สรุป คลื่น แสง เสียง นายธนบดี ภู่ประเสริฐวงศ์ ม.5/2 เลขที่6
คลื่น
คลื่น : การถ่ายทอดพลังงานจากที่หนึ่งไปที่หนึ่งพร้อมกับการเคลื่อนที่ ชนิดของคลื่น 1.แบ่งตามทิศทางการสั่น คลื่นตามขวาง:ตัวกลาง 1 ทิศการเคลื่อนที่ คลื่นตามยาว:ตัวกลาง//ทิศ 2.แบ่งตามตัวกลาง 3. แบ่งตามการเกิดคลื่น คลื่นกล: อาศัย คลื่นดล:1ขบวน คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า:ไม่อาศัย คลื่นต่อเนื่อง:หลายขบวน
องค์ประกอบของคลื่น 1. สันคลื่นหรือยอดคลื่น (Crest) คือ ส่วนที่นูนหรือสันบนสุดของคลื่นแต่ละลูก 2. ท้องคลื่น (Trough) คือ ส่วนล่างสุดของคลื่นแต่ละลูก 3. การกระจัด (Displacement) คือ ระยะที่วัดจากแนวกลาง (แนวสมดุล) 4. ช่วงกว้างของคลื่น หรือ แอมพลิจูด (Amplitude ; A) คือ ระยะกระจัดที่มีค่ามาก ที่สุดจากแนวสมดุลไปยังสันคลื่นหรือท้องคลื่น 5.ความยาวคลื่น (Wave length ; ) คือ ความยาวของ 1 คลื่น เป็นระยะทางที่วัดจาก เฟสถึงเฟสเดียวกันของคลื่นถัดไป
6. เฟต (Phase) คือ การเรียกตำแหน่งบนคลื่น โดยมีความสัมพันธ์กับการกระจัด ของการเคลื่อนที่ของคลื่น ตรงกัน : ห่าง 360 Nλ ตรงข้าม : ห่าง 180 N/2λ สูตร ตรงกันข้าม : ห่าง 360 N-21λ V=Fλ=λT
การทับซ้อนของคลื่น แบบเสริม แบบหักล้าง
สมบัติคลื่น 1.การสะท้อน 2.การหักเห อนุภาค + คลื่น λ U F คงเดิม อนุภาค + คลื่น U λ x เปลี่ยนแปลง 2 แบบเฟส 1. คงเดิม การเคลื่อนที่ระหว่างสองตัวกลางที่ทำให้ 2. เฟตเปลี่ยน 180 องศา คุณสมบัติของคลื่นเปลี่ยนแปลง จุดสะท้อนไม่คงที่ กฎ : มุมตกกระทบ = มุมสะท้อน บนระนาบเดียวกัน
3.การเลี้ยงเบน (คลื่น) 4.การแทรกสอด (คลื่น) คือ ปรากฏการณ์ที่คลื่นสามารถ คือ ปรากฏการณ์คลื่น 2 ขบวน เคลื่อนที่อ้อมสิ่งกีดขวาง ขึ้นไปมาพบกัน EX. ได้ยินเสียงจากอีกมุมตึก การสะท้อนกลับหมด การหักเห กฎของสเนล์ SNELL ส่งผลให้คลื่อนที่ผ่านชั้นไปไม่ได้ จึงสะท้อนกลับคืน
เสียง
เสียง : เสียงเป็นคลื่นตามยาว + คลื่นกล ความเข้มเสียง พลังงานของคลื่นเสียง อัตราเร็วของเสียง พลังงานของเสียง ดัง-ค่อย แอมพลิจูดของคลื่นเสียง =Pกำลังเสียง อัตราการถ่ายโอนพลังงานเสียงของแหล่งกำเนิดเสียง มีค่าเท่ากับพลังงานเสียงที่ออกมา (W) เวลา
Iความเข้มของเสียง=กำลังเสียงที่แหล่งกำเนิดเสียงส่งออกไปต่อ หน่วยพื้นที่ตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ คุณภาพเสียง Higherher Harmanic กับ I สัมพัทธ์ แต่ละ Hamonic ไม่เท่า กัน การบีตเสียง การแทรกสอดของคลื่นเสียงที่ f ต่างกันเล็กน้อย เกิดดัง-เบา (ดัง=ปฏิบัพ เบา=บัพ)
ความถี่บีต คลื่นนิ่งของเสียง การแทรกสอดของเสียงที่ f λ A เท่ากัน เกิดดัง-ค่อย ความถี่คลื่นเสียงรวม การสั่นพ้องของเสียง ปลายเปิดข้างเดียว ปลายเปิด 2 ข้าง f=nv f=nv 4L 2L เสียงเกิดจากการสั่น
ปรากฏการดอปเพลอร์ การประยุกต์ใช้:การเปล่งเสียง ของมนุษย์ ท่อลม กล่องเสียง คอหอย ช่องปาก เส้นเสียง การทำงานของเครื่องดนตรี คุณภาพเสียง
แสง
แสง 1.แสง คลื่นตามขวาง (สนามแม่เหล็กไฟฟ้า) การเหนียวนำของสนามไฟฟ้าและสนามแม่ แสงและธรรมชาติของแสง สะท้อน กระจกราบ กระจกโค้ง เหล็ก 2.กระจกสะท้อน สายตา กระจกราบ รังสี 2 รังสีหากวัตถุ หากวัตถุ การหักเห เลนส์ดัชนีการหักเห/ ตกกระทบ ความสว่าง มุมวิกฤต กระจก ไปสะท้อนตัดกัน การผสมแสงสี กระจกโค้ง 1 ขนาดมุมสำคัญตกกระทบ กระจก สะท้อนผ่านจุด f 2 ผ่าน c
สรุปกระจกเว้า : กระจกว้าวให้ภาพจริงทุกขนาดและภาพเสมือนกว่าเท่ากัน สรุปกระจกนูน : กระจกนูนให้ภาพเสมือนขนาดเล็กกว่าวัตถุเท่านั้น
3.การหักเห เลนส์ 1.ขนาดแกนมุมสำคัญ ตกกระทบเลนส์ หักเหผ่าน f 2.ผ่านกลางเลนส์ เลนส์นูน : เกิดภาพจริง ภาพเสมือนขนาดใหญ่ สูตร เลนส์เว้า : เกิดภาพเสมือนขนาดเล็ก มุมวิกฤต
4.สายตา สายตาสั้น/สายตายาว สั้น เลนส์เว้า มองไกลไม่ชัด/D=ระยะไกลที่มองเห็นชัด ยาว เลนส์นูน มองใกล้ไม่ชัด/D=ระยะใกล้ที่มองเห็นชัด 5.ความสว่าง(E)luk 6.การผสมแสงสี จะเห็น 1.แสงจากวัดถุสะท้อนเข้าออก 2.วัตถุสีใดจะสะท้อนสีนั้นและดูสีกัน EX.แสงสีเหลืองวัตถุสีเขียว R+a a เห็นวัตถุสีเขียว
Search
Read the Text Version
- 1 - 18
Pages: