เปา้ หมายการด�ำเนนิ งานแผนทนั ตสขุ ภาพผสู้ งู อายเุ พอ่ื ใหผ้ สู้ งู อายรุ อ้ ยละ 80 มสี ขุ ภาพชอ่ งปากและฟนั ทด่ี ี สามารถรับประทานอาหาร พูด และเข้าสังคมได้ ช่วยส่งเสริมสุขภาพโดยท่ัวไป รวมทั้งมีความพึงพอใจใน สภาพช่องปากตนเอง และให้มีนวัตกรรมท่ีน�ำไปใช้เพ่ือแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ใน 7 ประเด็น นอกเหนือจากกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุแล้ว ปัจจุบันมูลนิธิฯ ได้มีการปรับปรุงโครงสร้างภายในองค์กรให้มี ความเหมาะสมขึ้น เพ่ือรองรับภารกิจในการขับเคล่ือนการน�ำผลงานท่ีได้จากการวิจัยและพัฒนามาผลิตเป็น นวัตกรรมผลิตภัณฑ์และบริการไปใช้ประโยชน์ในการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนในทุกระดับต่อไป โดยกลุ่ม นวตั กรรมและบรกิ ารท่มี ูลนิธฯิ ด�ำเนนิ การอยู่ในปัจจบุ นั แบง่ ออกเป็น 3 กลมุ่ ไดแ้ ก ่ 1. กลมุ่ นวตั กรรมอาหารทางการแพทยแ์ ละเวชภณั ฑ์ ด�ำเนนิ การโดยศนู ยพ์ ฒั นาอาหารทางการแพทยแ์ ละเวชภณั ฑเ์ ฉลมิ พระเกยี รติ รชั กาลที่ 9 นวัตกรรมอาหารเพื่อเพ่ิมคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุและผู้มีปัญหาการบดเค้ียว “เจลลี่โภชนา” นวตั กรรมอาหารตา้ นมะเรง็ ช่องปาก ส�ำหรับผปู้ ว่ ยมะเรง็ ช่องปาก นวตั กรรมอาหารผสมสารพอี ีไอทีซี (PEITC) กับการก�ำจัดพษิ ของสารก่อมะเรง็ ในคนสบู บหุ ร่ี นวัตกรรมน�้ำลายเทียมชนิดเจล “วนุ้ ชุ่มปาก” ส�ำหรับผปู้ ว่ ยทมี่ ีภาวะปากแห้งนำ�้ ลายน้อย หลงั ฉายรังสรี กั ษา และผ้สู ูงอายุ นวัตกรรมอาหารวัตถุประสงคพ์ ิเศษส�ำหรับผู้ปว่ ยโรคไต นวัตกรรมอาหารวตั ถุประสงคพ์ เิ ศษส�ำหรบั เด็ก ผลติ ภัณฑ์น้�ำยาบ้วนปากฆ่าเชอื้ ในช่องปากจากหญ้าแฝก 2. กลมุ่ นวัตกรรมเครอ่ื งมือแพทย์ ด�ำเนนิ การโดยศนู ย์พฒั นารากฟันเทียมไทยเฉลิมพระเกยี รตริ ัชกาลที่ 9 สารเคลือบหลุมร่องฟันเรซนิ ชนดิ แข็งตัวด้วยแสง สารฟลูออไรดว์ านิชปอ้ งกนั ฟนั ผุ รากฟนั เทยี ม รากเทียมส�ำหรับยึดอวัยวะเทยี มบนใบหนา้ แผน่ ดามกระดูกและสกรสู �ำหรับยดึ ตรึงกระดูกแตกหกั บริเวณศรี ษะและ ใบหนา้ ส�ำหรับมนษุ ย์ ระบบ Digital dentistry เพื่อสนบั สนุนการป้องกนั และรกั ษา กระดกู เทียม 3. กลุ่มนวัตกรรมบริการทางการแพทย์ ด�ำเนนิ การโดย ศนู ยพฒั นาระบบบรกิ ารและคลินกิ ทนั ตกรรม การวิจยั ทางคลนิ ิก และใหบ้ ริการทนั ตกรรมทัว่ ไป การฝกึ อบรม ถ่ายทอดเทคโนโลยที างทันตกรรมแกท่ ันตบุคลากรทเ่ี ก่ียวข้อง 51 รายงานประจ�ำปี 2564
ผลการดำ� เนนิ งานด้านนวตั กรรมและการเรยี นรู้ นวัตกรรมอาหารทางการแพทย์และเวชภัณฑ์ โดย ศูนยพฒั นาอาหารทางการแพทยและเวชภัณฑเฉลมิ พระเกียรติ รชั กาลที่ 9 โครงการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมอาหาร ส�ำหรับผู้ป่วยมะเร็งช่องปาก (เจลล่ีโภชนา) Research and Development of Innovative Product for Oral Cancer Patients (Nutri Jelly) มูลนิธิทันตนวัตกรรม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้ด�ำเนินการ วิจัยและพัฒนานวัตกรรมอาหารส�ำหรับผู้ป่วยมะเร็งบริเวณศีรษะ และล�ำคอ (ผลติ ภณั ฑเ์ จลลโ่ี ภชนา) เพอ่ื เปน็ อาหารทช่ี ว่ ยใหผ้ ปู้ ว่ ยมะเรง็ บรเิ วณศรี ษะและล�ำคอ สามารถรบั ประทานไดท้ างปาก เคยี้ วงา่ ย สามารถ กลืนได้โดยไม่ต้องพ่ึงสายยาง ได้รับคุณค่าทางโภชนาการและ สารอาหารครบถ้วน มีรสชาติดี ให้ความชุ่มช้ืนในช่องปากและ ช่วยลดคา่ ใชจ้ า่ ยในการนอนรักษาตวั ในโรงพยาบาล ซึ่งเปน็ ประโยชน์ อย่างย่ิงต่อการดูแล อีกทั้งยังส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้ป่วย ซึ่ง การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์นวัตกรรมอาหารส�ำหรับผู้ป่วยมะเร็ง บริเวณศีรษะและล�ำคอ ด�ำเนินการแบ่งเป็น 2 โครงการยอ่ ยดงั นี้ 52 มูลนธิ ิทนั ตนวตั กรรม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์
โครงการย่อยท่ี 1 นวัตกรรมอาหารเพ่อื คณุ ภาพชีวิตทีด่ ขี องผปู้ ่วย Food for Better Quality of Life ผลิตภัณฑ์เจลล่ีโภชนาเป็นนวัตกรรมอาหารที่ ผู้ป่วยมะเร็งบริเวณศีรษะและล�ำคอสามารถรับประทานได้ และส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดี แก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการ โดยได้รับการขนึ้ ทะเบยี นผลติ ภณั ฑก์ บั คณะกรรมการอาหาร และยา (อย.)และได้รับการรับรองมาตรฐานอาหารฮาลาลจาก ส�ำนักงานคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทยตาม บัญญตั ิศาสนาอิสลามให้ประชาชนมุสลมิ สามารถใช้ประโยชน์ได้ นอกจากน้ี ผลิตภัณฑ์เจลลี่โภชนา รสมะม่วง และ รสชานม ได้รับการจดทะเบียนสิทธิบัตรจากกรมทรัพย์สินทาง ปัญญา และได้รับการตีพิมพ์วารสารนานาชาติ Support Care Cancer ส�ำนักพิมพ์ Springer ในหัวข้อ Nutri-jelly may improve quality of life and decrease tube feeding demand in head and neck cancer patients. เจลลโ่ี ภชนา รสมะมว่ ง เจลลีโ่ ภชนารสเสาวรส เจลลโ่ี ภชนา รสมังคดุ 5 สวา�ำรนสักาพริมพSu์ SppproinrgteCr arre Cancer สิทธิบัตรเจลลี่โภชนา 53 รายงานประจ�ำปี 2564
ผลการด�ำเนนิ งานดา้ นนวัตกรรมและการเรียนรู้ นวตั กรรมอาหารทางการแพทยแ์ ละเวชภณั ฑ์ โดย ศนู ยพฒั นาอาหารทางการแพทยแ ละเวชภัณฑเฉลมิ พระเกียรติ รัชกาลท่ี 9 โครงการย่อยท่ี 2 นวตั กรรมอาหารต้านมะเร็งช่องปาก Anti Oral Cancer Food โครงการยอ่ ยที่ 2 เปน็ การน�ำองคค์ วามรจู้ ากโครงการ ย่อยท่ี 1 มาพัฒนาต่อยอดเป็นนวัตกรรมอาหารทใ่ี หป้ ระโยชน์ ต่อการรกั ษาแกผ่ ้ปู ว่ ย เพอื่ ศึกษาวิจัยสารธรรมชาติซ่งึ ออกฤทธิ์ ยบั ยง้ั เซลลม์ ะเรง็ บริเวณศีรษะและล�ำคอแบบจ�ำเพาะ โดยมผี ล ขา้ งเคยี งนอ้ ยตอ่ เซลลเ์ ยอื่ บผุ วิ ปกติ เพอ่ื ท�ำใหผ้ ปู้ ว่ ยมะเรง็ บรเิ วณ ศรี ษะและล�ำคอมีคณุ ภาพชีวิตทีด่ ขี น้ึ สาร PEITC คอื อะไร? สารพีอีไอทีซี (PEITC) เป็นหนึ่งในสารที่ได้ท�ำการวิจัยและพบว่ามีศักยภาพในการป้องกันหรือ ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งและยังสามารถยับย้ังการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งหลาย ๆ ชนิดได้ ดงั นนั้ โครงการยอ่ ยที่ 2 น้ี จงึ ไดด้ �ำเนนิ การวิจยั และพฒั นา เจลลีโ่ ภชนาผสมสารพีอีไอทีซี (Nutri-PEITC jelly) สารพฤกษเคมี (phytochemicals) กลุ่มไอโซไทโอไซยาเนต (Isothiocyanates) ซึ่งพบมากในผักตระกูลกะหล�่ำ (Cruciferous vegetables) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สาร PEITC (Phenethyl Isothiocyanate: PEITC) ซงึ่ พบในผกั สลดั นำ้� (Watercress) ผักคะน้า กะหล�่ำดาว (Brussel sprout) และผักร็อกเกต (Rocket) มีฤทธิ์ยับย้ัง การเปล่ียนรูปให้เกิดสารก่อมะเร็ง (Metabolic activation) 54 มูลนธิ ทิ ันตนวัตกรรม ในพระบรมราชูปถมั ภ์
ขอ้ มลู การด�ำเนินงาน ผจู้ ัดการโครงการ ระยะเวลาการด�ำเนินงาน รศ.ทพญ.ดร.อรณุ วรรณ หล�ำอุบล เริม่ โครงการต้งั แต่เดอื นกนั ยายน 2553 สังกัด คณะทันตแพทยศาสตร์ สิน้ สุดวันที่ 30 กนั ยายน 2563 มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ รวมระยะเวลาการวจิ ยั ทัง้ ส้นิ 10 ปี ผ้ไู ดร้ บั พระราชทานทุนอานนั ทมหดิ ล สาขาทนั ตแพทยศาสตร์ พ.ศ. 2544 วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ รศ.ทพญ.ดร.ดุลยพร ตราชูธรรม “นวัตกรรมอาหารส�ำหรับผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและ สังกัด สถาบันโภชนาการ ล�ำคอ ผสมสาร PEITC” เพื่อวิจัยหาสารควบคุม มหาวิทยาลยั มหดิ ล การเจรญิ เตบิ โตของมะเรง็ ชอ่ งปาก ทม่ี ผี ลขา้ งเคยี ง ผู้ได้รบั พระราชทานทุนอานนั ทมหิดล น้อยต่อเน้ือเย่ือปกติ และเพื่อพัฒนานวัตกรรม สาขาทันตแพทยศาสตร์ พ.ศ. 2545 อาหารส�ำหรับผู้ป่วยมะเร็งช่องปาก โดยการผสม สารควบคมุ มะเร็งลงในนวตั กรรมเจลลีโ่ ภชนา ผลการด�ำเนนิ งาน เป้าหมายผลิตภัณฑ์ จากการทดสอบในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและ อาหารทมี่ วี ตั ถปุ ระสงคพ์ เิ ศษ (อาหารทางการแพทย)์ ล�ำคอที่รับประทานเจลลี่โภชนาผสมสารพีอีไอทีซี ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับท่ี 238) (PEITC) ระยะเวลา 3 เดือน พบว่า พ.ศ.2544 ใช้เฉพาะผู้ป่วยโรคมะเร็งช่องปาก ศีรษะและล�ำคอท่ีไม่อยู่ระหว่างการรักษา โดยมี ผปู้ ว่ ยมคี ณุ ภาพ วตั ถปุ ระสงคพ์ เิ ศษเพอื่ ชว่ ยในการคงสภาพรา่ งกาย ชวี ติ ทด่ี ขี นึ้ ให้ไมท่ รดุ ไปกว่าเดิมและชว่ ยส่งเสรมิ คุณภาพชวี ติ คงสภาพรอยโรค วิจยั รว่ มกบั 4 หนว่ ยงาน ไมใ่ หล้ กุ ลามได้ดี • โรงพยาบาลมะเรง็ ชลบรุ ี ระยะเวลาการมีชวี ิต • โรงพยาบาลมหาราชนครราชสมี า อยู่โดยรอยโรคไม่ • โรงพยาบาลมะเรง็ ลพบรุ ี ลกุ ลามยาวนานกวา่ • สถาบนั มะเรง็ แหง่ ชาติ ปัจจุบันได้ตีพิมพ์วารสาร Support Care Cancer ส�ำนักพิมพ์ Springer ในหัวข้อ Sensory acceptable equivalent doses of B-phenylethyl isothiocyanate (PEITC) induce cell cycle arrest and retard the growth of p53 mutated oral cancer in vitro and in vivo 55 รายงานประจ�ำปี 2564
ผลการดำ� เนินงานดา้ นนวตั กรรมและการเรียนรู้ นวัตกรรมอาหารทางการแพทยแ์ ละเวชภณั ฑ์ โดย ศนู ยพ ฒั นาอาหารทางการแพทยแ ละเวชภัณฑเ ฉลมิ พระเกยี รติ รชั กาลท่ี 9 โครงการผลของเจลล่ีโภชนาผสมสารพีอีไอทีซี (PEITC) ต่อการก�ำจัดพิษของสารก่อมะเร็งในคนสูบบุหรี่ Effect of Nutri-PEITC Jelly on carcinogen detoxification in smokers การวจิ ยั ครงั้ นเ้ี ปน็ การพฒั นาตอ่ ยอดผลติ ภณั ฑเ์ จลลโ่ี ภชนา ท่ีมา : มูลนิธริ ณรงคเ์ พอ่ื การไมส่ บู บุหร่ี ผสมสารพีอีไอทีซี (PEITC) เพื่อวิจัยการก�ำจัดสารพิษของสาร ก่อมะเร็งในคนสูบบุหร่ี เนื่องจากปัจจุบันพบว่ามีอัตราการสูบบุหร่ี เพิ่มสูงขึ้นและก่อให้เกิดผลเสียต่าง ๆ ต่อสุขภาพของผู้ท่ีสูบบุหร่ี และผู้ท่ีอยู่ใกล้ชิด อีกทั้งเป็นสาเหตุส�ำคัญในการเกิดโรคมะเร็งปอด และมะเร็งช่องปาก โดยในบุหรี่จะมีสาร N-Nitrosonornicotine (NNN) ในการกอ่ มะเรง็ ชอ่ งปากและ สาร 4-(methylnitrosamino)- 1-(3-pyridyl)-1-butanone (NNK) ท่ีเปน็ สารตวั ส�ำคัญในการ ก่อมะเร็งปอด เมื่อสารเหล่านี้เข้าสู่ร่างกายจะเปล่ียนเป็นสาร กอ่ มะเร็ง (carcinogen) ด้วยปฏิกิริยา alpha hydroxylation โดย อาศัย phase I enzyme เช่น CYP1A2 เป็นต้น ซ่ึงสารก่อมะเร็ง ดงั กลา่ วสามารถจบั กบั สารพนั ธกุ รรม (DNA) ท�ำให้ยีนกลายพันธุ์ (mutation) เกิดความไม่เสถียรของสารพันธุกรรม (genomic- instability) และเกดิ โรคมะเร็งได้ 56 มูลนิธทิ นั ตนวตั กรรม ในพระบรมราชูปถมั ภ์
ขอ้ มลู การด�ำเนนิ งาน ผู้จดั การโครงการ ระยะเวลาการด�ำเนนิ งาน รศ.ทพญ.ดร.อรณุ วรรณ หล�ำอุบล ระยะเวลาตลอดการวจิ ยั รวม 1 ปี 6 เดอื น สังกดั คณะทันตแพทยศาสตร์ (ตงั้ แต่วันท่ี 15 ตลุ าคม 2562 – 31 มนี าคม 2564) มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ ผูไ้ ด้รบั พระราชทานทุนอานนั ทมหดิ ล วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ สาขาทันตแพทยศาสตร์ พ.ศ. 2544 เพอ่ื ศึกษาผลของเจลลโ่ี ภชนาผสมสารพอี ีไอทีซี รศ.ทพญ.ดร.ดุลยพร ตราชูธรรม (PEITC) ต่อการก�ำจัดพิษของสารก่อมะเร็ง สังกดั สถาบนั โภชนาการ NNN และ NNK ในคนสบู บหุ รี่ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล จากรายงานวิจัยก่อนหน้า(1) พบว่า ปริมาณของ ผไู้ ดร้ ับพระราชทานทุนอานันทมหดิ ล สาร PEITC ท่ีใส่ในเจลลี่โภชนามีความใกล้เคียงกับ สาขาทันตแพทยศาสตร์ พ.ศ. 2545 ปริมาณสาร PEITC ที่มีฤทธิ์ยับย้ังสารก่อมะเร็งจาก บหุ ร่ี จงึ มคี วามเปน็ ไปไดว้ า่ การบรโิ ภคเจลลโี่ ภชนาผสม สาร PEITC อาจช่วยส่งเสริมการก�ำจัดพิษของสาร ก่อมะเร็ง NNN และ NNK ในคนสูบบุหรี่ได้ (o1f)pS5e3nsmourytaatcecdepotraabl lceanecqeurivianlevintrtodaonsedsinofvBiv-ophenylethyl isothiocyanate (PEITC) induce cell cycle arrest and retard the growth 57 รายงานประจ�ำปี 2564
ผลการด�ำเนินงานดา้ นนวตั กรรมและการเรียนรู้ นวตั กรรมอาหารทางการแพทย์และเวชภัณฑ์ โดย ศูนยพฒั นาอาหารทางการแพทยแ ละเวชภณั ฑเฉลมิ พระเกียรติ รชั กาลท่ี 9 ผลการด�ำเนนิ งาน ผลการทดสอบจากอาสาสมัครท่ีเข้าร่วมโครงการ และ ผา่ นเกณฑจ์ �ำนวน 30 คน พบว่าการรับประทานเจลล่โี ภชนาผสม สารพอี ไี อทซี ี (PEITC) วันละ 4 ถ้วย ซึ่งมีสารพอี ีไอทีซี (PEITC) 40 มิลลิกรัม มีความน่าจะเป็นท่ีจะช่วยลดการเปลี่ยนรูปจาก NNK ไปเป็นสารก่อมะเร็ง NNAL และเพิ่มการเปลี่ยนรปู NNN ไปเป็น NNAL-Gluc เพ่ือก�ำจัดออกทางปัสสาวะในคนท่ีสูบบุหรี่ เป็นประจ�ำได้ ดังนั้น สรุปได้ว่าเจลล่ีโภชนาผสมสารพอี ไี อทซี ี (PEITC) อาจส่งผลต่อการขับสารก่อมะเร็งท่ีเกิดจากการสบู บหุ รซ่ี ึ่งช่วยลด การเกิดสารก่อมะเร็ง ท�ำให้เกิดการเปลี่ยนรูปไปเป็นสารที่ไม่มีพิษ (Inactive metabolites) และขบั ออกทางปัสสาวะมากขน้ึ 30ขอ้ มูลอาสาสมคั ร คน ทน่ี �ำมาวเิ คราะห์ รวม ลดการเกดิ สารกอ่ มะเร็ง ปจั จบุ นั ผลของโครงการเจลลโี่ ภชนาผสมสารพอี ไี อทซี ี (PEITC) ตอ่ การก�ำจดั พษิ ของสารกอ่ มะเรง็ ใน คนสบู บหุ ร่ี อยู่ในระหว่างการยื่นตพี มิ พว์ ารสารนานาชาติ หัวขอ้ “Nutri-PEITC Jelly Promotes Detoxification of Tobacco-specific Carcinogens in Male Active Cigarette Smokers.” 58 มูลนธิ ทิ นั ตนวตั กรรม ในพระบรมราชูปถมั ภ์
ผลการด�ำเนินงานดา้ นนวตั กรรมและการเรยี นรู้ ศูนยพฒั นาอาหารทางการแพทยแ ละเวชภณั ฑเ ฉลมิ พระเกียรติ รชั กาลที่ 9 โครงการวิจยั และพฒั นานวตั กรรมน�้ำลายเทียมชนดิ เจล สำ� หรับผูท้ ่ีมภี าวะปากแห้งน�้ำลายนอ้ ย (ว้นุ ชมุ่ ปาก) Research and Development of Innovative Product Oral Moisturizing Jelly Project (OMJ) จากจ�ำนวนผู้สูงวัยที่เพ่ิมขึ้นมากในปัจจุบัน พบว่าให้ปัญหาสุขภาพช่องปากที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ เช่น โรคมะเร็งในช่องปากซ่ึงการรักษาโรคมะเร็งช่องปากในระยะต้นจะใช้วิธีผ่าตัดร่วมกับรังสีรักษาซึ่งมักมี ผลข้างเคียงระยะยาวคือ ต่อมน้�ำลายฝ่อลีบ ท�ำให้การท�ำงานของต่อมน�้ำลายมีปริมาณและคุณภาพของน้�ำลายลดลง รวมไปถึงผลจากยาทใี่ ช้รกั ษาโรคทางระบบบางชนิดมกั มีผลข้างเคียงท�ำให้เกดิ ภาวะปากแหง้ นำ้� ลายนอ้ ย โครงการยอ่ ยท่ี 1 (OMJ 1) นวตั กรรมน้ำ� ลายเทยี มชนิดเจล (วนุ้ ชุม่ ปาก) นวัตกรรมน้�ำลายเทียมชนิดเจล (วุ้นชุ่มปาก) สามารถให้ ความชุ่มช้ืนในช่องปาก ช่วยส่งเสริมและควบคุมสมดุลในช่องปาก ได้ดี และมคี ณุ สมบตั ทิ ีค่ ล้ายคลึงน้�ำลายตามธรรมชาติ ซึ่งจะเป็น ประโยชน์อย่างย่ิงต่อผู้ปว่ ยและผสู้ งู อายทุ ีป่ ระสบปญั หาดังกล่าว ปจั ุบนั นวตั กรรมน�้ำลายเทยี มชนิดเจล (วุน้ ชุ่มปาก) ตีพิมพ์วารสารนานาชาติ หวั ขอ้ Influence of oral moisturizing jelly as a saliva substitute for the relief of xerostomia in elderly patients with hypertension and diabetes mellitus 59 รายงานประจ�ำปี 2564
ผลการดำ� เนนิ งานด้านนวตั กรรมและการเรียนรู้ นวัตกรรมอาหารทางการแพทยแ์ ละเวชภัณฑ์ โดย ศูนยพัฒนาอาหารทางการแพทยแ ละเวชภณั ฑเ ฉลิมพระเกยี รติ รัชกาลท่ี 9 โครงการย่อยท่ี 2 (OMJ 2) ผจู้ ดั การโครงการ การวจิ ัยแบบทดลองทางคลินกิ เพื่อศกึ ษา ผลของว้นุ ชุ่มปากตอ่ สขุ ภาพชอ่ งปาก และ รศ.ทพญ.ดร.อรณุ วรรณ หล�ำอบุ ล โภชนาการในผปู้ ่วยมะเรง็ ศีรษะและล�ำคอ สงั กัด คณะทันตแพทยศาสตร์ ทมี่ ีอาการปากแหง้ หลงั จบรังสรี กั ษา มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ ผไู้ ด้รบั พระราชทานทนุ อานันทมหดิ ล โครงการย่อยท่ี 2 (OMJ 2) เป็นการน�ำผลิตภัณฑ์ สาขาทนั ตแพทยศาสตร์ พ.ศ. 2544 ต้นแบบที่ได้จากโครงการย่อยท่ี 1 มาทดสอบทางคลินิก รศ.ทพญ.ดร.ดุลยพร ตราชธู รรม (Clinical trial) ซ่ึงจะเป็นการวิจัยและปรับปรุงผลิตภัณฑ์ สังกดั สถาบันโภชนาการ วุ้นชุ่มปากเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพความสามารถในการปรับ มหาวิทยาลัยมหิดล ความเป็นกรด - ด่างในน�้ำลายของผู้สูงอายุ และทดสอบ ผู้ไดร้ บั พระราชทานทุนอานันทมหดิ ล ประสิทธิผลของวุ้นชุ่มปากต่อสุขภาพช่องปากที่ท�ำการผลิต สาขาทันตแพทยศาสตร์ พ.ศ. 2545 ในระดับอุตสาหกรรมของมูลนิธิฯ โดยเปรียบเทียบกับเจล หล่อลื่นช่องปากชนิดกลืนไม่ได้ ที่มีจ�ำหน่ายอยู่ในท้องตลาด ข้อมลู การด�ำเนนิ งาน ระยะเวลาการด�ำเนนิ งาน เริม่ โครงการตัง้ แต่วนั ท่ี 1 กันยายน 2559 สิ้นสุดวัน ที่ 31 สิงหาคม 2562 รวมระยะเวลาโครงการวิจยั ทัง้ สน้ิ 3 ปี วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ เพอื่ ทดสอบประสทิ ธผิ ลของวนุ้ ชมุ่ ปากทที่ �ำการผลติ ในระดบั อุตสาหกรรมต่อสุขภาพช่องปากและโภชนาการในผู้ป่วย มะเร็งศีรษะและล�ำคอท่ีประสบปัญหาปากแห้งน�้ำลายน้อย หลงั รบั รังสีรกั ษาเสรจ็ สนิ้ วิจัยรว่ มกบั 3 หน่วยงาน • โรงพยาบาลมะเร็งชลบรุ ี • คณะทนั ตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ • สถาบันโภชนาการ มหาวทิ ยาลัยมหิดล 60 มลู นธิ ทิ ันตนวตั กรรม ในพระบรมราชูปถมั ภ์
ผลการด�ำเนินงาน ผลการทดสอบพบว่าวุ้นชุ่มปาก (OMJ) ที่ได้รับการปรับปรุงสูตร และท�ำการผลติ ในระดับอุตสาหกรรม มีประสิทธิผลในด้านสุขภาพช่องปาก และโภชนาการในผู้ป่วยมะเร็งบริเวณศีรษะและล�ำคอหลังรับรังสีรักษา เสรจ็ สนิ้ ได้ กลา่ วคอื การใชว้ นุ้ ชมุ่ ปากอยา่ งตอ่ เนอ่ื งเปน็ เวลา 2 เดอื นไมส่ ง่ ผล ให้เกิดอาการข้างเคียงร้ายแรงต่อผู้ใช้ และยังสามารถช่วยลดอาการภาวะ ปากแหง้ เพมิ่ อตั ราการไหลของนำ�้ ลาย ชว่ ยการกลนื และรบั ประทานอาหาร มสี ภาวะโภชนาการทด่ี ขี นึ้ นอกจากนย้ี งั ปรบั คณุ สมบตั ทิ างชวี เคมขี องนำ้� ลาย ใหด้ ขี นึ้ อกี ดว้ ย และมแี นวโนม้ ทจี่ ะสามารถลดการสะสมของเชอื้ ราในชอ่ งปาก ได้ ดังนั้นคุณสมบัติดังกล่าวข้างต้นมคี วามใกลเ้ คยี งกบั เจลหลอ่ ลนื่ ชอ่ งปาก ชนิดกลนื ไม่ได้ (GC dry mouth gel) ท่ีจ�ำหน่ายอย่ใู นทอ้ งตลาด ซ่งึ เปน็ สนิ ค้าน�ำเข้าจากตา่ งประเทศและมรี าคาสูง ผลติ ภณั ฑว์ ุ้นชุม่ ปากได้รบั การตีพมิ พ์วารสารนานาชาติ Springer ใน 2 หัวขอ้ คือ 1. A“NAbeliclliketyvCiaaatnniodcneCroliPfnaDictriaeylnMNtuo:tuartithRioabnnyadSloaSmltiaviztaueSsduobCfsoPtniottusrtot-elRlseaIddmioTptrrhioaevl”readpySwHaelalodwainndg เปน็ งานวจิ ยั ในผปู้ ว่ ยมะเรง็ ศรี ษะและล�ำคอหลงั จบรงั สรี กั ษา โดยผปู้ ว่ ยมี ภาวะปากแหง้ น�้ำลายน้อย และกลืนล�ำบากโดยผลิตภัณฑ์วุ้นชุ่มปาก (OMJ) สามารถช่วยบรรเทาอาการปากแหง้ และปัญหาการกลนื ได้ ดีกว่าน�้ำลายเทียมชนิดเจลทางการค้า ซึ่งน�ำไปสู่ภาวะโภชนาการ ทางคลินิกทีด่ ขี นึ้ จงึ อาจมีความส�ำคญั ต่อการสนบั สนุนโภชนาการของ ผู้ปว่ ยมะเรง็ ศรี ษะและคอหลังจบรังสีรกั ษา โดยไดเ้ ผยแพร่สูส่ าธารณะเมื่อวันท่ี 15 พฤศจิกายน 2562 2. sc“aaElnfifvcicaearcppyroaotpifeengrtetisel-:sbaainrsaenxdedraoormtsitfiiozcemiadliccsoaplnoivtsrato-rolalneddiCotatrhniaedlr”iadpaycohleoandizaatniodnnaencdk เป็นงานวจิ ยั ในผปู้ ่วยมะเร็งศีรษะและล�ำคอหลงั จบรงั สรี ักษา จาก ผลการศกึ ษาผลติ ภณั ฑว์ นุ้ ชมุ่ ปาก (OMJ) มแี นวโนม้ ชว่ ยปรบั สมดลุ เชอ้ื ราในชอ่ งปากลดปรมิ าณเชอ้ื ราสะสมในชอ่ งปากลดจ�ำนวนชนดิ ของเชอ้ื ราในชอ่ งปากและมคี วามสามารถปรบั คา่ ความเปน็ กรด - ดา่ ง ในช่องปาก (Buffering capacity) โดยได้เผยแพรส่ ูส่ าธารณะเมื่อวันท่ี 10 สิงหาคม 2563 61 รายงานประจ�ำปี 2564
ผลการดำ� เนินงานดา้ นนวตั กรรมและการเรยี นรู้ นวัตกรรมอาหารทางการแพทย์และเวชภณั ฑ์ โดย ศูนยพฒั นาอาหารทางการแพทยแ ละเวชภณั ฑเฉลมิ พระเกยี รติ รชั กาลที่ 9 โครงการปรบั ปรงุ พฒั นานวตั กรรมอาหารทางการแพทย์ ปัจจุบันมูลนิธิทันตนวัตกรรม ในพระบรมราชูปถัมภ์ มีนโยบายในการพฒั นาผลติ ภณั ฑแ์ ละการบรกิ ารใหเ้ ขา้ ถงึ ประชาชน กลมุ่ เปา้ หมายทห่ี ลากหลายขึ้น ได้แก่ กลุ่มผู้สูงอายุ กลุม่ เดก็ เลก็ รวม ถึงผูท้ ่ีมปี ัญหาทางสขุ ภาพอ่นื ๆ ทส่ี ง่ ผลตอ่ โรคทางทนั ตกรรมคอื โรค ตดิ ตอ่ ไมเ่ รอ้ื รงั หรือ Non-Communicable diseases (NCDs) เช่น โรคไต โรคเบาหวานเปน็ ตน้ ศนู ยพ ฒั นาอาหารทางการแพทยและ เวชภณั ฑเ ฉลมิ พระเกยี รติ รชั กาลท่ี 9 (ศรท.9) จงึ มแี ผนการด�ำเนนิ งาน วจิ ยั และพฒั นาผลติ ภณั ฑใ์ หมเ่ พอ่ื สนองตอ่ นโยบายดงั กลา่ วโดยอยใู่ น โครงการปรับปรุงพัฒนาอาหารทางการแพทย์ 62 มลู นิธทิ ันตนวตั กรรม ในพระบรมราชูปถมั ภ์
ผลการด�ำเนินงานด้านนวัตกรรมและการเรยี นรู้ ศูนยพัฒนาอาหารทางการแพทยแ ละเวชภัณฑเ ฉลมิ พระเกียรติ รชั กาลที่ 9 ข้อมลู การด�ำเนนิ งาน ระยะเวลาการด�ำเนินงาน อยูใ่ นระหว่างวิจัยและพัฒนา (มกราคม 2564 - ธนั วาคม 2564) วตั ถุประสงค์ของโครงการ (1) เพื่อพัฒนานวัตกรรมอาหาร เพ่ิมรสชาติของ ผลติ ภณั ฑเ์ จลลโ่ี ภชนาใหม้ คี วามหลากหลายทงั้ ดา้ น รสชาตแิ ละคณุ ประโยชน์รวมถงึ มโี ภชนาการครบถว้ น ตามวตั ถปุ ระสงค์ของผลติ ภัณฑ์ (2) เพื่อพัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์วุ้นชุ่มปาก (น�้ำลายเทียมชนิดเจล) ให้มีความหลากหลาย ทงั้ ดา้ นกลนิ่ รส และมคี ณุ ประโยชนท์ จี่ ะชว่ ยสง่ เสรมิ สุขภาพทางช่องปากเพ่มิ มากขนึ้ (3) เพอื่ พฒั นานวตั กรรมอาหารส�ำหรบั กลมุ่ เปา้ หมาย ใหม่ ได้แก่ ผู้สูงอายุ เด็กเล็ก รวมถึงผู้ท่ีมีปัญหา สขุ ภาพอ่นื ๆ ทีส่ ง่ ผลต่อโรคทางทันตกรรม ผลการด�ำเนินงาน (1) ทดลองผลติ เจลลโ่ี ภชนา รสมงั คดุ ในระดบั อตุ สาหกรรม (2) ทดลองผลติ เจลลโ่ี ภชนา รสมลั เบอรร์ ี่ ในระดบั อตุ สาหกรรม (3) ทดลองผลติ วนุ้ ชมุ่ ปาก กลนิ่ ลนิ้ จี่ ในระดบั อตุ สาหกรรม (4) ทดลองผลติ วนุ้ ชมุ่ ปาก กลน่ิ นำ้� ผง้ึ มะนาวผสมสารสกดั ใบบวั บกในระดบั อตุ สาหกรรม (5) ทดลองผลติ วนุ้ ชมุ่ ปาก กลน่ิ มงั คดุ ผสมสารสกดั เปลอื กมงั คดุ ในระดบั อตุ สาหกรรม (6) ปรบั ปรงุ สตู รเจลลโ่ี ภชนา รสกลว้ ย ในระดบั หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร (7) ด�ำเนนิ การยนื่ ขอขนึ้ ทะเบยี นผลติ ภณั ฑเ์ จลลโี่ ภชนา รสมงั คดุ ตราดไี อเอฟกบั อย. โดยมเี ลขสารบบอาหาร คอื 10-1-09760-5-0005 63 รายงานประจ�ำปี 2564
ผลการดำ� เนนิ งานด้านนวตั กรรมและการเรยี นรู้ นวัตกรรมอาหารทางการแพทย์และเวชภัณฑ์ โดย ศูนยพ ฒั นาอาหารทางการแพทยแ ละเวชภัณฑเฉลมิ พระเกียรติ รัชกาลที่ 9 โครงการวจิ ัยและพัฒนา นวัตกรรมอาหารส�ำหรับผปู้ ่วยโรคไต Kidney Disease Food : KDF โรคไตเร้ือรัง (Chronic Kidney Disease : CKD) เป็นภาวะท่ีการท�ำงานของไตเสื่อมลงเป็นเวลามากกว่า 3 เดอื น เกดิ จากโรคหรอื ภาวะทมี่ กี ารบาดเจบ็ ของไต ซง่ึ พบไดจ้ ากหลายสาเหตุ เชน่ โรคเบาหวาน ความดนั โลหติ สงู เป็นต้น ส่งผลให้มีการคง่ั ของของเสยี ในเลอื ดและรา่ งกาย มคี วามรนุ แรงตง้ั แตน่ อ้ ยไปหามาก หนง่ึ ในการรกั ษาเพอ่ื ชะลอ อาการเสอื่ มของไต คอื การควบคมุ อาหาร โดยการลดปรมิ าณเกลอื โซเดยี ม รบั ประทานอาหารโปรตนี ใหเ้ หมาะสม ไดร้ บั พลงั งานทเ่ี พยี งพอการควบคุมระดับโพแทสเซียมและฟอสฟอรัสในอาหารไม่ให้มากเกินไป และการก�ำจัดปริมาณ สารอาหารบางชนิดท้ังนี้ ผู้ป่วยแต่ละรายอาจมีการจ�ำกัดอาหารบางชนิดที่ไม่เหมือนกัน ข้ึนอยู่กับสาเหตุและระยะ ของโรคไตเร้ือรัง ดังนั้น จึงเป็นที่มาของการด�ำเนินโครงการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์นวัตกรรมอาหารส�ำหรับผู้ป่วย โรคไต โดยมุ่งเน้นท่ีจะพัฒนานวตั กรรมอาหารทมี่ กี ารควบคมุ ระดบั สารอาหารใหเ้ หมาะกบั ระยะของผปู้ ว่ ยโรคไต เพอื่ ชะลออาการเสอ่ื มของไตในผปู้ ว่ ย 64 มลู นิธิทนั ตนวตั กรรม ในพระบรมราชปู ถัมภ์
ข้อมูลการด�ำเนินงาน ที่ปรึกษาโครงการ ระยะเวลาการด�ำเนินงาน รศ.พญ.ศิรริ ัตน์ อนตุ ระกูลชัย อยใู่ นระหวา่ งวจิ ัยและพัฒนา สงั กดั ภาควชิ าอายุรศาสตร์ (ตลุ าคม 2563 - ตลุ าคม 2565) มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ ผู้ได้รบั พระราชทานทนุ อานันทมหิดล วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ สาขาแพทยศาสตร์ พ.ศ. 2547 เพ่ือพัฒนานวัตกรรมอาหารที่ควบคุมระดับสาร อาหารทเ่ี หมาะส�ำหรบั ผปู้ ว่ ยโรคไตและผทู้ ม่ี ภี าวะ ผศ.ดร.ณัฐธดิ า โชติชว่ ง เสยี่ งทีจ่ ะเกิดโรคไต สงั กัด ภาควชิ าเทคโนโลยีทางอาหาร คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย เป้าหมายผลติ ภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์อาหารทม่ี วี ตั ถุประสงคพ์ ิเศษ (อาหาร ทางการแพทย)์ ส�ำหรบั ผปู้ ว่ ยโรคไต ทมี่ สี ว่ นชว่ ย ในการคงสภาพระดบั การท�ำงานของไตและชว่ ย สง่ เสรมิ คุณภาพชวี ติ 65 รายงานประจ�ำปี 2564
ผลการด�ำเนนิ งานดา้ นนวัตกรรมและการเรียนรู้ นวตั กรรมอาหารทางการแพทยแ์ ละเวชภัณฑ์ โดย ศนู ยพัฒนาอาหารทางการแพทยและเวชภัณฑเ ฉลมิ พระเกียรติ รัชกาลที่ 9 ผลการด�ำเนนิ งาน ในระยะแรกผู้วิจัยได้ประเมินสารอาหาร ในเจลลี่โภชนา รสมะม่วงโดยพบว่ามี ฟอสฟอรัส 87 มก./100 กรัม โพแทสเซียม175 มก./100 กรัม ส�ำหรับโซเดียมพบใน ปริมาณที่ต�่ำส�ำหรับการรับประทานเจลลี่โภชนาของ ผปู้ ว่ ยโรคไต สามารถใหผ้ ปู้ ว่ ยโรคไตรบั ประทานเจลลโ่ี ภชนา เป็นอาหารเสริมได้มอ้ื ละ 1 ถว้ ยหรอื วนั ละ 1-3 ถว้ ยแตต่ ้อง ไดร้ บั การควบคมุ โดยแพทยห์ รอื นกั โภชนาการทอี่ ยใู่ นความ ดแู ล เนื่องจากระดับการเป็นโรคไตของผู้ป่วยแต่ละคนอยู่ ในระดับท่ีแตกต่างกัน ดังนั้น มูลนิธิฯ จึงได้ด�ำเนินการ วิจัยและพัฒนาเจลล่ีโภชนา สูตรส�ำหรับผู้ป่วยโรคไต โดยเฉพาะต่อไป ที่มา : DDC กรมควบคุมโรค 66 มูลนิธิทนั ตนวตั กรรม ในพระบรมราชูปถมั ภ์
ผลการดำ� เนนิ งานด้านนวัตกรรมและการเรียนรู้ ศนู ยพฒั นาอาหารทางการแพทยและเวชภัณฑเฉลมิ พระเกยี รติ รัชกาลท่ี 9 โครงการวิจัยและพฒั นา อาหารท่ีมีวัตถุประสงค์พิเศษสำ� หรบั เด็ก Healthy complementary baby food development for children มูลนิธิทันตนวัตกรรม ในพระบรมราชูปถัมภ์ เล็งเห็นความส�ำคัญ ของเดก็ ทจี่ ะเจรญิ เตบิ โตไปเปน็ ผใู้ หญท่ ม่ี คี ณุ ภาพ จงึ ไดด้ �ำเนนิ โครงการวิจัย และพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเสริมเพ่ือสุขภาพส�ำหรับเด็กท่ีมีอายุ 6 เดอื นขน้ึ ไป โดยผลติ ภณั ฑ์จะมลี กั ษณะเน้อื สมั ผสั ที่เป็นของเหลวหนดื ข้น แต่เน้อื ไม่ ละเอยี ดจนเกนิ ไปเพอ่ื ฝกึ ทกั ษะการเคยี้ วและกลนื ของเดก็ ทารก ซง่ึ ผลติ ภณั ฑ์ นี้จะอุดมไปด้วยพลังงานแร่ธาตุ และวติ ามนิ ทจ่ี �ำเปน็ ส�ำหรบั เดก็ สามารถกนิ ควบคกู่ บั นมแมไ่ ด้ เพื่อให้เด็กได้รับสารอาหารท่ีครบถ้วน นอกจากนี้ ยังได้ คิดค้นสูตรอาหารเสริมส�ำหรับเด็กให้มีความหลากหลาย เช่น สูตรช่วย เสรมิ สร้างภูมิคุ้มกันให้กับร่างกาย สูตรเสริมสร้างระบบขับถ่าย สตู รเสรมิ สรา้ งความแขง็ แรง และสตู รทอ่ี ดุ มไปดว้ ยวติ ามนิ จากผกั และผลไม้ เพอ่ื ตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการของผปู้ กครองและเดก็ ใหม้ คี วามหลากหลาย ในการเลอื กบริโภคมากข้ึน 67 รายงานประจ�ำปี 2564
ผลการดำ� เนินงานดา้ นนวตั กรรมและการเรียนรู้ นวตั กรรมอาหารทางการแพทย์และเวชภัณฑ์ โดย ศนู ยพฒั นาอาหารทางการแพทยแ ละเวชภัณฑเ ฉลิมพระเกียรติ รชั กาลที่ 9 ขอ้ มูลการด�ำเนนิ งาน ระยะเวลาการด�ำเนินงาน ระยะเวลาตลอดการวิจยั รวม 1 ปี 7 เดอื น (ต้งั แตว่ ันท่ี 1 มถิ นุ ายน 2564 – 31 ตุลาคม 2565) วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ เพอ่ื พฒั นาผลติ ภณั ฑอ์ าหารเสรมิ ส�ำหรบั เดก็ อายุ 6 เดอื น ขึ้นไป เพ่ือให้เด็กไทยได้รับสารอาหารท่ีครบถ้วนและ เหมาะสมตามหลกั โภชนาการ กล่มุ เป้าหมาย เด็กที่มีอายุ 6 เดือนขึ้นไป การทดสอบทางประสาทสัมผสั แผนการด�ำเนินงาน 1 234 5 ศึกษาความเป็นไปได้และ ทดลองผลติ อาหารเสริม ทดลองผลิตอาหารเด็ก ประเมินความพงึ พอใจ ขอรับรอง คุณสมบัติของผลติ ภัณฑ์ ตน้ แบบส�ำหรบั เดก็ ในระดับอตุ สาหกรรม ของผบู้ ริโภค มาตรฐานทีเ่ ก่ยี วข้อง อาหารเด็กทางการคา้ ในหอ้ งปฏบิ ัติการ และกล่มุ เปา้ หมาย 68 มลู นธิ ิทันตนวตั กรรม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์
“ ผลการดำ� เนินงานดา้ นนวตั กรรมและการเรยี นรู้ ศนู ยพ ัฒนาอาหารทางการแพทยแ ละเวชภณั ฑเฉลิมพระเกียรติ รชั กาลที่ 9 “ หญ้าแฝก สามารถทำ� อะไรได้หลายอย่าง ทันตแพทย์ลองไปคดิ ดวู า่ ท�ำอะไรไดบ้ ้าง แล้วมาเล่าให้เราฟงั กระแสพระราชดำ� รัส พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู ิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร รชั กาลท่ี 9 โครงการน้ำ� ยาบว้ นปากฆ่าเชื้อจากหญา้ แฝก เพอ่ื รักษาคลองรากฟนั (Vetiver Mouthwash) เพื่อสนองพระราชปณิธานพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลท่ี 9 มูลนิธิฯ จึงได้มีการลงนามสัญญาร่วมวิจัยและพัฒนากับมูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ในพระบรมราชูปถัมภ์ เพ่ือด�ำเนินการศึกษาวิจัยและพัฒนาประโยชน์ จากหญ้าแฝก โดยเร่ิมจาก “โครงการนำ�้ ยาฆา่ เชอ้ื จากหญา้ แฝกเพอื่ รกั ษา คลองรากฟัน” ตามแผนการด�ำเนินงานของมูลนิธิฯ ในปีงบประมาณ 2564 โดยได้รับงบประมาณสนับสนุนจากคณะกรรมการพิเศษ เพื่อ ประสานงานโครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชด�ำริ (ส�ำนกั งาน กปร.) 69 รายงานประจ�ำปี 2564
ผลการดำ� เนนิ งานด้านนวตั กรรมและการเรียนรู้ นวัตกรรมอาหารทางการแพทย์และเวชภณั ฑ์ โดย ศนู ยพัฒนาอาหารทางการแพทยแ ละเวชภณั ฑเ ฉลมิ พระเกยี รติ รชั กาลที่ 9 ข้อมูลการด�ำเนินงาน ระยะเวลาการด�ำเนนิ งาน ระยะเวลาตลอดการวจิ ยั ปี 2564-2568 วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ เพือ่ ใหไ้ ด้ผลิตภณั ฑฆ์ ่าเชื้อในชอ่ งปากจากหญา้ แฝก ส�ำหรับทนั ตกรรมเฉพาะทาง เพือ่ - ยับยงั้ เชอ้ื แบคทีเรีย - ยับยง้ั เชื้อแบคทีเรยี กอ่ โรคฟนั ผุ - ยบั ย้งั เชื้อแบคทเี รียก่อโรคติดเชือ้ ในคลองรากฟนั - ยบั ยั้งเชอ้ื แบคทีเรียก่อโรคปรทิ ันต์ - ยบั ยั้งเช้อื ราในช่องปาก ภาพรวมแผนการดําเนินงานวิจยั (ป 2564-2566) • Literature review • จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณแ ละวัตถดุ บิ • ขออนมุ ัติการทดลองทางคลนิ ิกจากคณะกรรมการ • Reference of standardization/ ISO • ดาํ เนินการวิจยั และพัฒนาผลิตภณั ฑตนแบบ พจิ ารณาจริยธรรมการวิจัยในมนุษย • ทดสอบคณุ สมบตั ขิ องน้าํ ยาบว นปาก ศกึ ษาและจัดเตรียมขอมูลโครงการ • ทดสอบความเปนพษิ ตอ เซลล (Cytotoxicity test) • ทดสอบผลของผลิตภณั ฑใ นอาสาสมคั ร • ทดสอบในหองปฏิบตั ิการ (in vivo test) • วิเคราะหข อมูลและสรุปผล เพ่ือใชใ นการปรบั ปรุง ดําเนนิ การวิจัยและพัฒนาผลติ ภณั ฑต น แบบ ผลติ ภัณฑ ทดสอบความปลอดภัยและประสิทธผิ ลในอาสาสมัคร ทาํ สัญญารว มวจิ ยั ผลิตผลิตภณั ฑต นแบบเพอ่ื การทดสอบ ขอรับรองมาตรฐานที่เกี่ยวขอ ง • มลู นิธิทันตนวตั กรรม ในพระบรมราชปู ถัมภ • ทดสอบอายกุ ารเก็บรกั ษาของผลติ ภณั ฑ (shelf-life test) • รับรองมาตรฐาน อย. • มลู นธิ ิแมฟา หลวง ในพระบรมราชูปถัมภ • ทดสอบการยอมรบั ผลติ ภณั ฑตนแบบ • รับรองมาตรฐาน ISO 70 มลู นธิ ทิ ันตนวตั กรรม ในพระบรมราชปู ถัมภ์
ผลการดำ� เนินงานดา้ นนวัตกรรมและการเรียนรู้ ศนู ยพ ฒั นาอาหารทางการแพทยแ ละเวชภณั ฑเฉลิมพระเกียรติ รชั กาลที่ 9 โครงการวิจยั ความสมั พนั ธ์ ระหว่างปญั หารับกลิน่ -รส และความเส่ยี งตอ่ โรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรน่า 2019 จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า 2019 ที่เป็นภัยคุกคามต่อประชาชนทั่วทุกมุมโลกตั้งแต่ ปลายปี 2562 นั้น ท�ำให้วงการแพทยท์ ัว่ โลกมีความตื่นตวั ต่อสถานการณ์ดงั กลา่ ว การค้นพบวา่ ผู้ใดเปน็ ผูต้ ิดเช้ือและ น�ำไปกักตัวถือว่าเป็นขั้นตอนท่ีช่วยป้องกันการติดเช้ือโดยรวมได้ในระดับหน่ึง และหนึ่งในอาการของผู้ติดเช้ือคือ ความผดิ ปกตขิ องการรบั รสรบั กลนิ่ โครงการนี้นบั ได้วา่ เป็นการให้ความรว่ มมือกับวงการแพทยใ์ นเรื่องขององค์ความรู้ ท่ีเก่ียวข้องกบั โรคไวรสั โคโรน่า 2019 การด�ำเนินการวิจัยจะหาความสัมพันธ์ระหว่างการติดเชื้อ SAR-CoV-2 และการเกิดความผิดปกติในการรับรสหรือรับกล่ินโดยใช้ Case–control study เปน็ กลมุ่ case (ผลบวกพบเชอ้ื SAR-CoV-2) 122 คน และกลมุ่ control (ผลลบไมพ่ บเชอ้ื SAR-CoV-2) 244 คน จ�ำนวนทงั้ หมด เท่ากับ 366 คน เป็นสัญชาติไทย ไม่จ�ำกัดเพศ อายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป สามารถสื่อสารภาษาไทยได้ ยินยอมตอบข้อมูลในแบบสอบถาม หากผา่ นเกณฑจ์ ะไดร้ บั การตรวจหา SAR-CoV-2 ดว้ ยวธิ กี าร PCR โดย ทง้ั 2 กลมุ่ จะตอบแบบสอบถามเพอ่ื ประเมนิ ปญั หากลนิ่ -รส ประกอบดว้ ย ค�ำถามตามแบบสอบถามของ Global consortium for chemosensory research และ แบบประเมิน TASTE26 ทดสอบความชอบในรสชาติ (Taste preference) 71 รายงานประจ�ำปี 2564
ผลการดำ� เนนิ งานดา้ นนวตั กรรมและการเรยี นรู้ นวตั กรรมอาหารทางการแพทยแ์ ละเวชภัณฑ์ โดย ศูนยพ ัฒนาอาหารทางการแพทยแ ละเวชภณั ฑเฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ 9 ข้อมูลการด�ำเนนิ งาน ผจู้ ัดการโครงการ ระยะเวลาการด�ำเนินงาน รศ.ทพญ.ดร.อรุณวรรณ หล�ำอบุ ล เริม่ ด�ำเนินการในวนั ที่ 8 พฤษภาคม 2563 สงั กดั คณะทนั ตแพทยศาสตรมหาวทิ ยาลัย สนิ้ สุดโครงการในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2563 ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ (6 เดอื น) ผไู้ ด้รับพระราชทานทนุ อานันทมหดิ ล สาขาทนั ตแพทยศาสตร์ พ.ศ. 2544 วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ รศ.ทพญ.ดร.ดุลยพร ตราชธู รรม เพ่ือหาความสัมพันธ์ระหว่างการเปล่ียนแปลงการรับ สงั กัด สถาบันโภชนาการ กลน่ิ และรับรส กับการติดเช้ือโรคไวรสั โคโรนา่ 2019 มหาวทิ ยาลยั มหิดล ในกลมุ่ ประชากรไทย และวตั ถปุ ระสงคร์ อง เพอ่ื ศกึ ษา ผู้ไดร้ บั พระราชทานทุนอานันทมหิดล ความสัมพันธ์ระหว่างความชอบในรสชาติ (Taste สาขาทนั ตแพทยศาสตร์ พ.ศ. 2545 preference) ก่อนตดิ เชอ้ื กบั การเปลีย่ นแปลงความ สามารถในการรบั รสหลงั ตดิ เชอื้ ในกลมุ่ ประชากรไทย ผศ.ดร.ณฐั ธิดา โชติช่วง สงั กัด ภาควชิ าเทคโนโลยที างอาหาร คณะวทิ ยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ผลที่คาดว่าจะไดร้ ับ (1) น�ำข้อมูลท่ีได้รับจากการวิจัยไปศึกษาหาความ (2) ไดอ้ งคค์ วามรเู้ รอ่ื งการเปลยี่ นแปลงการรบั กลนิ่ - สัมพันธ์ร่วมกับข้อมูลของต่างประเทศตามโครงการ รสกบั การตดิ เชอื้ SAR-CoV-2 ในคนไทยมอี บุ ตั กิ ารณ์ Global Consortium on Chemosensory Research มากน้อยเพียงใด และสัมพันธ์กับระดับความชอบ เพื่อหามติ (global consensus) วา่ การเปลีย่ นแปลง รสชาตติ า่ งๆ กอ่ นตดิ เชอื้ หรอื ไม่ โดยงานวจิ ยั สามารถ การรบั กลน่ิ -รสจะถอื เปน็ อาการน�ำ หรอื อาการบง่ ชขี้ อง ตพี ิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการระดบั สากลได้ การตดิ เชื้อโรคโควดิ 19 ไดห้ รอื ไม่ ผลการด�ำเนินงาน ผลการวจิ ยั สามารถน�ำไปตพี มิ พเ์ ผยแพรใ่ นวารสารวชิ าการนานาชาติ เพอ่ื เผยแพรอ่ งคค์ วามรแู้ กป่ ระชาชนและ บคุ ลากรทางการแพทยไ์ ด้ ในกรณผี ทู้ ไ่ี มม่ โี รคประจ�ำตวั หากเกดิ การสญู เสยี การรบั กลน่ิ รสขน้ึ ฉบั พลนั โดยไมท่ ราบสาเหตุ ควรได้รบั การตรวจคัดกรองเชื้อโรคโควดิ -19 ไดด้ �ำเนนิ การตพี มิ พเ์ ผยแพรใ่ นวารสารวชิ าการนานาชาติ โครงการวจิ ยั เรอ่ื ง ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งปญั หา รบั กลนิ่ -รส และความเสย่ี งตอ่ โรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา่ 2019 ในหวั ขอ้ Simultaneously Complete but Not Partial Taste and Smell Losses were Associated with SARS-CoV-2 Infection. 72 มูลนิธิทันตนวตั กรรม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์
ผลการดำ� เนินงานด้านนวตั กรรมและการเรยี นรู้ ศูนยพฒั นารากฟันเทยี มไทยเฉลิมพระเกยี รติ รัชกาลท่ี 9 โครงการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์นวัตกรรม สารผนึกหลุมร่องฟันเรซิน ชนิดแข็งตัวด้วยแสง Research and Development of Innovative Product Light Curing Resin Pit and Fissure Sealant (RPS) การส�ำรวจข้อมูลของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พบว่าจากสถานการณ์ฟันผุในเด็กไทยพบว่าเด็กไทยเร่ิมมีฟันผุ ตั้งแต่อายุ 9 เดือนและเด็กอายุ 3 ปี มีฟันผุเฉลี่ย 3 ซี่ต่อคน ซ่ึงสาเหตุหลักของฟันผุในเด็กเล็กมาจากพฤติกรรมการเล้ียงดูท่ีไม่ เหมาะสม ผลกระทบของโรคฟนั ผใุ นเดก็ สง่ ผลตอ่ สขุ ภาพรา่ งกายและ สุขภาพช่องปากในอนาคตได้ การมีฟันน�้ำนมผุเด็กจะปวดฟัน เค้ียวอาหารไม่ได้ ร่างกายจะได้รับสารอาหารไม่ครบถ้วน ส่งผล ต่อการเจริญเติบโตนอกจากน้ีเด็กท่ีมีฟันน้�ำนมผุส่วนใหญ่จะพบว่า ฟันแท้ผุไปด้วย เน่ืองจากเด็กท่ีมีฟันผุจะมีเชื้อก่อโรคฟันผุ ในช่องปากมากกว่าปกติซ่ึงจะส่งผลให้ฟันแท้ท่ีก�ำลังจะขึ้นใหม่น้ัน เกิดฟันผุได้เชน่ เดยี วกนั (ที่มา : https://multimedia.anamai.moph.go.th/help-knowledgs/kid-and-decay-tooth/ ) 73 รายงานประจ�ำปี 2564
ผลการดำ� เนนิ งานดา้ นนวัตกรรมและการเรยี นรู้ นวตั กรรมเครอ่ื งมือแพทย์ โดย ศูนยพัฒนารากฟนั เทียมไทยเฉลมิ พระเกยี รติ รัชกาลท่ี 9 ขอ้ มูลการด�ำเนินงาน ผจู้ ดั การโครงการ วตั ถุประสงค์ของโครงการ ทพ.ดร.เอกมน มหาโภคา • เพอ่ื วจิ ยั และพฒั นานวตั กรรมผลติ ภณั ฑส์ าร สงั กดั คณะทนั ตแพทยศาสตร์ ผนกึ หลมุ รอ่ งฟนั เรซนิ ชนดิ แขง็ ตวั ดว้ ยแสงไดเ้ อง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภายในประเทศไทย • เพอ่ื ทดแทนการน�ำเขา้ จากตา่ งประเทศทม่ี รี าคาสงู กระบวนการวจิ ยั และพฒั นาผลติ ภณั ฑส์ ารผนกึ หลมุ รอ่ งฟนั • เพอื่ ใหไ้ ดผ้ ลติ ภณั ฑท์ ผี่ ลติ ไดภ้ ายในประเทศทม่ี ี ไดด้ �ำเนนิ การผา่ นขน้ั ตอนการวจิ ยั และพฒั นาเสรจ็ สน้ิ แลว้ คณุ ภาพเป็นไปตามมาตรฐานสากล และ ต้ังแต่การวิจัยและพัฒนาจนได้สูตรต้นแบบในระดับ สามารถน�ำผลติ ภัณฑ์ไปให้บรกิ ารประชาชนได้ หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร การคดั เลอื กออกแบบบรรจภุ ณั ฑส์ �ำหรบั ใช้ ทกุ ระดับชัน้ อยา่ งทัว่ ถึง บรรจผุ ลติ ภณั ฑ์ ทดลองทดสอบในสตั วท์ ดลอง และทดลอง ทดสอบประสิทธิผลในมนุษย์ (Clinical trial) ซึ่งผลการ ทดสอบในมนษุ ย์ (Clinical trial) ด�ำเนินงานสามารถสรุปได้ว่าผลิตภัณฑ์มีความปลอดภัย รว่ มกับ 4 หน่วยงาน สามารถใช้ในมนุษย์ได้ และมีประสิทธิภาพเทียบเท่ากับ • จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ผลติ ภณั ฑท์ างการคา้ ซงึ่ หลงั จากกระบวนการวจิ ยั ดงั กลา่ ว • สถาบนั ประสาทวทิ ยา นัน้ แผนกวิจัยและพฒั นาเคร่อื งมือแพทย์ จะด�ำเนนิ การ • โรงพยาบาลพระพุทธชนิ ราช พิษณุโลก ถ่ายทอดกระบวนการผลิตเพ่ือเตรียมเข้าสู่การผลิตระดับ • โรงพยาบาลมหาราช นครราชสมี า อตุ สาหกรรม โดยเตรยี มความพรอ้ มของอปุ กรณใ์ นการผลติ สรรหาเครอื่ งจกั รทเ่ี หมาะสมตอ่ การผลติ ตลอดจนการเตรยี ม แผนการด�ำเนนิ งาน สถานทหี่ อ้ งสะอาดส�ำหรบั ผลติ เครอื่ งมอื แพทย์(Cleanroom) เพ่ือท่ีจะผลิตผลิตภัณฑ์ได้ตามมาตรฐานเครื่องมือแพทย์ 12 ตอ่ ไป จากผลการทดสอบประสิทธิผลของ สารผนึกหลุมรอ่ งฟนั สตู รข่นุ และสตู รใสสรปุ ได้วา่ “สารผนึกหลุมร่องฟันที่ผลิตโดยมูลนิธิฯ ทั้งสูตรขุ่นและสูตรใส มีการยึดตึดไม่แตกต่างกับ ย่ีห้อทางการค้า” 34 ทดลองผลิตสารผนึกหลุมร่องฟันเรซิน ขอขน้ึ ทะเบยี นสถานท่ี ขอรบั รองมาตรฐานการผลติ ขอขน้ึ ทะเบยี น ชนดิ แขง็ ตวั ดว้ ยแสงในระดบั อตุ สาหกรรม ผลติ เครอ่ื งมอื แพทย์ เครอื่ งมอื แพทย์ (ISO 13485) เครอ่ื งมอื แพทย์ 74 มลู นิธิทันตนวัตกรรม ในพระบรมราชปู ถัมภ์
ผลการด�ำเนินงานดา้ นนวัตกรรมและการเรยี นรู้ ศนู ยพัฒนารากฟันเทยี มไทยเฉลิมพระเกียรติ รชั กาลท่ี 9 โครงการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์นวัตกรรม สารฟลูออไรด์วานิชป้องกันฟันผุ Research and Development of Innovative Product Fluoride Varnish จากข้อมูลรายงานผลการส�ำรวจสภาวะสุขภาพ กลมุ่ ผสู้ งู อายเุ ปน็ กลมุ่ ทมี่ ปี ระสบการณก์ ารเปน็ ช่องปากแห่งชาติ ครั้งท่ี 8 ประเทศไทย พ.ศ. 2560 ของ โรคฟนั ผคุ รอบคลุมเกือบท้ังกลุ่มประชากร โดยในกลุ่ม กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข พบวา่ ในกล่มุ วยั สงู อายุ ผ้สู งู อายุ 60-74 ปี ร้อยละ 52.6 มีฟันผุที่ยังไม่ได้รับ 60-74 ปี มคี า่ เฉลยี่ ฟนั ถาวรทม่ี ใี นชอ่ งปาก 18.6 ซ/ี่ คน โดย การรักษาส�ำหรบั กลมุ่ ผสู้ งู อายุ 80-85 ปี พบวา่ สว่ นใหญ่ มผี มู้ ฟี นั ถาวรใชง้ านไดอ้ ยา่ งนอ้ ย 20 ซี่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 56.1 ทกุ คนมปี ระสบการณก์ ารสญู เสยี ฟนั ในขณะทภ่ี าพรวม ในกลมุ่ ผสู้ งู อายตุ อนปลาย อายุ 80 - 85 ปี มกี ารสญู เสยี ฟนั ของประเทศผู้สงู อายุได้รบั การอดุ ฟันเพยี งร้อยละ 9.9 ถาวรเพมิ่ ขน้ึ โดยมคี า่ เฉลย่ี ฟนั ถาวรทม่ี ใี นชอ่ งปาก 10 ซ/่ี คน มีจ�ำนวนผู้สูงอายุเพียงร้อยละ 22.4 ท่ีมีฟันถาวรใช้งาน (ทม่ี า : รายงานผลการส�ำรวจ สภาวะสขุ ภาพชอ่ งปากแหง่ ชาติ คร้งั ที่ 8 ประเทศไทย ไดอ้ ย่างน้อย 20 ซ่ี ท�ำให้เม่ืออายุเพิ่มขึ้นประสิทธิภาพ พ.ศ. 2560 กรมอนามยั ) ในการบดเค้ียวอาหารลดลง อย่างไรก็ตาม สถานการณ์ ทส่ี ะทอ้ นปญั หาทมี่ ผี ลตอ่ คณุ ภาพชวี ติ ของผสู้ งู อายมุ ากทสี่ ดุ 75 คือการปราศจากฟันถาวรท้ังปาก ซ่ึงพบร้อยละ 8.7 ในกลุ่มผู้สูงอายุ 60 - 74 ปี ในขณะท่ีในกลุ่มผู้สูงอายุ รายงานประจ�ำปี 2564 80 - 85 ปี พบการสูญเสียฟันท้งั ปากเพิม่ ขึน้ เกอื บ 4 เท่า เป็นรอ้ ยละ 31.0
ผลการดำ� เนนิ งานด้านนวตั กรรมและการเรยี นรู้ นวัตกรรมเครื่องมือแพทย์ โดย ศนู ยพัฒนารากฟันเทยี มไทยเฉลมิ พระเกียรติ รัชกาลท่ี 9 ข้อมลู การด�ำเนินงาน ผู้จัดการโครงการ ระยะเวลาการด�ำเนนิ งาน รศ.ทพญ.ดร.วลีรัตน์ ศกุ รวรรณ ระยะเวลาการวจิ ัยและพัฒนาเพื่อให้ไดส้ ตู รต้นแบบ สงั กัด คณะทันตแพทยศาสตร์ ปี 2556 - 2564 จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ได้รบั พระราชทานทุนอานันทมหิดล วตั ถุประสงค์ของโครงการ สาขาทันตแพทยศาสตร์ พ.ศ. 2546 • เพอ่ื วจิ ยั และพฒั นานวตั กรรมสารฟลอู อไรดว์ านชิ ได้เองในประเทศไทย กระบวนการวจิ ยั และพฒั นาผลติ ภณั ฑส์ ารฟลอู อไรดว์ านชิ • เพื่อผลิตฟลูออไรด์วานิชท่ีมีประสิทธิภาพในการ ไดด้ �ำเนนิ การผา่ นขนั้ ตอนการวจิ ยั และพฒั นาเสรจ็ สน้ิ แลว้ ปอ้ งกนั ฟันผุ และมีความปลอดภยั ต่อผู้ใช้ ตั้งแต่การวิจัยและพัฒนาจนได้สูตรต้นแบบในระดับ • เพอ่ื ใหผ้ ลติ ในระดบั อตุ สาหกรรมในประเทศไทยได้ หอ้ งปฏบิ ตั ิการ การคัดเลอื กออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ส�ำหรบั • เพื่อทดแทนการน�ำเขา้ ผลติ ภณั ฑจ์ ากตา่ งประเทศ ใช้บรรจุผลิตภัณฑ์ ทดลองทดสอบในสัตว์ทดลอง และ ทม่ี ีราคาสูง ลดค่าใชจ้ ่ายของประเทศ และสามารถ ในช่วงปี 2564 ที่ผ่านมาได้ด�ำเนินการทดลองทดสอบ ให้บรกิ ารประชาชนทกุ ระดบั ช้ันอยา่ งทั่วถึง ประสิทธิผลในมนุษย์ (Clinical trial) เสร็จสิ้นแล้ว ซึ่งผลการด�ำเนินงานสามารถสรุปได้ว่าผลิตภัณฑ์ ทดสอบในมนษุ ย์ (Clinical trial) มคี วามปลอดภยั สามารถใชไ้ ดใ้ นมนษุ ย์ และมปี ระสทิ ธภิ าพ ร่วมกับ 7 หน่วยงาน เทยี บเทา่ กบั ผลติ ภณั ฑท์ างการคา้ ซง่ึ หลงั จากกระบวนการวจิ ยั • มูลนิธทิ นั ตนวตั กรรม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ดังกล่าวแล้ว แผนกวิจัยและพัฒนาเคร่ืองมือแพทย์ • โรงพยาบาลนายายอาม จ.จนั ทบรุ ี จะด�ำเนนิ การถา่ ยทอดกระบวนการผลิตเพ่อื เตรียมเข้าสู่ • โรงพยาบาลสอยดาว จ.จนั ทบรุ ี การผลติ ในระดบั อตุ สาหกรรม โดยมกี ารเตรยี มความพรอ้ ม • โรงพยาบาลแหลมสงิ ห์ จ.จนั ทบุรี ในเร่ืองของอุปกรณ์ในการผลิต การสรรหาเครื่องจักรท่ี • โรงพยาบาลสรรคบุรี จ.ชัยนาท เหมาะสมต่อการผลิต ตลอดจนการเตรียมห้องสะอาด • โรงพยาบาลหนองมะโมง จ.ชัยนาท ส�ำหรับผลิตเคร่ืองมือแพทย์ (Cleanroom) เพื่อที่จะ • โรงพยาบาลหนั คา จ.ชัยนาท ผลติ ผลิตภัณฑไ์ ด้ตามมาตรฐานเครอื่ งมือแพทย์ต่อไป 76 มูลนิธทิ นั ตนวัตกรรม ในพระบรมราชปู ถัมภ์
ผลการดำ� เนินงานดา้ นนวัตกรรมและการเรียนรู้ ศูนยพ ัฒนารากฟนั เทยี มไทยเฉลมิ พระเกียรติ รชั กาลที่ 9 ผลการด�ำเนินงาน 1. ได้มีการทดสอบความปลอดภัยและประสิทธิผล ของผลิตภัณฑ์ในมนุษย์ (Clinical Trial) เพื่อศึกษา ประสิทธิภาพทางคลินิกของการใช้ฟลูออไรด์วานิช ท่ีผลิตโดยมูลนิธิทันตนวัตกรรม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในการป้องกัน และหยดุ ยง้ั รอยรากฟนั ผใุ นกลุม่ ผู้สงู อายุ โ ด ย ด�ำ เ นิ น ก า ร ท ด ส อ บ ใ น 3 จั ง ห วั ด คื อ กรุงเทพมหานคร จังหวัดชัยนาท และจงั หวดั จนั ทบรุ ี 2. ได้มีการประเมินความพึงพอใจในผลิตภัณฑ์และ บรรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์ฟลูออไรด์วานิช โดยได้รับ ความร่วมมือจากคณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พบว่าทันตแพทย์มีความต้องการผลิตภัณฑ์ในแบบ Single dose และผลิตภัณฑ์ท่ีสะดวกต่อการพกพา แบบ Friendly user 3. ปจั จบุ ันได้ด�ำเนนิ การยนื่ จดอนสุ ทิ ธิบัตรการผลติ ซง่ึ อยใู่ นระหวา่ งการพจิ ารณาของกรมทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา จากผลการทดสอบประสิทธิผลของ ฟลูออไรด์วานิชป้องกันฟันผุ สรุปได้ว่า “ฟลูออไรด์วานิชท่ีผลิตโดยมูลนิธิฯ เทยี บเทา่ กบั ฟลอู อไรดว์ านชิ ทางการคา้ ” แผนการด�ำเนนิ งาน 1 2 3 45 ตพี มิ พว์ ารสารวชิ าการเพอ่ื เผย จัดหาเคร่อื งจกั ร อปุ กรณ์ ผลติ ในระดบั อุตสาหกรรม ขอรบั รองระบบคุณภาพ พัฒนาผลิตภณั ฑใ์ ห้ แพร่ประโยชน์ของการวจิ ยั ท่ใี ช้ในการกระบวนการผลติ ในห้อง Cleanroom มาตรฐานสากล ISO 13485 มคี ณุ ภาพเพ่ิมมากขน้ึ 77 รายงานประจ�ำปี 2564
ผลการด�ำเนินงานดา้ นนวัตกรรมและการเรยี นรู้ นวตั กรรมเคร่อื งมอื แพทย์ โดย ศนู ยพ ฒั นารากฟันเทยี มไทยเฉลมิ พระเกยี รติ รชั กาลที่ 9 โครงการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์นวัตกรรม แผ่นดามกระดูกและสกรูยึดตรึงกระดูกหักบริเวณศีรษะและใบหน้าส�ำหรับมนุษย์ Research and Development of Innovative Product Human Plate and Screw ภาพรวมสถานการณ์อุบัติเหตุทางถนนทั่วโลกจากรายงานสถานการณ์โลกด้านความปลอดภัยทางถนน ปี พ.ศ. 2561 (Global Report on Road Safety 2018) โดย WHO พบวา่ ปจั จบุ นั อตั ราผูเ้ สยี ชีวติ บนท้องถนน เพมิ่ ขน้ึ เปน็ 1.35 ลา้ นคนตอ่ ปี ซึ่งประเทศไทยมผี เู้ สยี ชวี ติ จากอบุ ตั เิ หตทุ างถนนสงู ทสี่ ดุ เปน็ อนั ดบั ท่ี 9 ของโลกโดยมี ประมาณการผเู้ สยี ชวี ติ 32.7 คนตอ่ ประชากรหนึ่งแสนคนหรือมีผเู้ สยี ชวี ติ เฉล่ียปลี ะ 22,491 คน (60 คนต่อวัน) (ที่มา : รายงาน การวิเคราะห์สถานการณ์อุบัติเหตุทางถนน ของกระทรวงคมนาคม พ.ศ 2562) สถิติการเกิดอุบัติเหตุบนทางหลวงแผ่นดิน ปี พ.ศ. อุบัตเิ หตุ (ราย) เสียชวี ติ (ราย) บาดเจบ็ (ราย) 2554 68,583 9,205 21,917 2563 93,326 7,265 55,237 (ที่มา : อุบัติเหตุจราจรบนทางหลวงแผ่นดินปี 2563 ส�ำนักอ�ำนวยความปลอดภัย กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม) จากสถิติข้างต้นพบว่า แนวโน้มการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุเพ่ิมข้ึนมากกว่าร้อยละ 50 ในระยะเวลา 10 ปี มูลนิธิฯ จึงมีแผนการวิจัย พัฒนา และผลิตแผ่นดามกระดูกและสกรูยึดตรึงกระดูกหักบริเวณศีรษะและใบหน้า ส�ำหรับมนุษย์ เพ่ือให้ผู้ประสบอุบัติเหตุได้รับการรักษาจากอุปกรณ์ทางการแพทย์ ท่ีผลิตได้เอง ลดการน�ำเข้า จากต่างประเทศท่ีมีราคาสูง 78 มลู นธิ ิทนั ตนวตั กรรม ในพระบรมราชปู ถัมภ์
ข้อมูลการด�ำเนินงาน คณะท�ำงานฯ วัตถุประสงค์ของโครงการ หัวหนา้ คณะท�ำงานฯ • เพื่อผลิตแผ่นดามกระดูกและสกรูส�ำหรับยึดตรึง ผศ.ทพ.วจิ ติ ร ธรานนท์ กระดูกบริเวณศีรษะและใบหน้าส�ำหรับมนุษย์ กรรมการมลู นิธิทนั ตนวัตกรรม ข้ึนใช้ไดเ้ องในประเทศตามมาตรฐานสากล ในพระบรมราชูปถัมภ์ • เพื่อลดการน�ำเข้าผลิตภัณฑ์จากต่างประเทศท่ีมี คณะท�ำงานฯ ราคาสูง ทพ.ชัยฤกษ์ จฑุ ากิตติ โรงพยาบาลตรงั ผลการด�ำเนนิ งาน คณะท�ำงานฯ ทพญ.วรวรรณ คุโณทัย 1. แตง่ ตงั้ และประชมุ คณะท�ำงานพฒั นาแผน่ ดามกระดกู โรงพยาบาลชลบุรี และสกรูส�ำหรับยึดตรงึ บนใบหนา้ ส�ำหรบั มนุษย์ 2. ด�ำเนินการออกแบบ Human Plate and Screw คณะท�ำงานฯ ในหลากหลายรูปแบบ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ รวมถึง ทพ.ธนะศกั ด์ิ เชงสนั ติสขุ อุปกรณ์ท่ีต้องใช้ส�ำหรับ Human plate and screw โรงพยาบาลขอนแกน่ เพ่ือให้ตอบโจทย์การใช้งานและสามารถใช้งานได้ตาม คณะท�ำงานฯ วัตถุประสงค์ ทพ.ณฐั ธน อึ้งภรู ีเสถยี ร 3. ด�ำเนินการ จดั หาเครอ่ื งจกั รส�ำหรบั การผลติ Human โรงพยาบาลหาดใหญ ่ Plate and Screw ในระดบั อตุ สาหกรรม 79 รายงานประจ�ำปี 2564
ผลการดำ� เนนิ งานด้านนวตั กรรมและการเรียนรู้ นวัตกรรมเครื่องมือแพทย์ โดย ศูนยพ ฒั นารากฟันเทียมไทยเฉลมิ พระเกยี รติ รชั กาลท่ี 9 โครงการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์นวัตกรรม เคร่ืองสแกนฟันในช่องปากแบบ 3 มิติ Research and Development of Innovative Product Intra Oral Scanner ปัจจุบันเทคโนโลยีมีบทบาทมากขึ้นในด้านทันตกรรม ในตา่ งประเทศไดม้ กี ารน�ำเทคโนโลยรี ะบบดจิ ทิ ลั มาประยกุ ตใ์ ช้ ในการพมิ พป์ าก โดยการใชเ้ ครอื่ งสแกนฟนั ในชอ่ งปากแบบ 3 มติ ิ (Intra Oral Scanner) จะใช้ร่วมกับระบบ Software ผ่าน คอมพวิ เตอรเ์ พอ่ื ดลู กั ษณะการเรยี งตวั ของฟนั ซง่ึ หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร คลินิกทันตกรรมสามารถน�ำเทคโนโลยีดังกล่าวมาประยุกต์ใช้ ในการออกแบบครอบฟัน ท�ำให้ได้ครอบฟันที่มีความพอดี กับช่องปากคนไข้ ลดข้นั ตอนและเวลาในการท�ำงาน 80 มูลนธิ ิทนั ตนวัตกรรม ในพระบรมราชปู ถัมภ์
ขอ้ มลู การด�ำเนนิ งาน ที่ปรึกษา วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ ทีป่ รกึ ษาคณะท�ำงานฯ เพอ่ื ผลติ เครอ่ื งสแกนฟนั ในชอ่ งปากแบบ 3 มติ ิ Professor Dr.Jef van der zel (Intra Oral Scanner) ขน้ึ ใชไ้ ดเ้ องในประเทศ ลดการน�ำเขา้ Digital Management Expertise ทม่ี รี าคาสงู เปน็ การเพมิ่ ความสะดวกและความแมน่ ย�ำ ทปี่ รกึ ษาคณะท�ำงานฯ ในการพิมพ์ปาก สามารถพัฒนาต่อยอดให้สามารถ รศ.ดร.บุญญฤทธ์ิ อุยยานนวาระ ถา่ ยภาพในชอ่ งปากของคนไข้ และเพือ่ ใหท้ นั ตบุคลากร Information Management System ใช้เคร่ืองมือดังกล่าวหารอยโรค หรือความผิดปกติของ Expertise ชอ่ งปากได้ ข้อมลู การด�ำเนินงาน 34 12 ออกแบบ Hardware และ Software ผลติ เครอ่ื ง Intra Oral Scanner Usability Engineering Clinical Trial เพื่อขอใบรบั รอง มาตรฐานเคร่ืองมอื แพทย์ 81 รายงานประจ�ำปี 2564
ผลการดำ� เนนิ งานด้านนวตั กรรมและการเรียนรู้ นวัตกรรมเคร่อื งมอื แพทย์ โดย ศนู ยพัฒนารากฟนั เทียมไทยเฉลิมพระเกยี รติ รชั กาลท่ี 9 โครงการออกแบบและพัฒนาระบบรากฟันเทียม Design and Development of Dental Implant ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2546-2548 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร รัชกาลที่ 9 ได้รับการรักษาพระทนต์ด้วยวิธีฝังรากพระทนต์เทียม พระองค์ทรงพอพระทัยเป็น อย่างมากทรงมีพระราชกระแสที่อยากให้ราษฎรได้รับโอกาส จึงได้ตรัสถามกับทีมทันตแพทย์ว่า “30 บาท รกั ษาไดห้ รอื ไม”่ เพราะทรงทราบวา่ เปน็ การรกั ษาทตี่ อ้ งใชเ้ ทคโนโลยขี นั้ สงู มรี าคาแพงมากในขณะนนั้ และครง้ั หนงึ่ พระองคย์ งั ทรงรบั สง่ั ว่าหากสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนียังมีพระชนม์ชีพอยู่ พระองค์ประสงค์จะถวาย การรักษาให้สมเด็จพระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนดี ้วย จากค�ำรับส่ังครั้งน้ันจึงน�ำไปสู่การวิจัยและ พัฒนารากฟันเทียมขึ้นในประเทศไทยและสามารถผลิต รากฟันเทียมข้ึนได้ครั้งแรกในประเทศไทยในปี พ.ศ. 2550 และน�ำไปสกู่ ารใหบ้ รกิ ารฝงั รากเทยี มแกป่ ระชาชนในโครงการ รากฟันเทียมเฉลิมพระเกียรติในวาระครบรอบ 80 พรรษา จ�ำนวน 10,008 คน โครงการรากฟันเทยี มเฉลมิ พระเกยี รติ 84 พรรษา จ�ำนวน 8,400 คน และรากฟนั เทยี มพระราชทาน 999 ชุด จ�ำนวน 805 คน นับว่าเป็นพระมหากรุณาธิคุณ อย่างหาท่ีสุดมิได้ ซึ่งสมควรจะได้รับการยกย่องเชิดชู เป็นเกียรติยศให้อนุชนรุ่นหลังได้ทราบ 82 มูลนิธทิ นั ตนวัตกรรม ในพระบรมราชูปถัมภ์
ข้อมลู การด�ำเนินงาน คณะท�ำงาน ทป่ี รึกษา วตั ถุประสงค์ของโครงการ เพอื่ ออกแบบและพฒั นาระบบรากฟนั เทยี ม หัวหน้าคณะท�ำงานฯ ให้มคี ุณภาพเป็นไปตามมาตรฐานสากล มีราคาท่ี ผศ.ทพ.วิจิตร ธรานนท์ เหมาะสม สามารถน�ำไปให้บริการกับประชาชน คณะกรรมการมลู นธิ ิทนั ตนวตั กรรม ไดท้ กุ ระดบั และสามารถผลติ ขน้ึ ใชไ้ ดเ้ องในประเทศไทย ในพระบรมราชูปถมั ภ์ เพอ่ื ลดความเหล่อื มล้�ำในสังคม คณะท�ำงานฯ ผศ.ทพ.ดร.ไชยวฒุ ิ พฤกษง์ ามพันธ์ ท่ีปรกึ ษาคณะท�ำงานฯ คณะทนั ตแพทยศาสตร์ Professor Jef Van Der Zel มหาวิทยาลยั ขอนแก่น Digital Management Expertise คณะท�ำงานฯ ผศ.ทพ.ดร.ยสนนั ท์ จันทรเวคิน ทป่ี รึกษาคณะท�ำงานฯ คณะทันตแพทยศาสตร์ Professor Douglas P. Sinn มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบรุ ี Oral & Maxillofacial Surgery คณะท�ำงานฯ ทพ.ชัยฤกษ์ จุฑากิตติ ทปี่ รกึ ษาคณะท�ำงานฯ โรงพยาบาลตรงั รศ.ดร.บญุ ญฤทธิ์ อยุ ยานนวาระ Information Management System คณะท�ำงานฯ Expertise ผศ.ทพ.วินยั กติ ติด�ำเกงิ ทีป่ รึกษาคณะท�ำงานฯ รศ. ทพ. ดร.นยิ ม ธ�ำรงคอ์ นันต์สกุล คณะท�ำงานฯ คณะทนั ตแพทยศาสตร์ อ.ทพญ.อษุ ณีย์ ปงึ ไพบลู ย์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ คณะท�ำงานฯ ศ.ทพ.ดร.อาทพิ ันธ์ุ พิมพ์ขาวข�ำ คณะทนั ตแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ในปี พ.ศ. 2563 มลู นธิ ทิ นั ตนวตั กรรม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ไดอ้ นญุ าตใหบ้ รษิ ทั ผผู้ ลติ ผลติ รากฟนั เทยี มรนุ่ ท่ี 3 และ 4 เพอ่ื น�ำไปใชต้ าม แผนทันตสุขภาพส�ำหรับผู้สูงอายุประเทศไทย ซึ่งในปัจจุบันรากฟันเทียมที่ให้บริการเป็น รากฟันเทียมรนุ่ PRK (พระราม 9) 83 รายงานประจ�ำปี 2564
ผลการดำ� เนนิ งานด้านนวตั กรรมและการเรยี นรู้ นวตั กรรมเครื่องมือแพทย์ โดย ศนู ยพัฒนารากฟันเทยี มไทยเฉลมิ พระเกียรติ รัชกาลที่ 9 ผลการด�ำเนินงาน พฒั นาและผลติ รากฟนั เทยี มระบบ PRK ทดสอบ Usability Engineering ของ ระบบรากฟนั เทยี มระบบ PRK ด�ำเนนิ การจดแจง้ อนสุ ทิ ธบิ ตั รรากฟนั เทยี มระบบ PRK อบรมรากฟนั เทยี มระบบ PRK ใหก้ บั ทนั ตแพทยใ์ นโครงการรากฟันเทียม ผู้สูงอายุ ณ มูลนิธิทันตนวัตกรรม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ พฒั นาระบบ Library ส�ำหรบั รากฟนั เทยี มรนุ่ PRK แผนการด�ำเนินงาน 2 3 พฒั นารากฟันเทียมส�ำหรบั 1 ยดึ อวัยวะเทียมบริเวณใบหนา้ พัฒนารากฟันเทยี มระบบใหม่ พัฒนางานวิจยั รากฟนั เทียม 84 มูลนิธทิ ันตนวตั กรรม ในพระบรมราชูปถัมภ์
แผนผงั ววิ ฒั นาการรากฟันเทยี ม (Dental Implant) ในประเทศไทย 85 รายงานประจ�ำปี 2564
ผลการด�ำเนนิ งานดา้ นนวตั กรรมและการเรยี นรู้ นวตั กรรมเครื่องมือแพทย์ โดย ศนู ยพัฒนารากฟนั เทียมไทยเฉลมิ พระเกยี รติ รัชกาลที่ 9 โครงการรากเทียมส�ำหรับยึดอวัยวะเทียมบริเวณใบหน้า Design and Development of Craniofacial Implant ในปีงบประมาณ 2564 คณะท�ำงานท่ีปรึกษาการออกแบบ และพฒั นารากเทยี ม ได้มกี ารพัฒนาตอ่ ยอดผลิตภณั ฑร์ ากเทียม เพ่ือ รักษาผปู้ ว่ ยทม่ี คี วามผดิ ปกตทิ างใบหนา้ ตงั้ แตก่ �ำเนดิ เชน่ ผปู้ ว่ ยทไี่ มม่ ี ใบหู ผปู้ ว่ ยทไี่ มม่ เี บ้าตา หรอื ผ้ปู ว่ ยหลงั ผา่ ตดั เนอื้ งอกหรอื มะเร็งรวม ท้ังการบาดเจ็บชนิดต่าง ๆ และผู้ป่วยที่พิการจากอุบัติเหตุ ซ่ึงผู้ป่วย เหลา่ นจ้ี �ำเปน็ อยา่ งยง่ิ ทจ่ี ะตอ้ งไดร้ ับการผา่ ตัดใบหนา้ เพือ่ แก้ไขความ พิการใหม้ รี ปู ร่างและการใชง้ านทเ่ี หมือนกบั อวัยวะเดิมมากทีส่ ดุ โดย ปกติแล้วผู้ท่ีมีความพิการทางใบหน้าจะได้รับความทุกข์ทรมานท้ังใน แง่ของคณุ ภาพชวี ติ และด้านสงั คม พบไดบ้ อ่ ยว่าผ้ปู ว่ ยดังกล่าวมกั จะ ท้อแท้และมอี าการซึมเศร้ารว่ มดว้ ย 86 มูลนธิ ทิ นั ตนวตั กรรม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์
ผลการดำ� เนนิ งานด้านนวตั กรรมและการเรียนรู้ ศนู ยพัฒนารากฟันเทยี มไทยเฉลมิ พระเกียรติ รัชกาลที่ 9 การบรู ณะอวยั วะบนใบหนา้ ดว้ ยวธิ กี ารน�ำโลหะไทเทเนยี มมาท�ำเปน็ สกรเู พอ่ื ยดึ อวยั วะเทยี มบรเิ วณใบหนา้ สามารถท�ำได้ใกล้เคียงเหมือนธรรมชาติ ทั้งนี้ข้ึนอยู่กับวัสดุ ห้องปฏิบัติการ และทักษะ ถึงแม้ประเทศไทย จะมศี ลั ยแพทยผ์ เู้ ชย่ี วชาญแขนงตา่ ง ๆ ทมี่ คี วามรคู้ วามสามารถไมด่ อ้ ยไปกวา่ แพทยใ์ นตา่ งประเทศ แตย่ งั มปี ญั หาวา่ วัสดุฝังในที่ใช้นั้นถูกออกแบบโดยบริษัทในต่างประเทศแถบยุโรปหรืออเมริกา ซ่ึงต้องใช้รูปร่างของคนยุโรปหรือ อเมริกันเปน็ หลัก จงึ ไม่เหมาะกบั ขนาดและรูปรา่ งของคนไทยท่มี ขี นาดเลก็ กวา่ ท�ำให้เกิดความไม่พอดใี นการรักษา จึงท�ำให้ ได้ผลการรักษาท่ีไม่ดี อีกท้ังค่าใช้จ่ายในการผ่าตัด การบ�ำบัด และการบูรณะอวัยวะเทียม เช่น ตาหรือหู จะมคี า่ ใชจ้ ่ายประมาณ 400,000-600,000 บาท ตอ่ ราย สาเหตุหลักมาจากตอ้ งใช้วสั ดุและอปุ กรณท์ ่นี �ำเข้า จากตา่ งประเทศท้ังหมด ท�ำให้ประเทศไทยต้องสูญเสียเงินตราออกนอกประเทศ และผู้ท่ีได้รับผลกระทบหรือ พิการมีโอกาสเข้าถึงการรักษาได้น้อย (ทม่ี า : เอกสารประกอบการสมั มนาวชิ าการ เรอ่ื ง รากเทยี ม ส�ำหรบั อวยั วะเทยี มบรเิ วณใบหนา้ วนั ที่ 17 ก.พ. 2563 โดยมลู นธิ ทิ นั ตนวตั กรรม ในพระบรมราชปู ถมั ภ)์ ปัจจุบันโครงการรากเทียมส�ำหรับอวัยวะเทียม (Craniofacial Implant) อยูใ่ นระหว่างกาวจิ ยั และพัฒนา ระบบการยึดระหว่างรากเทียมและอวัยวะเทียม เพื่อให้ ถอดใส่ได้งา่ ย ติดแน่นได้ดี และดแู ลง่าย 87 รายงานประจ�ำปี 2564
ผลการด�ำเนนิ งานดา้ นนวตั กรรมและการเรยี นรู้ นวตั กรรมเครื่องมอื แพทย์ โดย ศนู ยพ ฒั นารากฟันเทียมไทยเฉลิมพระเกยี รติ รัชกาลท่ี 9 โครงการออกแบบและพัฒนา Bone-Anchored Maxillary Protraction (BAMP) Design and Development of Bone-Anchored Maxillary Protraction Bone-Anchored Maxillary Protraction (BAMP) เป็นเคร่ืองมือทางทันตกรรมจัดฟันชนิดหนึ่ง ที่ใช้ส�ำหรับ ดึงขากรรไกรบน มาด้านหน้าส�ำหรับคนไข้ท่ีมีการพัฒนาการ ไม่ดีของกระดูกขากรรไกรบน เช่น คนไข้ปากแหว่งเพดาน โหว่โดยเคร่ืองมือดังกล่าวจะยึดติดกับขากรรไกรด้วยสกรู ทั้งสองข้างท่ีต�ำแหน่งฟันกรามบน และจะมีเคร่ืองมือยึดกับ ขากรรไกรลา่ งท่ีต�ำแหน่งฟันเขยี้ วลา่ งดว้ ยสกรู แล้วใช้ Elastic คลอ้ งจากขากรรไกรบนมาทขี่ ากรรไกรลา่ ง เพอื่ ทจี่ ะท�ำการดงึ ขากรรไกรบนมาดา้ นหนา้ ซ่ึงปัจจุบันผลิตภัณฑ์ดังกล่าวไม่มี ผลิตในประเทศไทยต้องน�ำเขา้ จากต่างประเทศ 88 มูลนิธิทันตนวัตกรรม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์
ข้อมลู การด�ำเนนิ งาน คณะท�ำงาน วัตถุประสงคข์ องโครงการ หวั หน้าคณะท�ำงาน ฯ เพื่อออกแบบและพัฒนาระบบ Bone-Anchored ผศ.ทพ.วจิ ิตร ธรานนท์ Maxillary Protraction (BAMP) ท่ีมีคุณภาพเป็นไป คณะกรรมการ ตามมาตรฐานสากล มรี าคาทเ่ี หมาะสม สามารถน�ำไป มลู นิธทิ นั ตนวัตกรรม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ใหบ้ รกิ ารกบั ประชาชนไดท้ กุ ระดบั สามารถผลติ ขน้ึ เอง คณะท�ำงานฯ ได้ในประเทศไทย และลดการน�ำเข้าของผลิตภัณฑ์ ทพ.ประจกั ษ์ จริยพงศ์ไพบลู ย์ จากตา่ งประเทศ เพ่ือลดความเหลื่อมล้�ำในสังคม โรงพยาบาลราชวถิ ี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข คณะท�ำงานฯ ทพ.ปยิ ะ ปยิ ะชน มูลนิธทิ นั ตนวตั กรรม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ แผนการด�ำเนนิ งาน 2 34 1 ออกแบบและพฒั นาผลิตภัณฑ์ สร้างผลติ ภัณฑ์ต้นแบบ Usability Engineering ขอการรับรองมาตรฐาน 89 รายงานประจ�ำปี 2564
ผลการดำ� เนินงานด้านนวัตกรรมและการเรียนรู้ นวัตกรรมเคร่อื งมอื แพทย์ โดย ศูนยพ ัฒนารากฟนั เทยี มไทยเฉลิมพระเกียรติ รชั กาลที่ 9 โครงการวิจัยและพัฒนากระดูกเทียม Research and Development of Bone Filler Bone filler หรือ Bone substitute เป็นวัสดุสังเคราะห์ ทางการแพทย์ท่ีใช้ส�ำหรับทดแทนกระดูก แต่วัสดุเหล่านี้ส่วนใหญ่จะ ต้องส่ังซื้อและน�ำเข้าจากต่างประเทศซ่ึงมีราคาแพง โดยสามารถแบ่ง ตามแหลง่ ทมี่ าไดเ้ ป็น 4 ชนดิ คือ 1. Autograft or autogenous เป็นกระดกู จากส่วนอนื่ ๆ ของร่างกาย เชน่ กราม สะโพก หรือขอ้ มือ 2. Allograft or allogenic เป็นกระดูกท่ีได้จากกระดูกของบุคคลอ่ืน จากการบริจาคกระดูกหรือ จากบคุ คลที่เสยี ชีวิต 3. Xenograft or xenogenic เปน็ กระดูกจากสัตว์ ทสี่ ามารถเข้ากันได้กบั กระดูกมนษุ ย์ 4. Alloplast or alloplastic เปน็ กระดูกทีไ่ ด้มาจากการสังเคราะห์ (ทีม่ า : บทความวิชาการ เรื่อง ผลการรักษาการท�ำศัลยกรรม บูรณะเพ่อื การท�ำรากเทยี ม ,ว ทันต จุฬา 2558:38:51-66) 90 มูลนธิ ิทนั ตนวัตกรรม ในพระบรมราชูปถัมภ์
ผลการดำ� เนนิ งานด้านนวตั กรรมและการเรียนรู้ ศูนยพ ัฒนารากฟนั เทียมไทยเฉลิมพระเกยี รติ รชั กาลที่ 9 เน่ืองจากการใส่รากฟันเทียมนั้นมีข้อจ�ำกัด ข้อมลู การด�ำเนินงาน หลายประการ เชน่ ความสงู และความกวา้ งของสนั กระดกู ท่ีเหมาะสม ซ่ึงการแก้ไขลักษณะของสันกระดูกสามารถ วตั ถุประสงคข์ องโครงการ ท�ำได้หลายวิธี เช่น การเสริมกระดูกขากรรไกร แต่ เพ่ือผลิตกระดูกเทียม (Bone filler) เนื่องจากวัสดุท่ีใช้ในการเสริมกระดูกในปัจจุบันมีราคา ได้เองภายในประเทศ ให้มีคุณภาพเป็นไปตาม แพงและต้องน�ำเข้าจากต่างประเทศ คณะท�ำงานท่ี มาตรฐานสากล ปรึกษาการออกแบบและพัฒนารากฟันเทียม ภายใต้ ศูนย์พัฒนารากฟันเทียมไทยเฉลิมพระเกียรติรัชกาลที่ 9 (ศรท.9) จึงด�ำเนินการศึกษาข้อมูลเพ่ือวิจัยพัฒนา ให้สามารถผลิตกระดูกเทียม ทดแทนวัสดุที่ใช้ในการ เสรมิ กระดกู ทีต่ ้องน�ำเขา้ จากตา่ งประเทศ แผนการด�ำเนนิ งาน 2 3 จกัดาหราทวดตั สถอดุ บบิ ผสล�ำิตหรบั จัดหาเครอ่ื งจกั ร อุปกรณ์ 1 ศกึ ษาข้อมลู งานวิจัย 91 รายงานประจ�ำปี 2564
ผลการดำ� เนินงานดา้ นนวตั กรรมและการเรียนรู้ การผลิตนวตั กรรมอาหารทางการแพทย์ โครงการผลิตนวัตกรรมอาหารทางการแพทย์ เพอื่ ใหป้ ระชาชนเขา้ ถงึ ผลงานวจิ ยั พฒั นานวตั กรรมของมลู นธิ ฯิ ส�ำนกั งานคณะกรรมการพเิ ศษเพอื่ ประสานงาน โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ (ส�ำนักงาน กปร.) จึงได้สนับสนุนงบประมาณ ในการผลิตนวัตกรรมอาหาร “ผลติ ภณั ฑเ์ จลลโ่ี ภชนา” และ “ผลติ ภณั ฑว์ นุ้ ชมุ่ ปาก” (นำ้� ลายเทยี มชนดิ เจล) เพอื่ สง่ มอบใหผ้ ทู้ มี่ ปี ญั หาดา้ นการเคย้ี ว การกลนื โดยเฉพาะผปู้ ว่ ยมะเรง็ บรเิ วณศรี ษะและล�ำคอ ผลการด�ำเนนิ งานโครงการผลิต “ผลติ ภณั ฑเ์ จลลโ่ี ภชนา” รส มะม่วง สง่ มอบใหป้ ระชาชน กลุ่มเป้าหมาย 180,048 ถ้วย รส เสาวรส 166,032 ถว้ ย รส มงั คดุ 14,256 ถ้วย รส มลั เบอร์รี่ 4,464 ถว้ ย RD Validation 5,088 ถว้ ย รส ชานม RD Validation 92 มลู นธิ ิทนั ตนวตั กรรม ในพระบรมราชูปถัมภ์
ผลการด�ำเนนิ งานโครงการผลติ “ผลติ ภัณฑว์ ุ้นชุ่มปาก” (น้ำ� ลายเทยี มชนิดเจล) กลนิ่ นำ้� ผ้ึงมะนาว 16,231 ถงุ ส่งมอบให้ประชาชน 9,556 ถุง กลุม่ เป้าหมาย กลนิ่ สตรอวเ์ บอรร์ ี่ 1,626 ถุง 1,344 ถงุ กลิ่นนำ�้ ผึ้งมะนาว ผสมสารสกดั ใบบัวบก RD Validation กล่นิ มังคดุ ผสมสารสกดั เปลอื กมงั คดุ RD Validation เจลมะนาวโห่ 864 ถงุ RD Validation 93 รายงานประจ�ำปี 2564
ผลการด�ำเนินงานด้านนวตั กรรมและการเรียนรู้ การผลติ นวัตกรรมอาหารทางการแพทย์ โครงการพัฒนาการผลิตน�้ำลายเทียมชนิดเจล ด้วยระบบฆ่าเชื้อแบบรีทอร์ท (Retort) จากข้อมูลของผู้ใช้ผลิตภัณฑ์ วุ้นชุ่มปาก (OMJ) ท่ีมูลนิธิฯ ได้ผลิต ยรกปู เลแกิบกบาถร้วบยรร(Cจuุวp้นุ ชfiุม่ llปeาr)ก บรรจุในรูปแบบถ้วย (Cup filler) เพื่อแจกจ่ายให้ผู้ป่วยและผู้ท่ีมี ปัญหาปากแห้งน�้ำลายน้อย ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2560 - 2563 พบว่าผู้ใช้ ผลติ ภัณฑม์ ีความไมส่ ะดวกต่อการใช้งาน และการพกพา และหลงั จาก การเปดิ บรรจภุ ณั ฑแ์ ลว้ ในระหวา่ งการใชม้ คี วามเสยี่ งตอ่ การปนเปอ้ื นสงู มูลนิธิฯ จึงวางแผนพัฒนาบรรจุภัณฑ์ในรูปแบบอื่น โดยปรับเปลี่ยน บรรจภุ ณั ฑใ์ ห้อยู่ในรูปแบบถุงเพาซ์ (Pouch) ซึ่งง่ายต่อการพกพา และ มีความเสี่ยงต่อการปนเปื้อนน้อยกว่า ในปีงบประมาณ 2564 บริษัท พอี ารไ์ นน์ จ�ำกดั ได้บริจาคเงิน เพอื่ จดั ซอ้ื เครอ่ื งจกั รและอปุ กรณร์ ะบบฆา่ เชอื้ แบบ Retort เพอ่ื ใหผ้ ใู้ ชง้ าน มีความปลอดภยั สะดวกสบายในการบริโภคมากขึ้น เลือกใชร้ ปู แบบถุงเพาซ์ (Pouch) 94 มูลนิธิทนั ตนวตั กรรม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์
เครอื่ งจกั รและอปุ กรณ์ ประกอบดว้ ย Filler • เครอื่ งฆ่าเช้ือแบบรที อรท์ (Retort machine) • เครอื่ งบรรจุ (Filler) • ชดุ ถงั ผสม (Mixing) • ระบบทอ่ (Piping) • เคร่ืองเป่าลมแห้ง (Drying machine) • ถงั และปม้ั เคลอ่ื นทส่ี �ำหรบั ท�ำความสะอาด (Mobile Pump) • เครอ่ื งพมิ พว์ นั ผลติ วนั หมดอายุ (Inkjet machine) Retort machine Drying machine 9 เมษายน 2564 พธิ สี ง่ มอบเครอ่ื งจกั ร และอปุ กรณ์ ระบบฆา่ เชอื้ แบบรีทอร์ท (Retort) 95 รายงานประจ�ำปี 2564
ผลการดำ� เนินงานด้านนวัตกรรมและการเรยี นรู้ นวตั กรรมบริการทางการแพทย์ โดย ศูนย์พัฒนาระบบบรกิ ารและคลนิ กิ ทันตกรรม การให้บริการคลินิกทันตกรรม Dental Clinic of Dental Innovation Foundation under Royal Patronage (DCD) เพอื่ สนองตอบวสิ ยั ทศั นแ์ ละพนั ธกจิ มลู นธิ ทิ นั ตนวตั กรรม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ในการสนบั สนนุ การใหบ้ รกิ าร ทนั ตกรรมแกป่ ระชาชน รว่ มกบั ภาคเี ครอื ขา่ ย และสรา้ งโอกาสใหป้ ระชาชนไดร้ บั ประโยชนจ์ ากการวจิ ยั และพฒั นาทาง ทนั ตกรรมท่ผี ลติ ในประเทศ ปี 2564 คลนิ กิ ทนั ตกรรมไดพ้ ัฒนาเป็น ศนู ย์พัฒนาระบบบรกิ ารและคลินกิ ทนั ตกรรม (ศบท.) และขยายภารกิจให้กว้างขวางกว่าการจดั บริการทางทนั ตกรรม 3 ด้าน คือ 1 ดา้ นการบรกิ ารทางทันตกรรม : ม่งุ เน้นให้ผรู้ ับบรกิ ารได้รับบริการท่มี คี ณุ ภาพ ได้มาตรฐาน ทนั สมัยโดย ทนั ตแพทยผ์ ูเ้ ชีย่ วชาญสาขาตา่ ง ๆ ให้กบั ประชาชนทุกสิทธิ์ (ข้าราชการ ประกนั สงั คม บตั รทอง) ได้เข้า ถงึ บรกิ ารทนั ตกรรมในราคาทเ่ี หมาะสม ดว้ ยเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมทางทนั ตกรรมทม่ี คี ณุ ภาพ ทผี่ ลติ ขนึ้ ใชไ้ ด้ เองภายในประเทศ รวมทง้ั การรณรงคจ์ ดั บรกิ ารเฉลมิ พระเกยี รตฯิ และการจดั บรกิ ารเพอ่ื ถวายเปน็ พระราชกศุ ล ในโอกาสต่าง ๆ 2 ด้านการวิจัยและพัฒนา : มุ่งเน้นการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการให้บริการท่ีมีประสิทธิภาพ ลดขั้นตอน และระยะเวลาในการปฏิบัติงาน รวมท้งั เปน็ หนว่ ยฝกึ อบรม โดยด�ำเนินการรว่ มกับภาคเี ครอื ข่าย และเป็น คลนิ กิ ส�ำหรับการทดสอบประสิทธิผลทางคลินิกของเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางทันตกรรมท่ีผลิตขึ้นได้ ในประเทศ เช่น รากเทียม ฟลอู อไรด์วานชิ วสั ดเุ คลือบหลุมร่องฟนั 3 ดา้ นการสรา้ งความรว่ มมอื กับภาคเี ครอื ข่าย ภายใตโ้ ครงการตา่ ง ๆ : ม่งุ เนน้ การร่วมมอื กบั ภาคีเครือ ข่าย ภายใตโ้ ครงการต่าง ๆ ทเ่ี กยี่ วเนอ่ื งกบั โครงการตามพระราชด�ำรขิ องพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว เชน่ ฟนั เทยี มพระราชทาน รากฟันเทยี มตามแนวพระราชด�ำริ 96 มลู นธิ ิทันตนวตั กรรม ในพระบรมราชูปถมั ภ์
ผลการด�ำเนินงาน 1) ดา้ นการบริการทนั ตกรรม 1.1) คลินกิ ทันตกรรม ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 มกี ารจดั บรกิ ารทนั ตกรรมทวั่ ไปและทนั ตกรรมเฉพาะทาง เชน่ เดยี วกบั ปที ผ่ี า่ นมา คลินิกทันตกรรม มูลนิธิฯ ให้ความส�ำคัญกับการน�ำรากเทียมท่ีพัฒนา และผลิตขึ้นใช้เองในประเทศ มีคุณภาพ ตามมาตรฐานสากล มาใชใ้ นการจัดบรกิ าร และก�ำหนดให้มี Implant day สัปดาห์ละ 2 วัน คอื ทุกวนั พุธและพฤหสั โดยเริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2564 เพ่ือให้ประชาชนได้เข้าถึงการบริการทันตกรรมรากเทียมที่มีคุณภาพในราคา ทเ่ี หมาะสมได้มากขน้ึ ภายใต้โครงการพิเศษ 28,000 บาท/ราก (รวมครอบฟัน) ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 เพ่ือป้องกันการแพร่กระจายเช้ือท่ีส่งผลกระทบให้มีการปิด การบริการทันตกรรมเป็นระยะ ๆ ท่ัวประเทศ ซึ่งในปีที่ผ่านมา คลินิกทันตกรรมได้ก�ำหนดมาตรการส�ำหรับผู้เข้ารับ บรกิ ารทนั ตกรรมเพ่ิมเติมจากมาตรการวดั อณุ หภมู ิและซกั ประวตั ิ ดังน้ี 1) มเี อกสารรบั รองการไดร้ บั วคั ซนี โควดิ 19 ครบ 2 เขม็ จาก หนว่ ยบรกิ ารทไ่ี ปรบั วคั ซนี โดยวนั ทอี่ อกเอกสารตอ้ งมรี ะยะเวลา มากกวา่ 1 เดอื น หรือ 2) มผี ลตรวจ ATK ที่มีใบรบั รองจากแพทยไ์ ม่เกิน 7 วัน 3) กรณีไมม่ ีหลกั ฐานทงั้ ขอ้ 1) และ 2) จะต้องยินยอมเขา้ รับ การตรวจ ATK ที่คลินกิ ทนั ตกรรม โดยไมค่ ิดมลู คา่ ทัง้ น้ี กรณี 2) และ 3) ต้องมผี ลเปน็ ลบจงึ จะเข้ารับบริการ ตอ่ ได้ หากผลเปน็ บวกจะด�ำเนนิ การตดิ ตอ่ สง่ เขา้ รบั การดแู ล ตามระบบของกระทรวงสาธารณสขุ ตอ่ ไป ผลการจดั บริการ บรกิ ารทนั ตกรรมท่ัวไป ทันตกรรมเฉพาะทาง ผลการด�ำเนินงานรวม ปี 2564 (ในเวลาราชการ) 3,159 คน 5,157 คร้ัง 1,313 คน 2,319 ครั้ง 1,856 คน 2,838 ครง้ั ปี 2563 1,828 คน 3,223 ครั้ง 1,768 คน 2,908 คร้งั 3,596 คน 6,131 ครง้ั 1.2) หนว่ ยทนั ตกรรมพระราชทาน ในพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว มีการรณรงค์จัดบริการ เน่ืองในโอกาสวันคล้ายวันพระราชสมภพ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ วนั ท่ี 2 เมษายน 2564 เวลา 8.30-16.00 น. ณ มลู นิธิทนั ตนวัตกรรม ในพระบรมราชูปถมั ภ์ จ�ำนวนผรู้ บั บรกิ าร 286 คน 632 งาน โดยกจิ กรรมประกอบดว้ ย การตรวจฟนั เอก็ ซเรย์ ขดู หนิ ปนู อดุ ฟนั ถอนฟนั และผา่ ฟนั คดุ ส�ำหรับการออกหน่วยบริการทางทนั ตกรรมเคลือ่ นท่ใี นพน้ื ท่จี งั หวัดต่าง ๆ ในช่วงสถานการณ์การแพรร่ ะบาด ของ COVID-19 สามารถออกใหบ้ ริการไดเ้ พยี งบางจงั หวัดเทา่ นน้ั และเพ่อื ค�ำนงึ ถึงความปลอดภัยของผมู้ ารับบรกิ าร และบคุ ลากรทางการแพทย์ หน่วยทันตกรรมพระราชทานฯ จงึ จ�ำเปน็ ต้องงดการจดั กิจกรรมออกหน่วยประจ�ำปี 97 รายงานประจ�ำปี 2564
ผลการด�ำเนนิ งานด้านนวตั กรรมและการเรยี นรู้ นวตั กรรมบรกิ ารทางการแพทย์ โดย ศูนยพ์ ัฒนาระบบบริการและคลนิ ิกทันตกรรม 2) ดา้ นการวิจยั และพัฒนา 2.1 ศึกษาประสิทธิผลรากเทียมรุ่น PRK ท่ีพัฒนาโดยมูลนิธิทันตนวัตกรรมฯ • กลุ่มตัวอย่างเป้าหมาย จ�ำนวน 25 คน 30 ราก • ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 มกี ารด�ำเนินการฝงั ราก จ�ำนวน 15 คน 19 ราก 2.2 การพฒั นาเทคโนโลยดี ้านบรกิ ารร่วมกบั ภาคีเครือขา่ ย • จัดท�ำโครงการพัฒนาสังคมดิจิทัลด้านสุขภาพช่องปาก ประเทศไทย (Digital Dentistry) พ.ศ. 2565 - 2570 ภายใต้ ความร่วมมือกับ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข และ คณะทันตแพทย์ศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยีนานาชาตสิ ริ ินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • พัฒนาระบบสนับสนนุ รากเทยี มรุ่น PRK แก่หนว่ ยบรกิ าร ทเ่ี ข้าร่วมโครงการรากเดี่ยวส�ำหรับผู้สูงอายุ ภายใต้แผนงาน บรู ณาการของ กระทรวงพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ 98 มูลนธิ ิทนั ตนวตั กรรม ในพระบรมราชูปถมั ภ์
แผนการด�ำเนนิ งาน 1) ดา้ นการบริการทนั ตกรรม 1.1 ขยายการจดั บริการทันตกรรม คลนิ กิ ทนั ตกรรม มลู นิธทิ ันตนวัตกรรมฯ ทพี่ ระราม 9 จากวันละ 3-4 ยนู ติ เป็นวนั ละ 6-7 ยูนิต และจดั ใหม้ ีบรกิ ารทนั ตกรรมรากเทยี มทกุ วนั ท�ำการ โดยเพม่ิ ทันตแพทย์และเจา้ หนา้ ที่ 1.2 รบั ถา่ ยโอนคลินิกทนั ตกรรมแอดเทค (ADTEC) อ�ำเภอคลองหลวง จังหวดั ปทุมธานี มาบรหิ ารจดั การ ภายใต้คลินิกทนั ตกรรม ของมูลนิธฯิ ทงั้ น้ี ในปี พ.ศ. 2565 คลนิ กิ ทนั ตกรรม ทง้ั 2 แห่ง จะพฒั นาเปน็ ศูนย์บรกิ ารทนั ตกรรมรากเทียม รวมท้งั Oral Health Care Clinic และคาดว่าจะมปี ระชาชนเข้าถงึ บริการทนั ตกรรมประมาณ 10,000- 20,000 ครงั้ ตอ่ ปี 2) ดา้ นการวจิ ยั และพฒั นา ทดสอบประสทิ ธผิ ลทางคลินิกของเทคโนโลยี และนวัตกรรมทางทนั ตกรรมที่ผลิตข้นึ เองไดใ้ นประเทศ 3) ด้านการสร้างความร่วมมอื กับภาคีเครือข่าย ภายใตโ้ ครงการตา่ ง ๆ 3.1 โครงการพฒั นาสงั คมดจิ ทิ ลั ดา้ นสขุ ภาพชอ่ งปากประเทศไทย (Digital Dentistry) พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๗๐ ร่วมกบั กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมอนามยั มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดย คณะทนั ตแพทยศาสตร์ และสถาบัน เทคโนโลยนี านาชาติสิรนิ ธร 3.2 โครงการฟนั เทียมพระราชทาน รว่ มกบั กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั และคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ โดยมกี ิจกรรมหลัก ไดแ้ ก่ การใสฟ่ ันทั้งปากแกผ่ ้สู ูงอายุ และการฝังรากเทยี มในฟันเทยี มชิ้นล่างเพ่อื เพ่มิ ประสิทธิภาพในการบดเค้ียวอาหาร 3.3 โครงการรากเด่ียวส�ำหรับผู้สูงอายุ ร่วมกับ กระทรวงสาธารณสุข (กรมอนามัยและส�ำนักงานปลัด กระทรวงสาธารณสุข) ภายใตแ้ ผนงานบูรณาการของกระทรวงพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนษุ ย์ 3.4 โครงการพเิ ศษฝังรากเทียมไทยพรอ้ มครอบฟนั ในราคาพเิ ศษ 28,000 บาท/ราก จ�ำนวน 5,000 ราก ร่วมกบั คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั และคลินิกเอกชน ในโครงการพเิ ศษ 3.5 โครงการรณรงคจ์ ดั บรกิ ารดา้ นทนั ตกรรมเพอ่ื เฉลมิ พระเกยี รตฯิ และการจดั บรกิ ารเพอื่ ถวายเปน็ พระราชกศุ ล ร่วมกับภาคเี ครือขา่ ยทีเ่ กี่ยวขอ้ ง บรกิ ารทนั ตกรรมทวั่ ไป ตรวจฟนั อดุ ฟนั ขดู หนิ ปนู ถอนฟนั เคลอื บฟลอู อไรด์ เป็นตน้ บรกิ ารทนั ตกรรมเฉพาะทาง การรกั ษาคลองรากฟนั ทนั ตกรรมประดษิ ฐ์ (ใสฟ่ นั ) ทนั ตกรรมรากเทยี ม ทนั ตกรรมจดั ฟนั ศลั ยกรรมชอ่ งปาก การรกั ษาโรคปรทิ นั ต์ ตดิ ตอ่ สอบถามรายละเอยี ดเพิ่มเตมิ และนดั หมายเขา้ รบั บรกิ ารไดท้ ี่ 99 รายงานประจ�ำปี 2564
ผลการด�ำเนินงานด้านการเงิน มลู นธิ ทิ นั ตนวตั กรรม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ไดร้ บั การสนบั สนนุ งบประมาณแผน่ ดนิ ส�ำหรบั เปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยในการด�ำเนนิ กจิ กรรมตา่ ง ๆ จากรฐั บาลผ่านส�ำนกั งานคณะกรรมการ พิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ (ส�ำนักงาน กปร.) ตั้งแต่ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 เปน็ ตน้ มา โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 น้ี มูลนิธิฯ ได้รับ การสนับสนุนเงินงบประมาณจ�ำนวน 55,565,500 บาท งบเงินอุดหนุนประเภท เงินอดุ หนุนท่วั ไป ภายใตแ้ ผนงานยทุ ธศาสตร์เสรมิ สรา้ งพลังทางสงั คม โครงการสนับสนุน การด�ำเนนิ งานโครงการตามแนวพระราชด�ำริ โดยคาดหวงั วา่ การใชง้ บประมาณตามแผนงาน ดงั กลา่ ว จะสง่ ผลใหป้ ระชาชนทกุ กลมุ่ วยั โดยเฉพาะวยั ผสู้ งู อายไุ ด้มีสุขภาพช่องปากและ คณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ี ดว้ ยการใชน้ วตั กรรมผลติ ภณั ฑท์ เ่ี กดิ จากการวจิ ยั และพฒั นา กบั การไดร้ บั การบริการรักษาทางทันตกรรมจากหน่วยทันตกรรมพระราชทาน ในพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ท้ังนี้ นอกจากจะด�ำเนินงานสนองพระราชกระแสเพือ่ ประโยชน์ดา้ นทนั ต- สาธารณสขุ ของประชาชนในชาตแิ ลว้ มลู นธิ ฯิ ยงั หวงั วา่ การด�ำเนนิ งานภายใตแ้ ผนงานตา่ ง ๆ จะเป็นการเผยแพร่พระมหากรุณาธิคุณ และช่วยเสริมสร้างความจงรักภักดีต่อสถาบัน พระมหากษตั รยิ อ์ นั เปน็ สถาบนั หลกั ของชาตอิ กี ทางหนง่ึ แนวทางการใชจ้ ่ายเงนิ งบประมาณแบง่ ออกเป็น 4 แผนงาน คอื (1) แผนงานบรหิ ารทัว่ ไป (2) แผนงานพฒั นาผลติ ภัณฑแ์ ละนวตั กรรม (3) แผนงานพัฒนาระบบคุณภาพและหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร (4) แผนงานการสนบั สนุนหนว่ ยทนั ตกรรมพระราชทาน ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั 100 มลู นิธทิ นั ตนวตั กรรม ในพระบรมราชปู ถัมภ์
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122