รายงาน นาฏศิลป์ เรื่อง การวิวัฒนาของนาฏศิลป์และละครไทย การวิวัฒนาการของละครตะวันตก การชม วิจารณ์ และการประเมินคุณภาพ ของการแสดง
การวิวัฒนาของนาฏศิลป์และละครไทย ! สมัยอยุธยา การแสดงละครชาตรีละครนอก ละครในแต่เดิมที่เล่นเป็นละครเร่ จะแสดงตามพื้นที่ ว่างโดยไม่ต้อง มีโรงละคร เรียกว่า ละครชาตรี ต่อมาได้มีการวิวัฒนาการเป็น ละครรา เรียกว่าละครใน ละคร นอก โดยปรับปรุงรูปแบบ ให้มี การแต่งกายที่ประณีงดงามมาก ขึ้นมีดนตรีและบทร้องและมีการ สร้างโรงแสดงอยุธยา สมัยธนบุรี สมัยนี้บทละครในสมัยอยุธยาได้สูญหายไปสมเด็จ พระเจ้ากรุงธนบุรีหรือ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงรวบรวมศิลปิน บทละคร ที่เหลือมาทรงพระ ราชนิพนธ์บทละคร เรื่องรามเกียรติ์ อีก 5 ตอน สมัยสุโขทัย รับวัฒนธรรมของอินเดีย ผสม ผสานกับ วัฒนธรรมไทย มีการบัญญัติ ศัพท์ขึ้นใหม่ เพื่อใช้เรียก ศิลปะการแสดงของไทย ว่า โขน ละคร ฟ้อนรำา นายภคินธร สงหนอง ม.4/7 เลขที่ 4
สมัยน่านเจ้า สมัยนี้บทละครในสมัยอยุธยาได้สูญหายไปสมเด็จ พระเจ้ากรุงธนบุรีหรือ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรง รวบรวมศิลปิน บทละคร ที่เหลือมาทรงพระราชนิพนธ์บทละคร เรื่องรามเกียรติ์ อีก 5 ตอนมีนิยายเรื่อง นามาโน ราห์ เป็นนิยาย จองพวกไตหรือคนไทยในสมัยน่าน เจ้าที่มีปรากฏอยู่ก่อนหน้าคือ การ แสดงจําพวกระนํา เช่น ระบำหมวก ระบำนกยูง สมัยรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 3 ให้ทรงยกเลิกละครหลวง พระบรมวงศานุวงศ์จึงพากัน ฝึกหัดการแสดง ทางโขนละคร ถือเป็นแบบแผนในการปฏิบัติ สืบต่อมา รัชกาลที่ 4 ได้ฟื้ นฟูละครหลวงขึ้นใหม่ให้ ราษฎรฝึกละครในได้ จึงมีข้อห้าม ในการแสดงที่ไม่ใช่ ละครหลวง รัชกาลที่ 5 รัชกาลที่ 6 เกิดละครดึกดำบรรพ์ และละครพันทาง โขน ละคร ดนตรีปี่ พาทย์เจริญถึงขั้นสุด รัชกาลที่ 7 โขนมหรสพกลายเป็นโขนศิลปากรและมี ละครเพลงเกิดขึ้น รัชกาลที่ 8 จัดตั้งโรงเรียนนาฏกดุริยางคศาสตร์ รัชกาลที่ 9 โปรดเกล้าฯ ให้ บันทึกภาพยนตร์สี ส่วนพระองค์ บันทึกท่ารำเพลงหน้าพาทย์องค์พระพิราพ ท่ารำเพลงหน้าพาทย์ ของ ลิง ยักษ์ พระ นาง นายภคินธร สงหนอง ม.4/7 เลขที่ 4
ประวัติละครตะวันตก 1.ละครยุคดั้งเดิม (The Theatre of the past) 1.1 การละครยุคกรีก (250 ปีก่อนพ.ศ. – พ.ศ. 250)ละครกรีกสันนิษฐานว่า ถือกำเนิดขึ้นประมาณ 800 – 700 ปีก่อนคริสตกาล โดยเริ่มจากการประกวดการร้องรำทำเพลงเป็นหมู่(Choral dance) ซึ่งเรียกว่า ดิธีแรมบ์(dithyramb) ในเทศกาลที่จัดขึ้นเพื่อบวงสรวงเทพเจ้าไดโอนีซุส (Dionysus)เทพเจ้าแห่งเหล้าองุ่นและความอุดมสมบูรณ์จากการร้องรำทำเพลงเป็นหมู่โดยกลุ่มคนที่ เรียกว่า คอรัส (Chorus)ในการแสดง ดิธีแรมบ์ ก็เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงไปสู่การแสดงในรูปแบบของ ละครกล่าวคือมีนักแสดงเดี่ยวๆ แยกออกมาต่างหาก และทำการสนทนาโต้ตอบกับกลุ่มคอรัส ฉะนั้น แทนที่จะเป็นเพียงการร้องเพลงเล่าเรื่องจากพวกคอรัสตรงๆ ก็เปลี่ยนเป็นการสนทนาระหว่างตัวละคร กับกลุ่มคอรัส ละครกรีก ที่หลงเหลือมาถึงยุค ปัจจุบันมี 2 ประเภท คือ (1) ละครแทรเจดี (Tragedy) (2) ละครคอมเมดี (Comedy) 1.2 การละครยุคโรมัน (พ.ศ. 250 –พ.ศ. 1000) ละครในยุคโรมัน (ประมาณยุคทวาราวดี)ได้รับอิทธิพลจากละครของกรีกอย่างมาก และได้มีละครชนิดใหม่ๆ เกิดขึ้นอีกหลายชนิด เช่น (1) ละครคอมเมดี ได้รับอิทธิพลจากคอมเมดีกรีก (2) ละครแทรเจดี ได้รับอิทธิพลจากตำนานกรีก (3) ละครแพบูลาอาเทลลานา เป็นละครตลกสั้นๆ นายธรรมชาติ รองเดช ม.4/7 เลขที่ 15
(4) แพนโทมายม์ (Pantomime)เป็นการร่ายรำที่มีความหมายโดยใช้นักแสดงคนเดียว ซึ่ง เปลี่ยนบทบาทโดยการ“เปลี่ยนหน้ากาก” การละครโรมันถึงยุคเสื่อมเพราะความไร้ศีลธรรมและความฟอนเฟะของการแสดง ซึ่งเน้น หนักด้านความโหดร้าย การทารุณกรรม การนองเลือด การอนาจาร ฯลฯ จนกระทั่งประมาณ พ.ศ. 1076 จักรพรรดิจัสติเนียน แห่งอาณาจักรดรมันตะวันออก ได้ออกประกาศห้ามการ แสดงในโรงละคร 1.3 การละครยุคกลาง (พ.ศ. 1400 –พ.ศ. 1900) การละครในโรมันถึงยุค เสื่อม เป็นเวลากว่า 300 ปี จนกระทั่งประมาณ พ.ศ.1400 คริสตจักรทำให้ละครกลับมาฟื้ นตัว อีกครั้งหนึ่ง ด้วยการเริ่มจัดการแสดงเป็นฉากสั้นๆ ประกอบเรื่องราวจากพระคัมภีร์ไบเบิล การ แสดงจะจัดขึ้นในโบสถ์ เรื่องราวที่แสดงเกี่ยวกับพระเยซู และเรื่องราวในคัมภีร์ไบเบิล นายธรรมชาติ รองเดช ม.4/7 เลขที่ 15
ละครยุคกลาง ประเภทของละครในยุคกลาง 1. ละครศาสนา 2. ละครฆราวาส (1) ละครพื้นเมือง (2) ละครฟาร์ส (Farce) (3) ละครอินเทอร์ลูด(Interlude) 1.4 ละครยุคฟื้ นฟูศิลปวิทยาในประเทศอิตาลี (พ.ศ. 1900 - 2100) ยุคฟื้ นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีหรือยุคเรอเนซองส์(Renaissance) ตรงกับสมัยอยุธยา ของไทยเรา เป็นยุคที่มีผลกระทบโดยตรงต่อลักษณะการสร้างโรงละคร การวางรูปเวที การจัดวางฉาก การ ประพันธ์บท และการจัดการแสดงละครบทละครยุคนี้ มีทั้งละคร คอมเมดี(Comedy) ละคร แทรเจดี (Tragedy) ซึ่งได้รับอิทธิพลจากละครโรมัน นายภานุกร กาสาวัง ม.4/7 เลขที่ 10
ละครสมัยใหม่ ละครสมัยใหม่(TheModern Theatre) 1.1. ยุคเริ่มต้นของละครสมัยใหม่(พ.ศ. 2418 - 2490) เกิดละครในรูปแบบใหม่ เช่น (1) ละครแนวสัจจนิยม(Realism) และแนวธรรมชาตินิยม(Naturalism) (2) ละครแนวต่อต้านสัจจนิยม(Anti – realism) ก. ละครสัญญลักษณนิยม (Symbolism) ข. ละครเอ็กซ์เปรสชั่นนิสม์ (Expressionism) ค. ละครเพื่อสังคม(Theatre for Social Action) หรือละครเอพิค (Epic Theatre) 1.2. ละครร่วมสมัย (พ.ศ. 2490 –ปัจจุบัน) ละครร่วมสมัยปัจจุบัน เป็นการแสวงหาแนวทางใหม่ๆ ซึ่งแตกแยกออกไปอย่างมากมาย กล่าวคือ ได้หยิบยืมเอาองค์ประกอบจากแนวละครสมัยใหม่มาใช้ และปรับปรุงแก้ไขให้ใช้ได้ดี กับสภาพการณ์ อีกทั้งปรับปรุงกลไกการจัดเวทีจากอดีตมาใช้ พร้อมทั้งแสวงหาเทคนิคใหม่ๆ ในการเขียนบท ละครและการจัดการแสดง แนวทางต่างๆ ของละครในปัจจุบัน จะได้พิจารณาเป็น 3 ทาง ซึ่ง เป็นตัวแทนของละครต่างๆ ดังนี้ คือ ละครแนวสัจจนิยมประยุกต์, ละครเพลง และ ละครแอบ เสิร์ด นายภานุกร กาสาวัง ม.4/7 เลขที่ 10
แนวโน้ มของละครยุคปัจจุบัน การละครยุคปัจจุบัน ซับซ้อน และมีรูปแบบต่างๆ มากมาย แนวที่เกิดขึ้นใหม่ๆมักจะมีแนว โน้มไม่ยอมรับแบบแผนที่มีมาแต่จะเป็นไปทางแสวงหาใหม่ๆ โดยการทดลองใช้องค์ประกอบ ต่างๆ ไปเรื่อยๆ นับแต่ราวปี พ.ศ.2503 เป็นต้นมา ได้มีการนำข้อปฏิบัติและมาตรฐานของ ละครทุกรูปแบบมาพิจารณา และเกิดเป็นเทคนิคและเนื้อหาใหม่ ขึ้นมา ซึ่งยังหาจุดลงเอยไม่ได้ ในขณะที่ในโลกของธุรกิจบันเทิง สื่อการแสดงที่เกิดขึ้นในยุคปัจจุบัน คือภาพยนตร์ และ โทรทัศน์ ได้กลายเป็นคู่แข่งสำคัญของละครเวที ในด้านการให้ความบันเทิงแก่สาธารณชน นายภานุกร กาสาวัง ม.4/7 เลขที่ 10
การวิจารณ์โครงเรื่อง การวิจารณ์ตัวละคร หลักในการชมละคร การวิจารณ์โครงเรื่อง • เหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในละครชัดเจน • ตัวละครเป็นผู้สร้างและดำเนินเหตุการณ์ • ศึกษาหาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับรูปแบบ ประเภท และชนิดของ • เหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในละครชัดเจน หรือไม่ ไปตามโครงเรื่อง การแสดงที่ชม หรือไม่ • เหตุการณ์ที่จะนำไปสู่จุดวิกฤตเข้มข้น เพียง • ใช้บทเจรจาการกระทำและพฤติกรรม ซึ่ง • ศึกษาเอกสารและข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวกับการแสดง ตลอดจน • เหตุการณ์ที่จะนำไปสู่จุดวิกฤตเข้มข้น พอหรือไม่ เร้าอารมณ์ผู้ชมได้มาก น้อยแค่ สอดคล้องกับบุคลิกลักษณะของตัวละคร สถานภาพของผู้มาชม เพียงพอหรือไม่ เร้าอารมณ์ผู้ชมได้มาก ไหน แต่ละตัว • เมื่อการแสดงจบลง ผู้ชมควรให้เกียรติผู้แสดงด้วยการปรบมือ น้อยแค่ไหน • การจบของเรื่องเหมาะสมหรือไม่ • การสร้างบุคลิกลักษณะของตัวละครมี • มีความสามารถในการรับสาร คือ เป็นผู้ชมที่ดูเป็นฟังเป็น • การจบของเรื่องเหมาะสมหรือไม่ • ละครเรื่องนี้น่าสนใจชวนติดตามตลอด ชีวิตจิตใจคล้ายมนุษย์จริงหรือไม่ สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์เรื่องที่ชมได้อย่างสร้างสรรค์ • ละครเรื่องนี้น่าสนใจชวนติดตามตลอด เรื่องหรือไม่ • ตัวละครสามารถดึงดูดให้ผู้ชมมีอารมณ์ • มีจิตใจผ่อนคลาย มีสมาธิในการชมการแสดง ไม่กังวลต่อสิ่ง เรื่องหรือไม่ • สิ่งใดที่ทำให้เรื่องมีความน่าสนใจมาก ที่สุด คล้อยตามได้มากน้อยเพียงใด ใดๆ ทั้งสิ้น • สิ่งใดที่ทำให้เรื่องมีความน่าสนใจมาก เช่น โครงเรื่อง ตัวละครหรือ บทบาทของตัว • ตัวละครแสดงได้สมบทบาทเพียงใด ตีบท • มีปฏิกิริยาโต้ตอบด้วยการแสดงออกทางอารมณ์ มีอารมณ์ ที่สุด เช่น โครงเรื่อง ตัวละครหรือ บทบาท ละคร เป็นต้น แตกหรือไม่ คล้อยตามไปกับบทบาทของผู้แสดง ของตัวละคร เป็นต้น การวิจารณ์แนวความคิด การชม วิจารณ์ และ หลักการประเมินคุณภาพ ที่เป็นแก่นของเรื่อง การประเมินการ ของการแสดงนาฏศิลป์ แสดง • ผู้ประพันธ์บทละครจะต้องมีแนวคิดว่าจะให้ และละคร เรื่องดำเนินไปสู่จุดหมายได้อย่างไร • แนวคิดของละคร เช่น เพื่อความบันเทิง -คุณภาพด้านการแสดง สะท้อนปัญหาชีวิต ปัญหาสังคม -คุณภาพด้านองค์ประกอบการแสดง • ดูละครแล้วได้ประสบการณ์ แนวคิดปรัชญา อะไรบ้าง • เห็นด้วยกับปรัชญา แนวคิดของเรื่องหรือไม่ • แนวคิดที่ได้จากการชมละครเกิดขึ้นในชีวิต จริงได้หรือไม่ • บทเจรจาของตัวละคร มีคติ คำคมที่น่าจดจำ บ้างหรือไม่ • เนื้อเรื่อง ฉาก ตัวละครมีความเหมาะสม สอดคล้องกันหรือไม่ การวิจารณ์ภาพที่เห็น หลักการวิจารณ์การแสดงนาฏศิลป์ หลักการประเมินการแสดงนาฏศิลป์ •การบรรยาย • ฉาก การแสดง และทัศนองค์ประกอบต่างๆสอดคล้องกับตัว - นำหลักแห่งความสมดุลมาใช้ โดยใช้เวที ละครสร้างบรรยากาศที่เหมาะสม สร้างอารมณ์ที่สอดคล้อง ผู้วิจารณ์ต้องสามารถพู ดหรือเขียนในสิ่งที่รับรู้ เป็นจุดศูนย์กลางตำแหน่งของผู้แสดง และเป็นไปอย่างสมเหตุสมผล ด้วยการฟัง ดู รู้สึก รวมทั้งการรับรู้คุณสมบัติ ให้มีสัดส่วนจำนวนเท่ากัน ไม่ควรไปรวม • ทัศนองค์ประกอบต่างๆ สอดคล้องกับตัวละคร สร้างอารมณ์ ต่างๆ ของการแสดง โดยสามารถบรรยายหรือ กลุ่มอยู่ด้านใดด้านหนึ่งจนมากเกินไป สร้างบรรยากาศได้สมเหตุสมผลหรือไม่ แจกแจงส่วนประกอบต่างๆ ทั้งในลักษณะการ - มีการเคลื่อนไหว การแปรแถวมีความ • ฉาก อุปกรณ์ประกอบฉาก เครื่องแต่งกาย และการแต่งหน้า เชื่อมโยงหลักเกณฑ์ศิลปะสาขาต่างๆ เข้าด้วยกัน หลากหลายไม่น่าเบื่อ ถูกต้องตามเนื้อเรื่องและเหมาะสมกับยุคสมัยหรือไม่ หรือแยกแยะเป็นส่วนๆ • ฉาก และทัศนองค์ประกอบช่วยให้การแสดงละครสื่อความ นายนธนนร์ วีรประเสริฐสกุล ม.4/7 เลขที่ 9 หมายได้สมจริงหรือไม่ การแสดงน่าตื่นเต้น มีชีวิตชีวาชวนให้ ติดตามโดยตลอดหรือน่าเบื่อหน่าย • ตัวละครตีบทแตกหรือไม่ ตัวละครแสดงได้เป็นธรรมชาติจาก ความรู้สึกภายใน
สมาชิกในกลุ่ม 1.นายภคินธร สงหนอง ม.4/7 เลขที่ 4 2.นายนธนนร์ วีรประเสริฐสกุล ม.4/7 เลขที่ 9 3.นายภานุกร กาสาวัง ม.4/7 เลขที่ 10 4.นายธรรมชาติ รองเดช ม.4/7 เลขที่ 15
Search
Read the Text Version
- 1 - 10
Pages: