Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Fire fighting

Fire fighting

Published by atomudom, 2017-08-11 02:17:05

Description: Fire fighting

Search

Read the Text Version

ความรเู้ กยี่ วกบั อปุ กรณ์ดับเพลิงสัญลกั ษณ์ของถังดับเพลิงแบ่งตามประเภทของไฟ ตามขอ้ กาหนดมาตรฐานสากลไฟประเภท A - มสี ัญลกั ษณเ์ ปน็ รูปตวั A สขี าวหรอื สีดา อยู่ในสามเหลยี่ มสีเขียว - ไฟประเภท A คือไฟที่เกิดจากการลุกไหม้ของวัสดุท่ีเป็นเช้ือเพลิงทั่วๆไป เช่น กระดาษ ไม้ ผ้า ขยะแห้ง พลาสติกบางชนิด ฟาง ปอ ดา้ ย นุ่น เป็นต้น - วิธีการดบั ไฟประเภท A คอื การลดความรอ้ นโดยการใช้นา้ไฟประเภท B - มีสญั ลักษณ์เป็นรูปตวั B สีขาวหรือสีดา อยใู่ นสี่เหล่ยี มสีแดง - ไฟประเภท B คือไฟท่ีเกิดจากการลุกไหม้ของของเหลวแ ละก๊าซ เช่น น้ามันทุกชนิด แอลกอฮอล์ ทนิ เนอร์ ยางมะตอย จารบี ก๊าซติดไฟ เปน็ ตน้ - วิธีการดบั ไฟประเภท B ท่ีดีท่ีสุดคอื กาจดั ออกซเิ จน โดยการใช้ผงเคมแี ห้ง, โฟมไฟประเภท C - มสี ญั ลักษณเ์ ปน็ รปู ตวั C สีขาวหรอื ดา อยใู่ นวงกลมสีฟา้ - ไฟประเภท C คือไฟท่ีเกิดจากการลุกไหม้ของวัสดุทางด้านไฟฟ้า เช่น สายไฟ ปล๊ักไฟ สวิช และอุปกรณ์ไฟฟา้ ทกุ ชนิด - วิธีดับไฟประเภท C ที่ดีท่ีสุด คือ ตัดกระแสไฟฟ้า และใช้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ หรือ น้ายา เหลวระเหยที่ไมม่ สี าร CFCไฟประเภท D - มสี ัญลักษณ์เป็นรปู ตวั D สีขาวหรอื ดา อยใู่ นดาว 5 แฉก สเี หลือง - ไฟประเภท D คือไฟไหม้บนสสารท่ีเป็นโลหะ เชน่ อลมู ิเนียม แม็กนีเซียม โซเดียม ฯลฯ ซง่ึ ไฟประเภทนี้จะมีอุณหภูมิสูงมาก (อาจถงึ 1000 องศาเซลเซยี ส) และยงั มีเปลวไฟน้อย มาก จนสังเกตเหน็ ได้ยาก การใช้นา้ ดับไฟประเภทนเี้ ป็นสง่ิ ท่หี ้ามเด็ดขาด วธิ ีเดียวในการ ดับไฟคือใช้สารดับไฟที่เหมาะสม โดยทั่วไปจะใช้ ผงโซเดียมคลอไรด์ หรือ ผงแกรไฟต์ ในการดับไฟไฟประเภท K - มสี ญั ลกั ษณเ์ ปน์็ รปู ตวั K สขี าว อย่ใู นรปู แปดเหลีย่ มสดี า - ไฟประเภท K คือไฟท่เี กิดจากน้ามนั ที่ตดิ ไฟยาก เช่น น้ามนั ทาอาหาร นา้ มนั พืช ไข มั น สตั วต์ ิดไฟ - วิธีดัีบไฟประเภท K ที่ดีท่ีสุด คือ การกาจัดออกซิเจน การทาให้อับอากาศ ซึ่งจะมีดัง ดบั เพลงิ ชนิดพเิ ศษท่ีสามารถดบั ไฟชนดิ น้โี ดยเฉพาะ

ระบบป้องกนั อคั คีภัย กฎหมาย กาหนดไว้ว่าอาคารท่ีเป็นอาคารสาธารณะ ต้องมีข้อกาหนดสาหรับการป้องกันอัคคีภัย ท่ีหลีกเล่ียงมิได้อย่างเดด็ ขาด เพ่อื ประโยชน์และความปลอดภัยแก่ชีวิต และ ทรัพย์สินของผู้อยู่อาศัย โดยการป้องกันอัคคีภัยสามารถทาได้ 2 ลักษณะคือ 1. การป้องกนั อคั คีภยั วิธี Passive เริ่มจากการวางผังอาคารให้ปลอดภัยต่ออัคคีภัย คือการวางผังอาคารให้สามารถป้องกันอัคคีภัยได้เมื่อเกิดเหตุ สุดวิสยั ไดแ้ ก่ การเว้นระยะหา่ งจากเขตที่ดิน เพื่อกันการลามของไฟตามกฎหมาย , การเตรียมท่ีรอบอาคาร สาหรับเข้า ไปดับเพลงิ ได้ การออกแบบอาคาร ให้ตัวอาคารมีความสามารถในการทนไฟหรืออย่างน้อยให้มีเวลาพอสาหรับหนีไฟได้ นอกจากนต้ี อ้ งมีการออกแบบทาใหส้ ามารถเข้าดบั เพลงิ ไดง้ ่าย และมีการอพยพคนออกจากอาคารได้สะดวก มีทางหนีไฟ ทด่ี ี มีประสทิ ธภิ าพ 2. การปอ้ งกนั อัคคภี ัยวธิ ี Active คอื การปอ้ งกันภัยโดย การใชร้ ะบบเตือนภัย, การควบคุมควันไฟ, การระบายควนั ไฟ และ ระบบดบั เพลิงที่ดี 2.1 ระบบสญั ญาณเตอื นแจ้งเหตุ ในปัจจบุ นั สัญญาณการเตอื นแจง้ เหตุ มอี ย่หู ลายรูปแบบด้วยกัน ไดแ้ ก่ 2.1.1 อปุ กรณต์ รวจจับความร้อน (Heat Detector) - อปุ กรณ์ตรวจจับความร้อนชนดิ จับอตั ราเพม่ิ ของอณุ หภมู ิ (Rate-of-Rise Heat Detector) - อุปกรณต์ รวจจับความรอ้ นชนิดจบั อุณหภมู ิคงที่ (Fixed Temperature Heat Detector)

- อปุ กรณต์ รวจจบั ความรอ้ นชนดิ รวม (Combination Heat Detector)2.1.2 อปุ กรณ์ตรวจจับควัน (Smoke Detector) - อุปกรณ์ตรวจจับควันชนดิ ไอออนไนเซช่ัน (Ionization Smoke Detector) - อปุ กรณต์ รวจจับควันชนิดโฟโต้อเิ ลคตริก(Photoelectric Smoke Detector)

2.1.3 อปุ กรณแ์ จง้ เหตดุ ้วยมือ - อปุ กรณ์แจ้งเหตเุ พลิงไหมด้ ว้ ยมือ (Manual Pull Station) - อปุ กรณ์แจง้ เหตเุ พลิงไหม้ด้วยมอื (Break Glass Manual Call Point)2.1.4 อปุ กรณ์แจง้ เหตดุ ว้ ยเสยี ง - อุปกรณ์ทสี่ ง่ สญั ญาณแจง้ เตือนเมือ่ เกิดเพลงิ ไหม้ (Horns)

- อุปกรณท์ ีส่ ง่ สัญญาณแจง้ เตือนเมื่อเกิดไฟไหม้ (Motor Bell)2.1.5 ต้คู วบคมุ สาหรับแจ้งเหตเุ พลงิ ไหม้ เป็นลักษณะของตู้ควบคุมท่ีคอยรับสัญญาณไฟฟ้าจากอุปกรณ์ตรวจจับควัน (Smoke Detector), อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน (Heat Detector) หรือ อุปกรณ์แจ้งเหตุด้วยมือ แล้วจึงสัญญาณไฟฟ้าไปยัง อุปกรณแ์ จ้งเหตดุ ว้ ยเสยี งอีกต่อหนึ่ง

2.2 ระบบดบั เพลิงด้วยนา้ สาหรบั ระบบน้นี ้ัน สามารถแบบออกได้เปน็ 2 แบบ คอื 2.2.1 อุปกรณ์สง่ นา้ ดับเพลิง คือ มลี ักษณะเป็นตู้สีแดง ด้านหนา้ เปน็ กระจก ทสี่ ามารถเปดิ หรือทบุ ใหแ้ ตกเพอ่ื นา อุปกรณ์ช่วยเหลือออกมาได้เม่ือยามจาเป็น แต่ในกรณีอุปกรณ์ดับเพลิงแบบนี้ กฎหมายจะบังคับใช้กับ อาคารท่ีสงู เกิน 23 เมตรขึ้นไป (ประมาณตกึ 7-8 ชัน้ ) 2.2.2 อุปกรณ์ดบั เพลิงด้วยน้าแบบอตั โนมัติ (Sprinker) คือ มีลกั ษณะเปน็ ตัวฉดี นา้ เป็นฝอย ไว้เม่ือกรณที ีม่ คี วาม รอ้ นภายในมากอยู่ในระดับหนง่ึ จนถึงขน้ั ทม่ี ารถทาให้กระเปราะท่ีอยู่ตรงส่วนปลายของSprinker แตก จะ ทาให้น้าพุ่งออกมาเพื่อดับไฟ และเนื่องมาจากท่อส่งน้ามายังหัวSprinker นี้ มีแรงดันอัดอยู่สูงมาก เมื่อมี กระเปราะของSprinker หัวหนึ่งแตก หัวSprinker อ่ืนๆทุกหัวก็จะแตกตามไปด้วย ทาให้สามารถช่วยใน การดับเพลงิ ได้ดใี นระดับหนง่ึ

2.3 เครือ่ งดับเพลงิ แบบมอื ถอื เครือ่ งดบั เพลิงแบบมอื ถอื หรือ ถงั ดับเพลงิ ปัจจุบนั ถูกผลิตขึน้ มาหลากหลายประเภทมากย่ิงข้ึน ซ่ึงในแต่ละ ประเภทก็มหี นา้ ทใ่ี นการนาไปใช้งานที่แตกต่างกนั ออกไป ไดแ้ ก่ 2.3.1 ถังดบั เพลิงสแี ดง 2.3.1.1 ถังดับเพลิงชนิดผงเคมีแห้งถังดับเพลิงชนิดผงเคมีแห้ง บรรจุถังสีแดง ภายในบรรจุผงเคมีแห้ง และก๊าซไนโตรเจน ลักษณะน้ายาท่ีฉีดออกมาเป็นฝุ่นละอองสามารถดับเพลิงไหม้ทุกชนิดได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพสูง เช่นเพลิงไหม้ท่ีเกิดจากไม้ กระดาษ สิ่งทอ ยาง น้ามัน แก๊ส และเครื่องใช้ไฟฟ้า ตา่ งๆ ไมเ่ ปน็ อนั ตรายต่อมนษุ ยแ์ ละส่ิงมชี ีวิตทกุ ประเภท 2.3.1.2 ถังดับเพลิงท่ีบรรจุแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (Co2) ไว้ภายใน ใช้ในการดับเพลิงท่ีเกิดข้ึนภายใน ตวั อาคารน้ายาดับเพลิง เป็นนา้ แขง็ แห้ง ทบี่ รรจุไว้ในถัง ทที่ นแรงดันสูง ประมาณ 1800 PSI ต่อตารางนิ้ว ทป่ี ลายสายฉีด จะมีลักษณะเป็นกระบอกหรือกรวย เวลาฉีด ลักษณะน้ายาท่ีออกมา จะเป็นหมอกหิมะ ท่ี ไลค่ วามรอ้ น และออกซเิ จน เหมาะสาหรบั ใช้ภายในอาคาร คือไฟท่ีเกิดจากแก๊ส น้ามัน และไฟฟ้า เครื่อง ดับเพลิงชนิด Co2 มีหลายขนาดให้เลือกใช้ ได้ตามความต้องการ ตั้งแต่ 5 ปอนด์ 10 ปอนด์ และ 15 ปอนด์

2.3.2 ถงั ดับเพลิงสีเหลอื ง มีลักษณะเปน็ ถังดับเพลิงชนดิ นา้ ยาเหลวระเหย บซี ีเอฟ ฮาล่อน 1211 ใชด้ บั เพลิงได้ดี โดย คุณสมบัติของสารเคมีคือ มีความเย็นจัด และมีประสิทธิภาพ ทาลายออกซิเจนท่ีทาให้ติดไฟ เครื่อง ดับเพลิง ชนิดฮาลอน เหมาะสาหรับใช้กับสถานที่ ท่ีใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ส่ือสาร ใน อุตสาหกรรม อิเลคโทรนิกส์ เรือ เครื่องบิน และรถถัง น้ายาชนิดนี้ ไม่ทิ้งคราบสกปรก หลังการดับเพลิง และสามารถใช้ได้หลายครั้ง ข้อเสียของน้ายาดับเพลิงชนิดน้ีคือ มีสาร CFC ที่ส่งผลกระทบต่อ สภาพแวดล้อม เคร่ืองดับเพลิงฮาล่อน 1211 มีหลายขนาดให้ท่านเลือกใช้ได้ตามความต้องการ ตั้งแต่ 5 ปอนด์ 10 ปอนด์ และ 15 ปอนด์2.3.3 ถังดับเพลิงสีฟ้า ถังดับเพลิงชนิด HCFC-123 เป็นสารดับเพลิงท่ีใช้ทดแทนสารฮาลอน 1211 ไม่ทาลาย ชั้นโอโซนและเปน็ มิตรตอ่ สิง่ แวดลอ้ ม สามารถใช้กับไฟชนดิ A B และ C ลกั ษณะการฉีดออกเปน็ แกส๊ เหลว ระเหย นา้ ยาชนิดนี้ ไม่ทิง้ คราบสกปรก ไม่ทาลายสิ่งของเครือ่ งใช้

2.3.4 ถงั ดับเพลิงสีเขียว เป็นถังดับเพลิงชนิด BF 2000 บรรจุน้ายาเป็นสารเหลวระเหยชนิด BF 2000 (FE 36) ไดร้ บั การยอมรับว่าไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สามารถใช้ไดก้ ับไฟชนดิ A B และC, BF 2000 (FE 36) ไมแ่ สดงปฎกิ ริ ิยากับวัสดุกอ่ สร้างโดยทั่วไป เชน่ อลมู ิน่มั สตลี ทองแดง ในระดับอณุ หภูมิปกติ2.3.5 ถังดบั เพลิง ชนดิ โฟม (Foam) บรรจุนา้ ผสมโฟมเข้มข้น เมื่อผสมกับอากาศจะเป็นฟองโฟม เม่ือฉดี ออกมา จะเป็นน้ายาฟองโฟมสีขาว ปกคลุมผิวหน้าของเชื้อเพลิง ทาให้เช้ือเพลิงขาดอากาศมาทาปฎิกิริยาจึงไม่ สามารถลุกไหม้ต่อไปได้ประสิทธิภาพ สามารถดับไฟที่เกิดจากน้ามันพืชลุกไหม้ในกระทะของห้องครัว โดยเฉพาะ และยังใช้ดบั ไฟท่ีเกิดจากไม้ กระดาษ ผา้ พลาสติก และสารไวไฟทุกชนิด ห้าม นาถังดับเพลิง ชนิดน้ายาโฟมไปดับไฟ CLASS C ซึ่งได้แก่ วัตถุเชื้อเพลิงที่เกิดจากกระแสไฟฟ้า เช่นกรณีเกิดไฟฟ้า ลัดวงจร โดยเดด็ ขาด เนอ่ื งจากถังดบั เพลิงชนดิ นา้ ยาโฟมมีน้าเป็นส่วนผสม น้าเป็นส่ือไฟฟ้า อาจจะทาให้ เกดิ ไฟฟ้าช๊อตได้

การตรวจเช็คและบารงุ รักษาะถงั ดบั เพลิง• ดูที่เขม็ ในมาตรวัด (Pressure Gauge) ของถังดบั เพลงิ เครอ่ื งดบั เพลิงท่อี ยู่ในสภาพพร้อมใชง้ านได้ เขม็ จะชท้ี ี่ชอ่ งสี เขียว ( สังเกตตามรปู ) แต่ถา้ เขม็ เอียงมาทางซ้ายแสดงวา่ แรงดนั ไม่มี ต้องรีบนาไปเตมิ แรงดันทนั ที ซึง่ ควรตรวจสอบ เป็นประจาทกุ เดือน• ตรวจ สายฉีด หวั ฉีด อยา่ ใหม้ ีผงอดุ ตนั เป็นประจาทุกเดือน• ถา้ ไฟไหม้ หรือกระทบกระเทอื นอยา่ งรนุ แรง ให้ส่งไปตรวจสอบและบรรจใุ หม่• สภาพบรรจุของถงั ดบั เพลิงตอ้ งไม่บุบ หรือบวม และไมข่ ้ึนสนิม• อายุการใชง้ าน หากไมม่ ีการใช้งานสามารถเกบ็ ไวใ้ ชไ้ ดม้ ากกวา่ 10 ปีสาหรับถังดบั เพลงิ ชนิดฮาโลตรอน และอายกุ ารใช้ งานประมาณ 3 – 5 ปี สาหรบั ถงั ดับเพลิงชนิดผงเคมีแห้ง