การวางแผนชีวิตดว้ ยวงจร P D C A
สานกั ประกนั คุณภาพการศึกษา ที่ต้งั อาคารอานวยการ 2 หอ้ ง 206 Website http://qao.payap.ac.th ภาระหนา้ ที่ เป็นหน่วยงานติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการดาเนินการประกนั คุณภาพ การศึกษาของมหาวทิ ยาลยั เป็นหน่วยงานส่งเสริมการพฒั นาปรับปรุงการดาเนินงานของแต่ละ หน่วยงานในมหาวทิ ยาลยั มุ่งสู่คุณภาพ ส่งเสริม สนบั สนุนประสานงานและสร้างความเขา้ ใจเกี่ยวกบั การประกนั คุณภาพใหก้ บั บุคลากรและนกั ศึกษาภายในมหาวทิ ยาลยั
การประกนั คุณภาพคือ อะไร การประกนั คุณภาพ คือ ระบบการบริหารจดั การท่ีกากบั ขบวนการ ดาเนินงาน (การผลิต การบริการ) เพือ่ ใหเ้ กิดความมนั่ ใจและรับรองไดว้ า่ ผลและ/ผลลพั ธจ์ ากการดาเนินงานบรรลุเป้ าหมายและจุดประสงคท์ ่ี กาหนดไว้ ประกนั คุณภาพการศึกษาเพ่อื …. “ การสร้างความมน่ั ใจใหผ้ เู้ ก่ียวขอ้ ง(ผปู้ กครอง นกั ศึกษา ประชาชนทวั่ ไป) วา่ ผจู้ บการศึกษาจะมีคุณภาพตามท่ีตอ้ งการ”
เก่ียวขอ้ งกบั นกั ศึกษาอยา่ งไรมหาวทิ ยาลยั ผลิต นกั ศึกษามีระบบประกนั คุณภาพ มีคุณภาพ ไดร้ ับการบริการที่มี การศึกษา • นกั ศึกษาไดร้ ับรางวลั ระดบั ภูมิภาค ชาติ คุณภาพ และนานาชาติ • สานกั ทะเบียนฯ • การไดง้ านทาสูง • ฝ่ ายการเงิน • ร้อยละการศึกษาต่อในระดบั ปริญญาโท • ฝ่ ายพฒั นานกั ศึกษา ปริญญาเอกสูง • ฯลฯ • เงินเดือนสูง
ระบบประกนั คุณภาพการศึกษา พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพม่ิ เติม (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545 กาหนดให้สถานศึกษาทุกแห่งจัดให้มรี ะบบการประกนั คุณภาพภายใน เป็ นส่วนหน่ึงทสี่ ถานศึกษาต้องกาหนดให้มเี พอื่ ใช้ควบคุมคุณภาพ การทางานของสถานศึกษา ทุกสถานศึกษากาหนดให้มรี ะบบประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน
ระบบประกนั คุณภาพการศึกษา 1 Quality Control การควบคุมคุณภาพ P 4 Input A Process D Output Outcome 2 ปัจจยั นาเขา้ กระบวนการ ผลผลิต ผลสมั ฤทธ์ิAccreditation Quality การรับรอง คุณภาพ Audit การตรวจสอบ C คุณภาพ 3 Quality Assess การประเมินคุณภาพ
P D C A คือ อะไร วงจร PDCA มาจากคาภาษาองั กฤษ ประกอบด้วย 4 ข้ันตอน ซ่ึงต้อง ปฏบิ ตั ิอย่างต่อเน่ือง ได้แก่ P - Plan วางแผน โดยการกาหนดวตั ถุประสงค์ และต้งั เป้ าหมาย กาหนด ข้นั ตอนวิธีการ และระยะเวลา จัดสรรทรัพยากรทจ่ี าเป็ นท้งั ในด้านบุคคล เคร่ืองมืองบประมาณ D - Do ปฏิบัติ โดยการทาความเข้าใจ และลงมอื ปฏบิ ตั ิตามแผน C - Check ตรวจสอบ เพอ่ื ตดิ ตามความคบื หน้า และดูผลสาเร็จของงาน เมอื่ เทยี บกบั แผน A - Act ปรับปรุงการดาเนินการให้เหมาะสม หากการปฏิบตั เิ ป็ นทนี่ ่าพอใจ กจ็ ัดให้เป็ นมาตรฐานเพอ่ื เป็ นแนวทางให้ปฏิบตั ติ ่อไป หากการปฏิบัติมขี ้อควร ปรับปรุง ให้กาหนดวธิ ีการปรับปรุงต่อไป
ใน PDCA มี pdca หากเราทากิจกรรมเพียงเร่ืองเลก็ ๆ เช่น จดั กระเป๋ านกั เรียน ทา การบา้ น เดินทางไปโรงเรียน กิจกรรมแต่ละอยา่ ง เรากใ็ ชเ้ พยี งแค่ PDCA ธรรมดา แต่บางคร้ัง ข้นั ตอนต่างๆ กไ็ ม่สามารถแยก PDCA ออกจากกนั ไดเ้ ดด็ ขาด หรือกรณีการรับผดิ ชอบงานใน ขอบเขตกวา้ ง ใชร้ ะยะเวลาการทางานที่ยาวนาน เราจะพบวา่ ใน PDCA กย็ งั ตอ้ งมี pdca อีก หรือเรียกง่าย ๆวา่ ใน PDCA ใหญ่ๆ กต็ อ้ งมี pdca ยอ่ ยๆอีก เพือ่ ใหง้ านสาเร็จ
ตวั อย่าง นกั ศึกษาจะซ้ือของใชภ้ ายในบา้ น PDCA ของกิจกรรมการซ้ือ ไดแ้ ก่Plan คดิ ว่ามีอะไรต้องใช้ สาหรับกค่ี น ตรวจสอบว่าของในบ้านมอี ะไรเหลอื อยู่วางแผน เป็ นจานวนเท่าไหร่ ขาดเหลอื อะไร ( check ) จดรายการและจานวนสิ่งของ ทตี่ ้องซื้อ กาหนดสถานที่ เตรียมเงนิ ให้เพยี งพอDo ปฏิบตั ิ ไปที่ร้านค้า ลาดบั ในการซื้อ ถ้าต้องไปหลายร้าน เลอื กเส้นทางทไี่ ม่ต้องอ้อมไป อ้อมมา ถ้าต้องยกของเอง เลอื กซื้อของท่ีมนี า้ หนักเบาก่อน เพอื่ จะได้ไม่ต้องยก ของหนัก เป็ นเวลานาน (plan) แล้ว เดนิ เลอื กซื้อของตามทจ่ี ดมา (do) หากพบ สิ่งท่ไี ม่เป็ นไปตามแผน เช่น ไม่มขี อง หรือมรี าคาสูงเกนิ กว่าทต่ี ้งั ใจไว้ (check) ให้พจิ ารณาปรับเปลยี่ นตามความเหมาะสม (act) ก่อนออกจากร้าน ตรวจสอบ ว่าของทซี่ ื้อ ได้รับครบตามจานวนและถูกต้องตามท่ีต้องการหรอื ไม่ สินค้าอยู่ ในสภาพสมบูรณ์หรือมตี าหนิ คนขายคดิ ราคาและทอนเงนิ ถูกต้องหรอื ไม่ (check) ถ้าสินค้ามตี าหนิให้เปลยี่ นของหรือถ้าทอนผดิ กท็ กั ท้วงให้เกดิ ความ ถูกต้อง (act)
ตวั อย่าง (ต่อ) Check กลบั มาทบี่ ้าน ตรวจสอบจานวนเงินทใ่ี ช้ไป ตรวจสอบว่าอะไรบ้างทซี่ ื้อ ตรวจสอบ ไม่ได้ตามแผน เช่น ของราคาสูงกว่าท่คี ดิ ไว้ ของเปลยี่ นรุ่น เป็ นต้น ของ อะไรทซ่ี ื้อมาแล้วใช้ไม่ได้ เช่น ซื้อแบตเตอรรี่ผดิ ขนาด Act ความผดิ พลาดจากการซื้อของคร้ังนีค้ ืออะไร เช่น ไม่เช็คขนาดของ ปรับปรุง แบตเตอรี่ก่อนออกจากบ้าน ต่อไปต้องตรวจสอบรายละเอยี ดให้รอบคอบ การ ขึน้ แทนทจ่ี ะดูแต่รายการกบั จานวน เช่น เบอร์ของสินค้า ว่าเป็ น ดาเนินการ แบตเตอรี่ ขนาด AA หรือ AAA รวมท้งั ขยายผลไปยงั ของอน่ื ทต่ี ้อง ให้ ตรวจสอบสเป็ คด้วย เช่น เบอร์ รหัส รุ่น หน่วยวดั เป็ นต้น จดราคาสินค้า เหมาะสม ทซ่ี ื้อมาเกบ็ ไว้เป็ นมาตรฐานสาหรับเปรียบเทยี บในการซื้อคร้ังต่อไป เพอื่ จะได้เตรียมงบประมาณให้เหมาะสม
การนา PDCA ไปใช้ (1) PDCA เพอ่ื ป้ องกนั 1.1 การนาวงจร PDCA ไปใช้ ทาให้ผู้ปฏบิ ตั มิ กี ารวางแผน การวางแผนทด่ี ชี ่วย ป้ องกนั ปัญหาทไ่ี ม่ควรเกดิ ช่วยลดความสับสนในการทางาน ลดการใช้ ทรัพยากรมากหรือน้อยเกนิ ความพอดี ลดความสูญเสียในรูปแบบต่างๆ 1.2 การทางานทมี่ ีการตรวจสอบเป็ นระยะ ทาให้การปฏิบตั ิงานมคี วามรัดกมุ ขึน้ และแก้ไขปัญหาได้อย่างรวดเร็วก่อนจะลุกลาม 1.3 การตรวจสอบทน่ี าไปสู่การแก้ไขปรับปรุง ทาให้ปัญหาทเ่ี กดิ ขึน้ แล้วไม่เกดิ ซ้า หรือลดความรุนแรงของปัญหา ถือเป็ นการนาความผดิ พลาดมาใช้ให้เกดิ ประโยชน์
การนา PDCA ไปใช้ (2) PDCA เพอ่ื แก้ไขปัญหา • ถ้าเราประสบสิ่งที่ ไม่เหมาะสม ไม่สะอาด ไม่สะดวก ไม่มี ประสิทธิภาพ ไม่ประหยดั เราควร แก้ปัญหา • การใช้ PDCA เพอ่ื การแก้ปัญหา ได้แก่ การทา C-PDCA คอื ตรวจสอบก่อน ว่ามอี ะไรบ้างทเี่ ป็ นปัญหา เมอ่ื หาปัญหาได้ ก็ นามาวางแผนเพอื่ ดาเนินการตามวงจร PDCA ต่อไป
การนา PDCA ไปใช้ (3) PDCA เพอ่ื ปรับปรุง • ทาวนั นีใ้ ห้ดีกว่าเมอื่ วานนี้ และพรุ่งนีต้ ้องดีกว่าวนั นี้ • PDCA เพอ่ื การปรับปรุง คอื ไม่ต้องรอให้เกดิ ปัญหา แต่เราต้อง เสาะแสวงหาส่ิงต่างๆหรือวธิ ีการทด่ี กี ว่าเดิมอยู่เสมอ เพอื่ ยกระดับ คุณภาพชีวติ และสังคม เมอ่ื เราคดิ ว่าจะปรับปรุงอะไร กใ็ ห้ใช้วงจร PDCA เป็ นข้ันตอนในการปรับปรุง ข้อคิดสาคญั ตอ้ งเริ่ม PDCA ตวั เองก่อนมุ่งไปที่คนอื่น
เทคนิคของ PDCA แต่ละข้นั ตอน เทคนิคการวางแผน Plan การวางแผนที่ดี ควรตอบคาถามต่อไปน้ีได้ มีอะไรบา้ งท่ีตอ้ งทา • ใครทา • ตอ้ งใชอ้ ะไรบา้ ง • ระยะเวลาในการทางานแต่ละข้นั ตอนเป็นเท่าใด • ลาดบั การทางานเป็นอยา่ งไร ควรทาอะไรก่อน อะไรหลงั • เป้ าหมายในการกระทาคร้ังน้ีคืออะไร
เป้ าหมายทด่ี ี ควรยดึ หลกั SMARTER S – specific ชดั เจน เจาะจง M- measurable วดั ได้ ประเมินผลได้ A- acceptable ผปู้ ฏิบตั ิยอมรับและเตม็ ใจทา R- realistic อยบู่ นพ้ืนฐานความจริง ไม่เพอ้ ฝัน T- time frame มีกรอบระยะเวลา E – extending เป็นเป้ าหมายท่ีทา้ ทายความสามารถ ไม่ใช่วา่ เคยทาได้ 10 กต็ ้งั เป้ าหมาย ไวแ้ ค่ 8 หรือแค่ 10 แตค่ วรต้งั ไวอ้ ยา่ งนอ้ ยท่ีสุดกไ็ ม่ควร ต่ากวา่ 11 R – Rewarding คุม้ กบั การปฏิบตั ิ หมายถึงเป้ าหมายที่ทาไปแลว้ เกิด ประโยชน์ คุม้ ค่ากบั การลงแรงลงเวลาและทรัพยากร
เทคนิคข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิ Do • ทาให้ถูกต้องต้ังแต่แรก จะได้ไม่ต้องแก้ไข หรือรับผลเสียจากการ กระทาท่ผี ิดพลาด • ตรวจสอบทุกข้ันตอน หากพบข้อบกพร่อง ให้รีบแก้ไขก่อนที่ ความเสียหาย จะขยายเป็ นวงกว้าง
เทคนิคข้นั ตอนตรวจสอบ Check ตรวจสอบวธิ ีการและระยะเวลาทใี่ ช้ในการปฏิบัติจริง ว่าทาได้ตาม แผนหรือไม่ ตรวจสอบผล ท่ีได้ว่าได้ตามเป้ าหมายหรือไม่
เทคนิคข้นั ตอนการปรับปรุงการดาเนินการให้เหมาะสม Act หลงั จากตรวจสอบแล้ว ถ้าเราทาได้ตามเป้ าหมาย ให้รักษาความดนี ี้ ไว้ หากตรวจสอบแล้ว พบว่ามขี ้อผดิ พลาดไม่ว่าในข้นั ตอนใดๆ ก็ตาม ให้ หาสาเหตุและแก้ไขสาเหตุ หาทางปรับปรุง เพอื่ ให้การปฏบิ ัติคร้ังต่อไปดขี ึน้ กว่าเดมิ
ฝึกปฏิบตั ิ P D C A ใหย้ กตวั อยา่ ง P D C A คนละ 1 เรื่อง นกั ศึกษาที่สามารถยกตวั อยา่ งไดช้ ดั เจนจะไดร้ ับรางวลั ในวนั ประกาศรางวลั Payap University Quality Award คร้ังที่ 3 ประจาปี การศึกษา 2550 เขียน ช่ือ – นามสกลุ รหสั นกั ศึกษา สาขาท่ีสงั กดั และคณะวชิ า
Search
Read the Text Version
- 1 - 19
Pages: