตอ้ งการผ้ใู ช้ได้ โดยเฉพาะการให้บริการเคร่ืองคอมพิวเตอร์ใน หน่วยงาน หรือผู้ให้บริการรับวางเคร่ืองเซิร์ฟเวอร์ปัญหาดังกล่าวแก้ไขได้โดยให้บริการโครงสร้างพื้นฐาน แบบกลุ่มเมฆ โดยผู้ให้บริการจะสร้างเคร่ืองเสมือน เพื่อให้บริการผู้ใช้แทนการให้บริการด้วยเคร่ืองจริง ดังนั้นผู้ใช้จะได้ใช้เคร่ืองเสมือนส่วนตัว ซึ่งติดต้ังซอฟต์แวร์และกาหนดค่าได้อย่างอิสระ โดยไม่ส่งผล กระทบต่อผใู้ ชอ้ นื่ ในระบบ นักงานสถิติแห่งชาติ, 2553 กล่าว่า Cloud Computing เป็นการประมวลผลท่ีอิงกับความ ต้องการของผู้ใช้ โดยผู้ใช้สามารถระบุความต้องการไปยังซอฟต์แวร์ของระบบ Cloud Computing จากน้ันซอฟต์แวร์จะร้องขอให้ระบบจัดสรรทรัพยากร และบริการให้ตรงกับความต้องการผู้ใช้ โดยระบบ สามารถเพิ่มและลดจานวนทรัพยากร รวมถึงเสนอบริการให้พอเหมาะกับความต้องการของผู้ใช้ได้ ตลอดเวลาโดยท่ผี ใู้ ชไ้ ม่จาเป็นตอ้ งทราบการทางานเบ้อื งหลัง เทคโนโลยกี ารประมวลผลแบบก้อนเมฆ สามารถแบ่งความหมายได้ 2 ส่วน คือ Cloud มาจากสัญลักษณ์รูปก้อนเมฆ (Cloud) ที่เราใช้แทนสัญลักษณ์เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เปรียบเสมอื นเมฆที่ปกคลมุ ทรพั ยากรคอมพิวเตอร์และผู้ใชจ้ านวนมหาศาล Computing คอื การคานวณ หรือการประมวลผล ถ้ามองทางดา้ นวิทยาศาสตรก์ ายภาพ จะ เปน็ การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทาการประมวลผลโปรแกรมท่รี ับเข้าไป ซึ่งเขา้ ใจกนั ดวี ่าเปน็ การประมวลผล ขอ้ มลู คอมพวิ เตอร์ Cloud computing คือ ระบบคอมพิวเตอร์ท่ีมีการประมวลผลอยู่ในระบบอินเทอร์เน็ต บน รูปแบบของโครงสร้างการประมวลผลขนาดใหญ่ที่ทางานและมีการแบ่งปันทรัพยากรการประมวล ผล รว่ มกันบนอนิ เทอรเ์ นต็ จากคานยิ ามข้างต้นสามารถสรุปได้ว่า เทคโนโลยีการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ หรอื Cloud Computing คือ ลักษณะของการทางานของผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ผ่านอินเทอร์เน็ต ที่ให้บริการใดบริการ หนึ่งกับผู้ใช้ โดยผู้ให้บริการจะแบ่งปันทรัพยากรให้กับผู้ต้องการใชง้ าน โดยผู้ใช้สามารถระบุความต้องการ ไปยังซอฟต์แวร์ของระบบได้โดยท่ีไม่จาเป็นต้องติดตั้ง Software และสามารถร้องขอการใช้บริการน้ันได้ ตลอดเวลา ท่ีสถานที่ เพียงแต่มีอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับการเช่ือมต่อเข้าสู่อินเตอร์เน็ตเท่าน้ัน เหตุผลเพื่อ ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายขององค์กร ในการเช่ือมต่อและการบารุงรักษาอุปกรณ์ ทั้งด้าน Hardware และ Software การพัฒนาระบบสารสนเทศเพอื่ การแลกเปล่ียนเรียนรู้สาหรบั นกั ศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา คณะบริหารธรุ กจิ ผ่านการประมวลผลแบบกลุม่ เมฆ นายนพดล สายคติกรณ์

28 2.5.2) องคป์ ระกอบของระบบประมวลผลกลุ่มเมฆ ระบบประมวลผลกล่มุ เมฆ จาเป็นต้องอาศยั องค์ประกอบที่สาคัญคือ ภาพที่ 9 องคป์ ระกอบของระบบประมวลผลกลุม่ เมฆ [ทมี่ า: cloud expo \"Introducing the Cloud Pyramid\"] 1) อินเตอร์เน็ตท่ีมชี ่องสัญญาณสูงจนเกือบจะไมม่ จี ากัด (Nearly unlimited bandwidth) 2) เทคโนโลยรี ะบบเสมอื นจริง (Increasingly sophisticated virtualization technologies) 3) สถาปัตยกรรมเครือข่ายที่รองรับการเข้าถึงพร้อมกันจานวนมาก (Multitenant Architectures) 4) การใช้งานของเซิรฟ์เวอร์ประสิทธิภาพสูง (Availability of extremely powerful servers) 2.5.3) โครงสรา้ งของเทคโนโลยกี ารประมวลผลแบบกลมุ่ เมฆ การประมวลผลแบบกลุม่ เมฆจะมีโครงสรา้ งของระบบจะประกอบไปด้วย 1) กลุ่มเมฆของเซอร์ฟเวอร์ (cloud server) ซึ่งเป็นเซอร์ฟเวอร์จานวนมหาศาลนบั หม่ืนนับ แสนเครือ่ งท่ีตั้งอยู่ในท่ีเดียว กัน กลุ่มเมฆน้ีต่อเชอื่ มเข้าหากันด้วยเครือข่ายเป็นระบบกรดิ ในระบบน้ีจะใช้ ซอฟต์แวร์เวอร์ชว่ ลไลเซช่ันในการทางานเพ่ือให้โปรแกรม ประยกุ ต์ขนึ้ กับระบบน้อยที่สดุ 2) ส่วนติดต่อกับผู้ใช้ (User interaction interface) ทาหน้าท่ีรับคาขอบริการจากผู้ใช้ใน รูปแบบเวบโปรโตคอล 3) สว่ นจัดเก็บรายการบริการ (Services Catalog) เก็บและบรหิ ารรายการของบริการ ผู้ใช้ สามารถคน้ ดบู ริการทีม่ จี ากทีน่ ่ี 4) ส่วนบริหารงาน (System Management) ทาหน้าท่ีกาหนดทรัพยากรที่เหมาะสมเมื่อ ผูใ้ ช้เรียกใชบ้ ริการ เมอื่ มกี ารขอใช้บริการ ขอ้ มลู การขอ request จะถูกส่งผา่ นใหส้ ่วนนี้ การพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการแลกเปลีย่ นเรียนรูส้ าหรับนกั ศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา คณะบริหารธุรกจิ ผา่ นการประมวลผลแบบกล่มุ เมฆ นายนพดล สายคติกรณ์

29 5) ส่วนจัดหาทรัพยากร (Provisioning Services) จากน้ันส่วนบริหารงานจะติดต่อกับส่วน น้ี เพื่อจองทรัพยากรจากกลุ่มเมฆและเรียกใช้โปรแกรมประยุกต์แบบเวบที่เหมาะสมให้ เมื่อโปรแกรม ประยกุ ต์ทางานแล้วกจ็ ะส่งผลท่ไี ด้ให้ผู้ใชท้ เี่ รยี กใชบ้ ริการ ตอ่ ไป 6) ส่วนตรวจสอบข้อมูลการใช้งาน (Monitoring and Metering) เพื่อใช้ในการเก็บ คา่ บริการหรอื เกบ็ ขอ้ มลู สถติ เิ พ่อื ปรบั ปรงุ ระบบต่อไป 2.5.4) การพัฒนาโปรแกรมประยกุ ตเ์ พื่อประมวลผลบนกลุม่ เมฆ การพัฒนาเทคโนโลยีการบริหารและการโปรแกรมระบบกลุ่มเมฆส่วนใหญ่ยังเป็นแบบ เฉพาะของแต่ละบริษัท อย่างไรก็ตาม ทางบริษัท google ได้เข้ามาสนับสนุนโครงการ ซึ่งเป็นโครงการ โอเพ่นซอร์สที่พัฒนาระบบ โปรแกรมแบบ Map Reduce ตามที่ google ได้ออกแบบไว้ ระบบโปรแกรม แบบนี้ใช้หลักการของการสร้าง Map ของข้อมูลและการ คานวณอย่างรวดเร็ว และ ส่งลงไปยัง เซอร์ฟเวอร์ต่างๆในกลุ่มเมฆ เม่ือคานวณเสร็จ ผลท่ีได้จะถูก reduce มารวมเป็นคาตอบ ดังนั้นการ พฒั นาโปรแกรมประยุกตก์ ลมุ่ เมฆ เร่มิ จงึ มีความเปน็ มาตรฐานมากขน้ึ ในมุมมองของผู้ใช้ระบบประมวลผลแบบกลุ่มเมฆจะหายไปเหลือเพียงบริการหรือ เซอร์วิส เทา่ นั้น ซึง่ โมเดลหลักจะมสี องแนวทางด้วย คือ 1) SAAS (Software As A Services) ซึ่งบริการทุกอย่างรวมถึง User Interface ทาจาก ระบบประมวลผลแบบกลุ่มเมฆหมด ตัวอย่างเช่น google search, google app เป็นต้น ข้อดีคือ ผู้ใช้ สามารถใช้ระบบโดยไม่ต้องลงซอฟต์แวร์ใดๆ นอกจาก web browser และยังง่ายต่อการพัฒนาใน Mobile Device แต่อาจต้องการเครอื ขา่ ยท่เี รว็ และเสถยี ร 2) Software + Services ของไมโครซอฟต์ซ่ึงต้องลงซอฟต์แวร์บนเคร่ืองของผู้ใช้ แต่การ ประมวลผลขนาดใหญ่หรือขีดความสามารถเพ่ิมเติมจะทาจาก กลุ่มเมฆแทน ข้อดีคือ การทางานจะ ตอบสนองได้ดีกว่าและสามารถประมวลผลเองได้บางส่วนโดยไม่ต้องมี เครือข่าย อย่างไรก็ตามผู้ใช้ต้อง บารุงรกั ษาซอฟตแ์ วรท์ ล่ี งไวท้ าใหเ้ กิดความซบั ซ้อน มากกว่าในส่วนนี้ การพฒั นาระบบสารสนเทศเพอ่ื การแลกเปลย่ี นเรียนร้สู าหรบั นกั ศกึ ษาสหกิจศกึ ษา คณะบริหารธุรกจิ ผา่ นการประมวลผลแบบกล่มุ เมฆ นายนพดล สายคติกรณ์

30 ภาพที่ 10 แสดงโครงสรา้ งของเทคโนโลยกี ารประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ [ท่ีมา: http://www.mohamedfawzy.com/?p=31] จากภาพโครงสร้างของเทคโนโลยีการประมวลผลแบบกลมุ่ เมฆ มีโครงสรา้ งตามลาดบั ชั้นตา่ งๆ ดังนี้ 1) Software As a Service (Saas) คือ Cloud Application Layer เป็นสว่ นนาข้อมลู ในระบบมา ทาการประมวลผลตามคาร้องขอผ่านโปรแกรม ประยุกต์ ซ่ึงส่วนน้ีเป็นส่วนของการติดต่อระหว่างผู้ใช้กับ Cloud Computing การทางานจะเป็นลักษณะของ Web Application จึงไม่ต้องติดตั้งโปรแกรม เช่น Hotmail, Gmail, Google doc, Twitter เปน็ ตน้ 2) Pass คือ ส่วนของ Cloud software environment layer ทาหน้าที่ในการให้บริการเครอื่ งมือ พัฒนาโปรแกรมประยุกต์บน Cloud Computing เช่น Google App Engine 3) Iaas คือ Cloud Software Infrastructure layer สาหรับการสร้างระบบ Virtual Machines เช่น Amazon Elastic Cloud (EC2), SunGrid , Gogrid เป็นต้น 4) Daas คอื ระบบการจัดเก็บข้อมูลแบบ Data Storage ทม่ี ีขนาดใหญ่ รองรับการสืบค้นและการ จัดการข้อมูลระดบั สูงเช่น Amazon’s S3 เป็นตน้ 5) Caas คือ ส่วนของ Composite Service ทาหน้าท่ีรวบรวมโปรแกรมประยุกต์ จัดลาดับการ เช่ือมโยงแบบ Workflow ข้าม Network และจัดการเรื่องการรักษาความปลอดภัย เช่น Microsoft connected service framework การพฒั นาระบบสารสนเทศเพ่อื การแลกเปลีย่ นเรยี นรูส้ าหรบั นักศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา คณะบริหารธรุ กจิ ผา่ นการประมวลผลแบบกลมุ่ เมฆ นายนพดล สายคติกรณ์

31 2.5.5) ประเภทของเทคโนโลยี Cloud Computing สามารถจาแนกประเภทตามลักษณะการใชง้ านได้ 4 ประเภท ดงั น้ี คอื ภาพที่ 11 รูปแบบการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆประเภท Public Clouds [ที่มา: http://www.definethecloud.net/tag/public-cloud] 1) Public Clouds : เป็นระบบบริการทั่วไปเพ่ือบริการลูกค้าจานวนมาก ราคาไม่แพง ผู้ใช้ท่ัวไป สามารถเข้าถึงได้ ภาพท่ี 12 รปู แบบการประมวลผลแบบกลุม่ เมฆประเภท Private Clouds [ท่ีมา: http://www.vmware.com/energize-and-save/cloud-services.html] การพัฒนาระบบสารสนเทศเพอื่ การแลกเปล่ยี นเรียนรสู้ าหรับนกั ศกึ ษาสหกิจศกึ ษา คณะบรหิ ารธุรกจิ ผ่านการประมวลผลแบบกล่มุ เมฆ นายนพดล สายคตกิ รณ์

32 2) Private Clouds : เป็นระบบที่มีความเฉพาะ เพ่ือทางานให้ลูกค้าโดยเช่ือมต่อการทางาน โดยตรงผ่าน Cloud Provider มรี ะบบการจดั การฐานข้อมลู และมีความปลอดภยั ที่ดี ภาพท่ี 13 รปู แบบการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆประเภท Community Clouds [ท่ีมา: http://gopikannanparthiban.blogspot.com] 3) Community Clouds : โครงสร้างพ้ืนฐานของ cloud ที่ใช้จากหลายๆหน่วยงาน หลายองค์กร เพอ่ื การสรา้ ง Cloud แตใ่ ช้วิธแี บ่งปนั และบริหารร่วมกนั ภาพท่ี 14 รูปแบบการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆประเภท Community Clouds [ทีม่ า: http://gopikannanparthiban.blogspot.com] การพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่อื การแลกเปล่ียนเรยี นรู้สาหรบั นกั ศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา คณะบรหิ ารธรุ กจิ ผา่ นการประมวลผลแบบกลมุ่ เมฆ นายนพดล สายคติกรณ์

33 4) Hybrid Clouds : เปน็ ระบบเชื่อมระหวา่ งสองระบบคือ Public Clouds และ Private Clouds สามารถสง่ ขอ้ มลู และคาสง่ั ข้าม Application ของทงั้ สองระบบ 2.5.6) คุณลักษณะเฉพาะตัวของการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ (Cloud Computing) สามารถ สรุปไดด้ ังน้ี 1) ความเรว็ ในการประมวลผลข้อมูล (Agility) ผู้ใช้งานระบบการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ นน้ั จะรสู้ ึกเหมือนทุกอย่างผา่ นไปอย่างรวดเรว็ เม่ือเทียบกบั การทางานโดยปกติทวั่ ไป 2) ความคุ้มค่า (Cost) เทคโนโลยีการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆสามารถช่วยลดค่าใช้จ่าย สาหรบั องค์กร และอาจมีการใหบ้ ริการฟรสี าหรับผใู้ ชง้ านทั่วไป 3) สามารถใช้งานได้ทุกที่ ทุกเวลา และไม่จากัดอุปกรณ์ (Device and location independence) คือ สามารถใช้งานเทคโนโลยีน้ีได้ทุกที่ทุกเวลา เพียงแค่มีอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ท่ี สามารถทาการเชอื่ มตอ่ กบั ระบบเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ตได้ 4) สามารถแบ่งปันทรัพยากรได้ง่าย (Multi-tenancy) การนาเทคโนโลยีการประมวลผล แบบกลุ่มเมฆมาใช้งาน สามารถแบ่งปันทรพั ยากรที่มีอยู่ในระบบไปให้ผู้ใช้อีกจานวนมากมายมหาศาลได้ ใช้งานได้ เช่น Centralization สร้างจดุ ศูนยร์ วมบริการอย่าง Real estate เปน็ ตน้ 5) ความน่าเช่ือถือของระบบ (Reliability) เม่ือมองด้านของธุรกิจ ความน่าเช่ือถือของ ระบบหรือขอ้ มูลเป็นสิ่งดึงดดู ความสนใจของลูกค้าและสามารถสร้างผลกาไรเขา้ สู่องคก์ ารได้อย่างมากมาย มีความพร้อมสาหรับการรับมอื กับภัยคุกคามข้อมูลต่างๆ ทาให้ลูกค้าสร้างความไว้วางใจได้ว่า โอกาสของ ความเสยี หรือผลกระทบต่อข้อมูลค่อนข้างน้อยเมื่อเทยี บกบั การใชเ้ ทคโนโลยีแบบเดมิ 6) ความสามารถในการขยายระบบ (Scalability) ระบบการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ สามารถปรับเปลี่ยนขนาดของหน่วยความจาและอุปกรณ์ต่างๆ ไปตามความต้องการของผู้ใช้ และ เตรียมพร้อมสาหรบั การรองรับเทคโนโลยหี ลายๆรปู แบบ 7) ความปลอดภัยของระบบ (Security) เนื่องจากเทคโนโลยี Cloud Computing มี ปริมาณการจัดเก็บข้อมูลโดยรวมอยู่ท่ีเดียวกันอย่างมหาศาล การรักษาความปลอดภัยของข้อมูลนั้น ยิ่ง ต้องให้ความสาคัญเปน็ อย่างมาก เพื่อสรา้ งความไว้วางใจใหก้ บั ผใู้ ช้งานระบบ การพฒั นาระบบสารสนเทศเพือ่ การแลกเปลีย่ นเรียนรูส้ าหรับนกั ศกึ ษาสหกิจศกึ ษา คณะบริหารธรุ กจิ ผา่ นการประมวลผลแบบกลมุ่ เมฆ นายนพดล สายคตกิ รณ์

34 2.5.7) ตวั อย่างของการนาเทคโนโลยกี ารประมวลผลแบบกลมุ่ เมฆมาใช้งานในองคก์ ร ภาพที่ 15 ตวั อย่างของการนาเทคโนโลยกี ารประมวลผลแบบกลุม่ เมฆมาใช้งานในองคก์ ร ตวั อย่างของการนาเทคโนโลยีการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆมาใช้งานในองค์กร เช่น การที่นาระบบ Cloud Computing ไปประยุกต์ใช้ในด้าน บริการโฆษณา, ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์, ระบบจัดการ ทรัพยากรมนุษย์, และระบบชาระเงินออนไลน์ต่าง ๆ อีกท้ังนาไปใช้กับเทคโนโลยี GIS (Geographic Information System) ในการเก็บข้อมูลด้านแผนท่ีหรือข้อมูลในลักษณะท่ีเป็นภาพต่างๆ เช่น ภาพ ดาวเทยี ม (Satellite images) ภาพถ่ายทางอากาศ (Arial photographs) หรอื การนาไปใชเ้ พ่ือรองรับกับ เทคโนโลยี 3G ในอนาคต สโู่ ลกประมวลผลยุคใหม่ เป็นตน้ 2.6 สหกจิ ศึกษา (Cooperative Education) สมาคมสหกิจศึกษา ได้ให้คาจากัดความของสหกิจศึกษา ว่า เป็นระบบการศึกษาที่เน้น ประสบการณ์ที่ได้รับจากการปฏิบัติงานจริงในสถาน ประกอบการ (Work-based learning) โดยท่ี สถาบันอุดมศึกษาจัดให้นิสิต/นักศึกษาที่กาลังศึกษาในระดับปริญญาตรี ไปปฏิบัติงานจริงในสถาน ประกอบการอยา่ งเป็นระบบก่อนสาเร็จการศกึ ษา โดยท่ีนสิ ิต/นักศึกษาจะตอ้ งปฏิบัตงิ านจริงแบบเต็มเวลา ตรงตามสาขาวิชาชีพและ เป็นประโยชน์ต่อสถานประกอบการ เสมือนหน่ึงเป็นเจ้าหน้าท่ีหรือพนักงาน ปฏิบัติงานช่ัวคราว ณ สถานประกอบการท่ีให้ความร่วมมือ เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 16 สัปดาห์ (1 ภาค การศึกษา) ซึ่งในการปฏิบัตงิ านน้ันสถานประกอบการอาจกาหนดให้นสิ ิต/นักศึกษาสหกิจศึกษาปฏิบัติงาน ในตาแหน่งที่มหี น้าทร่ี ับผดิ ชอบทแ่ี น่นอน โดยงานที่ได้รับมอบหมายเป็นงานที่มีคุณภาพ เช่น ผู้ช่วยวศิ วกร ผู้ชว่ ยนักวชิ าการ ผู้ช่วยงาน ฯลฯ หรือ กาหนดงานเป็นโครงงานพิเศษที่เป็นประโยชน์กับสถานประกอบการและสามารถทาสาเร็จ ได้ ภายใน 16 สัปดาห์ โดยสถานประกอบการจะจัดหาพ่ีเลี้ยงหรือพนักงานท่ีปรึกษา (Mentor หรือ Job การพัฒนาระบบสารสนเทศเพอื่ การแลกเปลีย่ นเรยี นรสู้ าหรบั นักศกึ ษาสหกิจศกึ ษา คณะบริหารธุรกจิ ผ่านการประมวลผลแบบกลมุ่ เมฆ นายนพดล สายคตกิ รณ์

35 Supervisor) ทาหน้าที่กากับและดูแลการทางานของนิสิต/นักศึกษาสหกิจศึกษา ท้ังนี้ ในการปฏิบัติงาน ของนิสิต/นักศึกษา สหกิจศึกษา อาจจะได้รับเงินเดือน ค่าจ้าง สวัสดิการ หรือค่าตอบแทนอ่ืนตามความ เหมาะสมจากสถานประกอบการ และหลังจากเสร็จสิ้นภารกิจจะมีการประเมินผลการปฏิบัติงานโดย อาจารยน์ เิ ทศและ พนักงานท่ีปรกึ ษาของนสิ ติ /นักศึกษาสหกิจศึกษา การปฏิบัติสหกิจศึกษา หรือ ที่คนทั่วไปเคยรู้จักในช่ือท่ีเรียกท่ัวไปว่า “การฝึกงาน” แต่มีความ แตกต่างกันในหลายประการอาทิ เช่น รูปแบบของการขอเข้าไปปฏิบัติงาน หากเป็นรูปแบบสหกิจศึกษา นักศึกษาต้องเขียน และยื่นใบสมัครต่อองค์กรผู้ใช้บัณฑิตในลักษณะเดียวกันกับการสมัครงาน และต้อง ผ่านการสอบสมั ภาษณ์ และการคดั เลือกจากองค์กรผู้ใช้บัณฑติ ส่วนของการฝกึ งาน โดยสว่ นใหญ่มักไม่มี การย่ืนใบสมัครและสัมภาษณน์ ักศึกษาแต่พิจารณาจาก หนังสือ/จดหมายขอความอนุเคราะห์รบั นกั ศกึ ษา ฝึกงานจากสถาบันอุดมศึกษา ในด้านลักษณะการทางาน สหกิจศึกษา จะเน้น การเรียนรู้โดยใช้ ประสบการณ์จากการทางานจริงเป็นหลัก หรือ Work-based learningหรือโครงงานพิเศษ (Project) ที่ ใช้ความรู้ตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาของนักศึกษาและเป็นประโยชน์กับองค์กรผู้ใช้บัณฑิต ส่วนการ ฝกึ งาน ขนึ้ อยู่กับองคก์ รผู้ใชบ้ ณั ฑติ บางครั้งงานท่ีไดร้ ับมอบหมาย ไม่ตรงกับสาขาวชิ าท่ีเรยี น เปน็ ต้น การปฏิบัติสหกิจศึกษาเป็นการเสริมทักษะและประสบการณ์ให้พร้อมสาหรับการทางานท้ังใน ระหว่างการศึกษาและภายหลังการศึกษา โดยนักศึกษาจะได้นาความรู้จากภาคทฤษฏีไปสู่การฝึกการ ปฏิบัติในระยะเวลาที่กาหนด การเข้าสู่วิชาชีพต้องมีการฝึกฝน ขัดเกลา และหล่อหลอมคุณลักษณะท่ีพึง ประสงคข์ องบัณฑิตท้ัง 5 ด้าน ตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิอุดมศกึ ษาแหง่ ชาติ คอื 1) ด้านคณุ ธรรมจริยธรรม 2) ด้านความรู้ 3) ดา้ นทกั ษะทางปัญญา 4) ดา้ นทกั ษะความสมั พนั ธร์ ะหว่างบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ และ 5) ดา้ นทกั ษะการวิเคราะห์การส่อื สาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.6.1 วัตถุประสงคข์ องสหกิจศกึ ษา มดี งั ต่อไปน้ี 1) เตรียมความพร้อมของนักศึกษา ด้านการพัฒนาอาชีพ (Career Development) และ เสรมิ ทักษะ และ ประสบการณใ์ หพ้ รอ้ มทจี่ ะเข้าสรู่ ะบบการทางาน (Employability) 2) เพิ่มเติมประสบการณ์ทางด้านวิชาการ วิชาชีพ และการพัฒนาตนเองแก่นักศึกษาใน รูปแบบทม่ี ีคณุ คา่ เหนือกว่าการฝึกงาน 3) เปิดโอกาสให้สถานประกอบการทั้งภาคเอกชน และภาครัฐได้มีส่วนร่วมในการพัฒนา คณุ ภาพบัณฑติ การพฒั นาระบบสารสนเทศเพอ่ื การแลกเปล่ยี นเรยี นรสู้ าหรับนักศกึ ษาสหกิจศกึ ษา คณะบริหารธรุ กจิ ผ่านการประมวลผลแบบกลมุ่ เมฆ นายนพดล สายคตกิ รณ์

36 4) ให้เกิดการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนที่ทันสมัยได้มาตรฐานและตรงกับความ ต้องการของตลาดแรงงานมากยิ่งขึน้ 5) เพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสถานประกอบการ และสถาบันอุดมศึกษาผ่านนักศึกษา สหกิจศึกษาและคณาจารยน์ เิ ทศ อนั จะนาไปสคู่ วามร่วมมือทีก่ วา้ งขวางยง่ิ ขึน้ 2.6.2. ความสาคัญและประโยชน์ของสหกจิ ศกึ ษาและประโยชน์ของสหกจิ ศึกษา 1) สหกิจศึกษาทวีความสาคัญมากขึ้น มีสถาบันอุดมศึกษา ในประเทศต่าง ๆ ท่ัวโลกใช้สห กิจศกึ ษาเป็นแนวการจัดการศึกษาระดับปริญญากว้างขวางขึ้นในเกือบจะทุก สาขาวิชา โดยมเี ป้าประสงค์ ตรงกัน คือ การเสริมคุณภาพบัณฑิต ผ่านประสบการณ์ทางานในสถานประกอบการ เพ่ือการพัฒนา คณุ ภาพบัณฑิต ตามมาตรฐานวิชาการและวิชาชีพ รวมท้ังตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน ถือเป็น ส่วนสาคัญของการเตรียมบัณฑิตให้พร้อมที่จะเลือกอาชีพ และเข้าสู่ระบบการทางานทันทีท่ีจบการศึกษา ทาใหบ้ ณั ฑติ สหกจิ ศกึ ษา “รูจ้ กั ตน รูจ้ กั คน และร้จู กั งาน” 2) ใครได้ประโยชน์จากสหกิจศึกษา ประมวลได้จากผลการจัดสหกิจศึกษาในประเทศไทย ของสถาบนั อดุ มศึกษาตา่ ง ๆ ดังต่อไปนี้ ก) นกั ศกึ ษา • ได้ประสบการณ์วชิ าชพี ตรงตามสาขาวิชาเอก • มผี ลการเรยี นในสถาบันอดุ มศึกษาหลงั สหกิจศึกษาดีขึน้ • เกดิ การพัฒนาตนเอง มั่นใจในตนเองมากขนึ้ • เกดิ ทกั ษะการสอื่ สารรายงานข้อมูล • มโี อกาสไดร้ บั การเสนองานก่อนสาเร็จการศกึ ษา • เลือกสายงานอาชพี ได้ถกู ต้อง • ได้รับค่าตอบแทนขณะศกึ ษา • เปน็ บัณฑติ ทีม่ ศี กั ยภาพและความพรอ้ มในการทางานสูง ข) สถาบนั อดุ มศึกษา • เกิดความร่วมมือทางวชิ าการและความสมั พันธท์ ีด่ กี ับสถานประกอบการ • ได้ขอ้ มลู ยอ้ นกลับมาปรบั ปรงุ หลกั สตู รและการเรียนการสอน • สหกิจศึกษาชว่ ยให้สถาบนั อุดมศึกษาได้รับการยอมรบั จากตลาดแรงงาน ค) สถานประกอบการ • มนี ักศึกษาชว่ ยปฏบิ ตั งิ านตลอดปี • พนกั งานประจามเี วลาทจ่ี ะทางานสาคญั ไดม้ ากขึ้น • ใช้เป็นวธิ ีคัดเลอื กพนกั งานได้ถกู ต้องเหมาะสมยิ่งข้นึ การพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้สาหรับนักศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา คณะบริหารธุรกจิ ผา่ นการประมวลผลแบบกลมุ่ เมฆ นายนพดล สายคติกรณ์

37 • มีโอกาสสร้างความรว่ มมอื ทางวิชาการกบั สถาบนั อุดมศึกษา • เกิดภาพพจน์ทด่ี ีด้านการส่งเสริมการศึกษา 3) ผลสัมฤทธิ์ของสหกิจศึกษา ผลประเมินของสถาบันอุดมศึกษาและสานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาพบวา่ • บณั ฑิตสหกจิ ศึกษาได้งานเร็วกวา่ และมากกว่าบัณฑติ ทไี่ ม่ได้ร่วมสหกิจศกึ ษา • ผูป้ ระกอบการพอใจคุณภาพบัณฑติ สหกิจศึกษาสงู กว่าบณั ฑิตทไ่ี มไ่ ด้ร่วมสหกิจศกึ ษา • สถาบันอุดมศึกษาเห็นว่าผู้ผ่านสหกิจศึกษามีวุฒิภาวะความรับผิดชอบและมีวินัย สูงขน้ึ สาหรับการจัดการเรียนการสอนสหกิจศึกษาของคณะบริหารธุรกิจ มทร.รัตนโกสินทร์ หลักสูตร บริหารธรุ กิจบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2556) ได้กาหนดให้นักศกึ ษาต้องทาการลงทะเบียนเรยี นใน กลมุ่ วิชาสหกจิ ศึกษา ในรายวชิ าเตรียมสหกจิ ศึกษา (Pre-Cooperative Education) และ รายวิชา สหกิจ ศึกษา (Cooperative Education) รวมจานวน 7 หน่วยกิต โดยสหกิจศึกษาเป็นการปฏิบัติงานเสมือน เป็นพนกั งานในสถานประกอบการทม่ี กี ารดาเนนิ งาน ดา้ นสาขาวิชาชีพทางบริหารธรุ กิจหรือทเี่ กย่ี วข้องกับ วิชาชีพ ไม่น้อยกว่า 16 สัปดาห์ต่อเน่ือง ให้นักศึกษานา ความรู้ความสามารถไปประยุกต์ใช้ในการ ปฏิบตั งิ าน นกั ศึกษาสามารถเรียนรู้ประสบการณ์จากการปฏิบัติงานและการแกไ้ ขปัญหาท่ีเกดิ ข้ึนจริง โดย ต้องแสดงงานที่ได้รับมอบหมายอย่างชัดเจน ต้องจัดส่งผลงานในรูปแบบของรายงานตามที่สาขาวิชา กาหนด และนาเสนอผลงานในการสัมมนาเม่ือเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน (คาอธิบายรายวิชา หลักสูตร ปรับปรุง พ.ศ. 2556) โดยการประเมินผลการศึกษา ให้ค่าระดับคะแนนเป็น 2 ค่าคะแนน คือ พอใจ (S) หรือ ไมพ่ อใจ (U) 2.7 งานวิจยั ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง กรรวิภา , 2556 นาเสนองานวิจัยเร่ือง การพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่าน การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ เป็นการวิจัยและพัฒนาโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สังเคราะห์กรอบแนวคิด การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการแลกเปล่ียนเรียนรู้ผ่านการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ 2) พัฒนาระบบ สารสนเทศเพื่อการแลกเปล่ียนเรียนรู้ผ่านการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ 3) หาประสิทธิภาพของระบบ สารสนเทศเพ่ือการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ 4) ศึกษาความพึงพอใจในการใช้ ระบบสารสนเทศเพื่อการแลกเปล่ียนเรียนรู้ผ่านการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ และ 5) ศึกษาผลการ แลกเปล่ียนเรียนรู้โดยใช้ระบบสารสนเทศเพ่ือการแลกเปล่ียนเรียนรู้ผ่านการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ ผลการวิจัย พบว่า 1.ระบบสารสนเทศเพ่ือการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ ประกอบด้วย 3 โมดูล คือ 1) Presentation Tools คือ Joomla Start Page 2) Knowledge Sharing Tools คือ Google Calendar, Google Drive, Google Docs และ 3) Communication Tools คือ การพัฒนาระบบสารสนเทศเพอื่ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับนักศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา คณะบริหารธรุ กจิ ผ่านการประมวลผลแบบกลุม่ เมฆ นายนพดล สายคติกรณ์

38 Facebook, Gmail, Google Hangout 2.ระบบสารสนเทศเพ่ือการแลกเปล่ียนเรียนรู้ผ่านการ ประมวลผลแบบกลุ่มเมฆมีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก 3. ผู้ใช้งานระบบสารสนเทศเพื่อการแลกเปลี่ยน เรยี นร้ผู ่านการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆมคี วามพึงพอใจอยใู่ นระดับมากทส่ี ดุ ประณต , 2556 นาเสนองานวิจัยเร่ืองการพัฒนา Private Cloud รูปแบบบริการ IaaS ถึง SaaS สาหรับอีเลิร์นนิง โดยเป็นการนาเสนอ การตอบสนองของสถาบันการศึกษาต่อปัจจัยดังกล่าวข้างต้นโดย ใช้อีเลิร์นนงิ ท่ีทางานบนระบบ Cloud computing โดยประกอบด้วย กรอบงานการใช้เทคโนโลยี Cloud computing สาหรับสถาบันการศึกษารูปแบบการให้บริการรูปแบบการติดตั้งใช้งาน การวิเคราะห์และ ออกแบบระบบ Cloud computing การติดตั้งและทดสอบต้นแบบระบบ Cloud computing ท่ีมี รปู แบบการให้บรกิ ารจาก IaaS ถึง SaaS และ การติดต้ังและทดสอบอีเลิร์นนิงท่ีทางานบนต้นแบบระบบ Cloud computing วชั รนิ ทร์ รักเสนาะ และ คณะ , 2558 ศึกษาวิจัย เร่ือง การพัฒนารูปแบบการจัดการบริหารระบบ การจัดการเรียนการสอนสหกิจศึกษา โดยผลการวิจัยการประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการจัดการ บรหิ ารระบบการจดั การเรียนการสอนสหกิจศึกษาผู้วจิ ยั ได้คดั เลอื กผทู้ รงคณุ วุฒิ 9 คนโดยการสนทนากลุ่ม พบว่ามีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด2) ผลการประเมินความเหมาะสมเกี่ยวกับคู่มือสหกิจศึกษา (ฉบบั สมบูรณ์) โดยผู้เช่ียวชาญ 9 คนพบว่าคู่มือสหกิจศกึ ษาว่ามคี วามเหมาะสมอยูใ่ นระดับมากและ 3) ผล ข้ันตอนการพัฒนาและหาประสิทธิภาพของหลักสูตรฝึกอบรมเร่ืองการสอนงานซึ่งประยุกต์ใช้รูปแบบการ ประเมินแบบCIPP Model ของ Daniel L.Stufflebeam ในการประเมินบริบทเพ่ือศึกษาหาข้อมูล และ หลักการในการกาาหนดหลักสูตรฝึกอบรมพบว่าพนักงานพ่ีเลี้ยงต้องมีการฝึกอบรมเรอ่ื งการสอนงานส่วน การประเมินปัจจัยเบื้องต้นพบว่าหลักสตู รฝึกอบรมมีความสอดคล้องทุกด้าน โดยมีคา่ ดชั นีความสอดคลอ้ ง อยู่ระหว่าง 0.95-1.00 และนาาหลักสูตรการฝึกอบรมไปทดลองใช้เพื่อหาประสิทธิภาพ ภาคทฤษฎีพบว่า มีค่า (E1/E2) เท่ากับ 83.50/85.50 และในภาคปฏิบัติ มีค่าร้อยละ 83.20ซ่ึงสูงกว่าเกณฑ์ท่ีกาาหนดไว้ใน ส่วนการประเมินกระบวนการพบว่าผลการประเมินประสิทธิภาพของหลักสูตรฝึกอบรม (E1/E2)เท่ากับ 82.30/84.50 และผลคะแนนจากภาคปฏิบัติมีค่าร้อยละ 88.40 และผลการประเมินผลผลิต เป็นการ ติดตามผลหลังจากการฝึกอบรมโดยกาาหนดระยะเวลา ในช่วงแรกของการนิเทศการปฏิบัติงานสหกิจ ศึกษาคือช่วงสัปดาห์ที่ 5 ของการปฏิบัติงานโดยเก็บข้อมูลจากผู้บังคับบัญชาของผู้เข้าร่วมฝึกอบรมพบว่า ผู้บริหารมีความพึงพอใจในการดาาเนินการจัดการหัวหน้าพนักงานช่างหลังรับการฝึกอบรมในภาพรวม เฉล่ียอยู่ในระดับมาก (X =4.31) และการตดิ ตามผลการประเมนิ คู่มอื สหกิจศึกษาสาาหรับพนักงานพ่ีเลี้ยง ที่ได้รับการอบรมพบว่าพนักงานพี่เล้ียงนาาไปใช้ในการดาาเนินงานเกี่ยวกับบทบ าทและหน้าท่ีของ พนกั งานพี่เล้ยี งในภาพรวมอยู่ในระดบั มากทีส่ ดุ (X= 4.66) การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนร้สู าหรบั นกั ศกึ ษาสหกิจศกึ ษา คณะบรหิ ารธุรกจิ ผา่ นการประมวลผลแบบกลมุ่ เมฆ นายนพดล สายคติกรณ์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook