Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทดสอบ ทำอีบุ๊ค

ทดสอบ ทำอีบุ๊ค

Published by Satearnpong Nisaikla, 2021-11-23 18:17:24

Description: ทดสอบ1

Search

Read the Text Version

Chapter 01 ข้อมูลพื้นฐาน

Chapter ข้อมูลพื้ นฐานและขนาดที่ ตั้ ง 01 ตำบลท่าขนอนมีพื้นที่ทั้งหมด 176 ตารางกิโลเมตร (68 ตร.ไมล์) หมู่บ้านในเขตองค์การบริหารส่ วนตำบลท่าขนอน หมู่ที่ 1 บ้านท่าขนอน หมู่ที่ 9 บ้านทรายแก้ว หมู่ที่ 2 บ้านท่า หมู่ที่ 10 บ้านสุขสันต์ หมู่ที่ 3 บ้านควน หมู่ที่ 11 บ้านทรายทอง หมู่ที่ 4 บ้านหาดหึง หมู่ที่ 12 บ้านขนุนทอง หมู่ที่ 5 บ้านกะเปาใต้ หมู่ที่ 13 บ้านยวนสาว หมู่ที่ 6 บ้านป่ายาง หมู่ที่ 14 บ้านคลองน้อย หมู่ที่ 7 บ้านคลองเกาะ (บางส่วน) หมู่ที่ 15 บ้านไทรงาม หมู่ที่ 8 บ้านโตนยาง things to know ชื่ อเดิมของหมู่ที่ 1 คือ ชุมชนบ้านท่า และหมู่ที่ 2 คือ ชุมชนตลาดเก่า 00

Chapter ลักษณะภูมิประเทศ 01 ทิศตะวันตกมีลักษณะเป็นภูเขาสูง ตอนกลางเป็นที่ราบสูง ทิศตะวันออกเป็นที่ราบลุ่มริมแม่น้ำ มี แม่น้ำพุมดวง ไหลผ่านพื้นที่ด้านทิศใต้ของตำบล การใช้ประโยชน์ที่ดินในตำบลท่าขนอน ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ เกษตรกรรม มีพื้นที่ประมาณร้อยละ 60 ของพื้นที่ตำบล ได้แก่ พื้นที่บริเวณตอนกลาง ไปจนจรดด้านทิศตะวันออกของตำบล ส่วนพื้นที่ตั้งแต่ตอนกลางตำบลท่าขนอน ไปจนจรดด้านตะวันออก ใช้ประโยชน์เป็นพื้นที่เกษตรกรรม ในลักษณะของปาล์มน้ำมัน ยางพารา และผลไม้ ส่วนใหญ่ ตั้งบ้านเรือนอยู่บริเวณทิศตะวันออกของตำบล ซึ่งพอสรุป ได้ดังนี้ หมู่ที่ 8, 11, 12, 13, 14, 15 ส่วนใหญ่เป็นที่ลาดชัน เหมาะแก่การปลูกยางพาราและ ผลไม้ หมู่ที่ 3, 4, 5, 6, 10, 7 พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มเหมาะกับการทำนาและไม้ผลต่าง ๆ ข้อมูลพื้นฐาน 00

Chapter แม่น้ำสำคัญ 01 แหล่งน้ำที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติในตำบลท่าขนอน มี 10 แห่ง ดังนี้ แม่น้ำสำคัญในตำบลท่าขนอน 1. คลองพุมดวง ไหลผ่านหมู่ที่ 1, 2, 4, 5, 10 2. คลองปังหลา ไหลผ่านหมู่ที่ 1, 3, 7, 8, 9, 13, 15, 14 3. คลองกะเปา ไหลผ่านหมู่ที่ 6, 9, 11, 13 4. คลองตุย ไหลผ่านหมู่ที่ 8, 12, 15 5. คลองน้อย ไหลผ่านหมู่ที่ 9, 14 6. คลองน้ำขาว ไหลผ่านหมู่ที่ 9, 13 7. คลองร่มข้าว ไหลผ่านหมู่ที่ 9 8. คลองโตน ไหลผ่านหมู่ที่ 2, 3 9. คลองนา ไหลผ่านหมู่ที่ 4, 5 10. คลองหยวย ไหลผ่านหมู่ที่ 4, 5, 9, 11 คลองพุมดวง 00

Chapter ภูมิอากาศ และทรัพยากรธรรมชาติ 01 มีลักษณะอากาศร้อนชื้น อากาศเปลี่ยนแปลงไปตามฤดู ซึ่งมี 2 ฤดู ดังนี้ ภูมิอากาศ ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ไปจนถึง กลางเดือน พฤษภาคม อากาศร้อนและแห้งแล้ง แต่บางครั้งอาจมีอากาศ เย็น บางครั้งเกิดพายุฝนฟ้าคะนองและลมกระโชกแรงก่อให้เกิด ความเสียหายแก่ ประชาชนทุกปี ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคม ฝนตกมากในช่วงเดือน พฤษภาคม – ตุลาคม แต่อาจเกิด “ช่วงฝนทิ้ง” ซึ่งอาจนาน ประมาณ 1 – 2 สัปดาห์หรือบางปีอาจเกิดขึ้นรุนแรงและมีฝนน้อย นานนับเดือนในเดือนกรกฎาคม แต่ในเขต อบต. ไม่เคยเกิดอุทกภัย รุนแรง มีฝนตกเฉลี่ยประมาณ 900 มิลลิเมตร ทรัพยากรธรรมชาติ น้ำ ที่ใช้ในการอุปโภค-บริโภค เป็นน้ำที่ได้จากน้ำฝน และน้ำดิบจากแม่น้ำพุมดวง ซึ่งจะต้องนำมา ผ่านกระบวนการของระบบประปา สำหรับน้ำใต้ดินมีปริมาณน้อย ไม่สามารถนำ ขึ้นมาใช้ให้พอเพียงได้ และบางแห่งไม่สามารถใช้ดื่มและอุปโภคได้ ในพื้นที่ของ อบต. ส่วนมากเป็นพื้นที่สำหรับเพาะปลูก ที่อยู่อาศัย ร้านค้า สถานประกอบการ ตาม ลำดับ และมีพื้นที่เพียงเล็กน้อยที่เป็นพื้นที่สาธารณะ ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ ได้แก่ ดิน น้ำ ต้นไม้ อากาศ ที่ไม่มีมลพิษ ปัญหาคือ เนื่องจากว่าพื้นที่บางส่วน ไม่สามารถที่จะนำน้ำจากใต้ดินมาใช้ในการ อุปโภค-บริโภคได้ต้องอาศัย ข้อมูลพื้นฐาน 00

Chapter การคมนาคม และถนน 01 การคมนาคมขนส่งในเขต อบต. มีเส้นทางคมนาคมในพื้นที่ อบต. ที่เป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก ร้อยละ 70 เส้นทางคมนาคมที่ใช้ติดต่อในเขต อบต. และพื้นที่ใกล้เคียง เส้นทางที่ 1 จากหมู่ที่ 2 ผ่านหมู่ที่ 1 - หมู่ที่ 7 ระยะทาง 2.5 กิโลเมตร เส้นทางที่ 2 จากหมู่ที่ 1 ผ่านหมู่ที่ 14 - หมู่ที่ 8 - หมู่ที่ 15 ระยะทาง 13 กิโลเมตร เส้นทางที่ 3 จากหมู่ที่ 1 ผ่านหมู่ที่ 14 - หมู่ที่ 9 - หมู่ที่ 13 ระยะทาง 13 กิโลเมตร เส้นทางที่ 4 จากหมู่ที่ 1 ผ่านหมู่ที่ 2 - หมู่ที่ 10 ระยะทาง3.5 กิโลเมตร เส้นทางที่ 5 จากหมู่ที่ 1 ผ่านหมู่ที่ 3 - หมู่ที่ 12 ระยะทาง7 กิโลเมตร เส้นทางที่ 6 จากหมู่ที่ 1 ผ่านหมู่ที่ 4 - หมู่ที่ 5 - หมู่ที่ 6 ระยะทาง 4 กิโลเมตร เส้นทางที่ 7 จากหมู่ที่ 6 ผ่านหมู่ที่ 11 - หมู่ที่ 5 - หมู่ที่ 9 ระยะทาง 3 กิโลเมตร ถนนในความรับผิดชอบของ กรมทางหลวง จำ น ว น 1 ส า ย ไ ด้แ ก่ ถ น น ล า ด ย า ง ร ะ ย ะ ท า ง 1 0 . 0 0 ก ม . ถนนในความรับผิดชอบของ อบจ. จำนวน 5 สาย ได้ แก่ ถนน คอนกรี ต จำนวน 2 สาย ระยะทาง 5.9 กม. และถนน ลาดยาง จำนวน 3 สาย ระยะทาง 11.6 กม. ถนนในความรับผิดชอบของ อบต. จำนวน 41 สาย ได้แก่ ถนน คอนกรีต จำนวน 15 สาย ระยะทาง 19.04 กม. ถนน ลาดยาง จำนวน 8 สาย ระยะทาง 13.02 กม. ถนน ลูกรัง จำนวน 37 สาย ระยะทาง 60.98 กม. 00

Chapter การไฟฟ้าและประปา 01 ไฟฟ้า และน้ำประปามีใช้ทุกครัวเรือน 100 เปอร์เซ็นต์ การไฟฟ้า การขยายเขตไฟฟ้า ปัจจุบันมีไฟฟ้าใช้ทุกครัวเรือน คิดเป็น 100 เปอร์เซ็นต์ ปัญหาคือไฟฟ้า ส่องสว่าง ทางหรือที่สาธารณะยังไม่สามารถดำเนินการครอบคลุมพื้นที่ได้ทั้งหมดเนื่องจาก พื้นที่ที่มีความต้องการให้ติดตั้งไฟฟ้า ส่องสว่างนั้นยังไม่เป็นที่สาธารณะ อบต. จึงไม่สามารถ ดำเนินการได้เช่นเดียวกับถนน การแก้ปัญหาคือ ประสานความ ร่วมมือกันในหลายๆ ฝ่าย เพื่อ ที่จะทำความเข้าใจกับประชาชนในพื้นที่ และวิธีการที่จะดำเนินการแก้ไขอย่างไร ทั้งนี้ อบต.ก็ได้ ตั้งงบประมาณในส่วนนี้ไว้แล้ว และได้แจ้งประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนได้รับทราบถึงเหตุผลเพื่อ ที่จะได้ช่วยกัน แก้ไขปัญหาให้กับหมู่บ้าน ปัจจุบันในเขต อบต.มีไฟฟ้าใช้ ได้แก่ ไฟฟ้าสาธารณะ จำนวน 65 จุด ครอบคลุมถนนทุกสายในเขต อบต. ประปา การประปา อบต. มีกิจการประปาเป็นของ อบต.เอง สามารถให้บริการได้ครอบคลุมทุก หลังคาเรือน คิดเป็น 100 เปอร์เซ็นต์ และมีน้ำใช้ตลอดทั้งปี ปัญหาคือมีข้อร้องเรียนเรื่องน้ำ ประปาขุ่นบ่อยครั้ง สาเหตุเนื่องจาก เป็นท่อประปาเก่าเกิดการตกตะกอนของน้ำ และไม่มี แหล่งน้ำดิบ ประปาของ อบต.ยังไม่สามารถที่จะผลิตเป็นน้ำประปาสำหรับบริโภคได้ ต้องใช้ งบประมาณสูงมากในการดำเนินการ ปัจจุบันอบต.ยังไม่ประสบปัญหาการขาดแคลนน้ำ ปัจจุบันในเขต อบต.มีประปาใช้ ได้แก่ จำนวนครัวเรือนที่ใช้น้ำประปา 929 หลังคาเรือน หน่วยงานเจ้าของกิจการประปา ขององค์การบริหารสวนตำบลท่าขนอน 1 แห่ง ปริมาณการใช้น้ำประปาเฉลี่ย 500 – 550 ลบ.ม. ต่อวัน ข้อมูลพื้นฐาน 00

Chapter การสื่ อสาร การขนส่ง และวัสดุ ครุภัณฑ์ 01 ก า ร สื่อ ส า ร ก า ร ข น ส่ง แ ล ะ วั ส ดุ ค รุ ภั ณ ฑ์ ใ น พื้ น ที่ มี ที่ ทำ ก า ร ไ ป ร ษ ณี ย์ โท ร เ ล ข ตู้ โ ท ร ศัพ ท์ส า ธ า ร ณ ะ แ ล ะ มี บ ริ ก า ร ร ถ ตู้ ป รั บ อา ก า ศ โทรศั พท์ ที่ ทำ ก า ร ไ ป ร ษ ณี ย์ โ ท ร เ ล ข จำนวน 1 แห่ง ตู้ โ ท ร ศั พ ท์ ส า ธ า ร ณ ะ ใ น เ ข ต พื้ น ที่ จำนวน 11 แห่ง หมู่ที่ 3 2 แห่ง หมู่ที่ 6 2 แห่ง หมู่ที่ 8 2 แห่ง หมู่ที่ 10 2 แห่ง หมู่ที่ 13 2 แห่ง หมู่ที่ 15 2 แห่ง การสื่ อสารหรือการขนส่ง และวัสดุ ครุภัณฑ์ มีไปรษณีย์ จำนวน 1 แห่ง ให้บริการ เวลา 08.00 – 16.00 น. ในวันจันทร์ – เสาร์ (วันเสาร์ครึ่งวัน) หยุดวันอาทิตย์ มีรถตู้ปรับอากาศบริการ จำนวน 1 แห่ง ให้บริการทุก ๆ ชั่วโมงและทุกวัน 00

Chapter 02 ประวัติความเป็นมาของชุมชน

Chapter ประวัติความเป็นมาของตำบลท่าขนอน 02 จากด่ านเก็ บภาษี เป็ นตำบลท่ าขนอน ท่ า ข น อ น เ ป็ น ด่ า น เ ก็ บ ภ า ษี เ ป็ น ด่ า น ที่ เ ก็ บ ภ า ษี สิ น ค้ า ที่ ม า จ า ก จั ง ห วั ด พั ง ง า ต ะ กั่ ว ป่ า แ ล ะ ภู เ ก็ ต ก า ร เ ดิ น ท า ง ไ ป ค้ า ข า ย ข อ ง ค น ใ น ส มั ย ก่ อ น ต้ อ ง เ ดิ น ท า ง ผ่ า น ม า ท า ง ช่ อ ง เ ข า แ ล้ ว จึ ง ล่ อ ง ม า ต า ม ลำ ค ล อ ง ผ่ า น ช า ย ท ะ เ ล แ ล ะ ริ ม ท า ง ร ถ ไ ฟ ก า ร ที่ พื้ น ที่ บ ริ เ ว ณ นี้ เ ป็ น ด่ า น เ ก็ บ ภ า ษี อ า ก ร จึ ง เ รี ย ก ตำ บ ล นี้ ว่ า ตำ บ ล ท่ า ข น อ น แ ล ะ อำ เ ภ อ ก็ ใ ช้ ชื่ อ ว่ า อำ เ ภ อ ท่ า ข น อ น ต อ น ห ลั ง เ ห็ น ว่ า ชื่ อ ข อ ง อำ เ ภ อ ไ ม่ ต ร ง กั บ ส ภ า พ ท า ง ภู มิ ศ า ส ต ร์ จึ ง ไ ด้ เ ป ลี่ ย น ชื่ อ ม า เ ป็ น อำ เ ภ อ คี รี รั ฐ นิ ค ม แ ต่ ตำ บ ล ก็ ยั ง ชื่ อ ตำ บ ล ท่ า ข น อ น เ ห มื อ น เ ดิ ม 00

Chapter ประวัติความเป็นมาของหมู่ที่ 1 บ้านท่าขนอน 02 สถานที่ ติ ดต่ อค้ าขาย เป็ นที่ อยู่ อาศั ยของชุ มชน ที่ มี ความเจริ ญมาก ประวัติความเป็นมา หมู่ที่ 1 บ้านท่าขนอน ในอดี ตบริ เวณนี้ เป็ นด่ านเก็ บภาษี ที่ เรี ยกว่ าอากรขนอน ซึ่ งสถานที่ เก็ บ อากรขนอนที่ ท่ าน้ำหรื อท่ าเรื อนี้ เรี ยกว่ า ท่ าขนอน ซึ่ งเป็ นที่ อยู่ อาศั ยของ ชุ มชน ที่ มี ความเจริ ญเป็ นอย่ างมาก มี บ้ านเรื อนแพประมาณ 100 กว่ า หลั งคาเรื อน เป็ นสถานที่ แลกเปลี่ ยนสิ นค้ า มี โรงแรม โรงภาพยนตร์ โรงสี ข้ าว ร้ านทำทอง โรงปั่ นไฟขนาดเล็ ก นอกจากนี้ ยั งเป็ นที่ ตั้ งของ ศู นย์ ราชการอำเภอคี รี รั ฐนิ คม และทรั พยากรธรรมชาติ ในอดี ตมี ความอุ ดม สมบู รณ์ มาก มี ป่ าไม้ สั ตว์ ป่ า สั ตว์ น้ำ ดิ นอุ ดมสมบู รณ์ เป็ นแหล่ งผลิ ตข้ าว ขายในชุ มชน ทำประมงน้ำจื ดการค้ าไม้ ทำสวนผลไม้ สวนกาแฟและเลี้ ยง สั ตว์ สำหรั บประชากรกลุ่ มแรกที่ ตั้ งรกราก คื อ ขุ นคี รี เทวกุ ล นายอำเภอ คี รี รั ฐนิ คม ต่ อมาเมื่ อมี ประชากรเพิ่ มมากขึ้ นอาคารที่ ว่ าการอำเภอชำรุ ด ทรุ ดโทรม ประกอบกั บมี ปั ญหาน้ำท่ วมขั งทุ กปี จึ งได้ มี การย้ ายศู นย์ ราชการ ไปอยู่ แห่ งใหม่ ที่ น้ำท่ วมไม่ ถึ งใกล้ กั บสถานี รถไฟ เปิ ดทำการได้ ประมาณ 10 ปี ที่ ทำการอำเภอเกิ ดไฟไหม้ สาเหตุ มาจาก ฟ้ าผ่ า ทำให้ ที่ ว่ าการอำเภอเกิ ด ความเสี ยหาย จึ งได้ มาก่ อสร้ างที่ ว่ าการอำเภอหลั งใหม่ ที่ อยู่ ปั จจุ บั น ประวัติความเป็นมาของชุมชน 00

Chapter ขนาดที่ตั้ง และลักษณะภูมิประเทศ 02 จากด่ านเก็ บภาษี เป็ นตำบลท่ าขนอน ขนาดที่ ตั้ ง หมู่ที่ 1 มีพื้นที่ทั้งหมด 619 ไร่ ทิศเหนือ จรด หมู่ที่ 7 ทางรถไฟสายคีรีรัฐนิคม จ.สุราษฎร์ธานี ทิ ศ ใ ต้ จรด แม่น้ำพุมดวง หมู่ที่ 4 ตำบลท่าขนอน ทิศตะวันออก จรด หมู่ที่ 2 ตำบลท่าขนอน ชุมชนบ้านท่า ทิศตะวันตก จรด หมู่ที่ 5 ตำบลท่าขนอน ลักษณะภูมิประเทศ เป็นที่ราบลุ่ม มีแหล่งน้ำใช้ได้ตลอดปี คือ แม่น้ำพุมดวง พืชเศรษฐกิจที่สำคัญ ของชุมชน ได้แก่ ยางพารา ลองกอง เงาะ ปาล์มน้ำมัน แม่น้ำพุมดวง 00

Chapter แม่น้ำที่สำคัญ และการคมนาคม 02 แหล่งน้ำธรรมชาติใน หมู่ที่ 1 ตำบลท่าขนอน มีคลองพุมดวง และคลองปังหลา แม่น้ำ แ ห ล่ ง น้ำ ธ ร ร ม ช า ติ น้ำ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ต า ม ธ ร ร ม ช า ติ ใ น ห มู่ ที่ 1 ตำ บ ล ท่ า ข น อ น มี ดั ง นี้ ค ล อ ง พุ ม ด ว ง ไ ห ล ผ่ า น ห มู่ ที่ 1 , 2 , 4 , 5 , 1 0 ค ล อ ง ปั ง ห ล า ไ ห ล ผ่ า น ห มู่ ที่ 1 , 3 , 7 , 8 , 9 , 1 3 , 1 5 , 1 4 คลองปังหลา การคมนาคม เส้ นทางเข้ าหมู่ บ้ าน บ้ านท่ าขนอน มี การคมนาคม 2 เส้ นทาง คื อทางรถไฟ และทางรถยนต์ เส้ นทางจากจั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี ถึ งบ้ านท่ าขนอนระยะทาง 80 กิ โลเมตร สาธารณู ปโภค ไฟฟ้ า ชาวบ้ านมี ไฟฟ้ าใช้ ครบทุ กครั วเรื อน น้ำประปา ชาวบ้ านมี น้ำประปาใช้ ประมาณ 80% ของจำนวนครั วเรื อน ประวัติความเป็นมาของชุมชน 00

Chapter โครงสร้างชุมชนด้านการปกครอง และด้านเศรษฐกิจ 02 ปัจจุบันเป็นผู้ใหญ่บ้านคนที่ 6 , ส่วนใหญ่ประชาชนจะประกอบอาชีพด้านการเกษตร โครงสร้างชุมชนด้านการปกครอง ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 1 ส.ต.อ.เสรี เสรยางค์กูล เวลาที่ดำรงตำแหน่ง ไม่สามารถระบุได้ ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 2 นายนุกูล เพชรศรี เวลาที่ดำรงตำแหน่ง ไม่สามารถระบุได้ ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 3 นายอนันตชัย ละอองสุวรรณ เวลาที่ดำรงตำแหน่ง พ.ศ. 2542 – 2544 ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 4 นายจำเนียน พลจร เวลาที่ดำรงตำแหน่ง พ.ศ. 2547 – 2552 ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 5 นายชนะศักดิ์ วิเชียรวงศ์ เวลาที่ดำรงตำแหน่ง 4 มี.ค. 2552 – 30 ส.ค. 2552 ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 6 นางสาวกนกพร สุขเกิด เวลาดำรงตำแหน่ง 11 พ.ย. 2552 – ปัจจุบัน โครงสร้างด้านเศรษฐกิจและอาชีพ โครงสร้างทางเศรษฐกิจประชาชนจะประกอบอาชีพด้านการเกษตร เช่น ทำสวนปาล์ม น้ำมัน สวนยางพารา ค้าขาย รับราชการ และรับจ้าง รายได้เฉลี่ยของประชาชน 124,576.71 บาท/คน/ปี 00

Chapter การศึ กษา และศาสนา 02 แหล่งน้ำธรรมชาติใน หมู่ที่ 1 ตำบลท่าขนอน มีคลองพุมดวง และคลองปังหลา การศึ กษา ศู น ย์ พั ฒ น า เ ด็ ก เ ล็ ก มี ทั้ ง ห ม ด 1 แ ห่ ง ศู น ย์ พั ฒ น า เ ด็ ก เ ล็ ก ตำ บ ล ท่ า ข น อ น มี นั ก เ รี ย น ทั้ ง สิ้ น 7 5 ค น โ ร ง เ รี ย น สั ง กั ด ส พ ฐ . ใ น ห มู่ ที่ 1 ตำ บ ล ท่ า ข น อ น มี ทั้ ง ห ม ด 2 แ ห่ ง โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท่ า ข น อ น โ ร ง เ รี ย น อ นุ บ า ล ต รี พั ฒ น์ ศาสนา ประชากรในพื้ นที่ นั บถื อศาสนาพุ ทธ 100 เปอร์ เซ็ นต์ ประวัติความเป็นมาของชุมชน 00

Chapter ประวัติความเป็นมาของหมู่ที่ 2 บ้านท่า 02 จากบ้ านท่ า เป็ นเทศบาลท่ าขนอน ความเป็นมา บ้ า น ท่ า ห มู่ ที่ 2 ตำ บ ล ท่ า ข น อ น เ ป็ น ห มู่ บ้ า น เ ก่ า แ ก่ ตั้ ง ห มู่ บ้ า น ม า แ ต่ โ บ ร า ณ มี ค ล อ ง พุ ม ด ว ง ไ ห ล ผ่ า น ท า ง ด้ า น ต ะ วั น อ อ ก ข อ ง ห มู่ บ้ า น อ ยู่ ใ น ก า ร ดู แ ล สุ ข า ภิ บ า ล ท่ า ข น อ น ใ น ปี พ . ศ . 2 4 9 9 แ ล ะ ต่ อ ม า ใ น ปี พ . ศ . 2 5 4 2 ไ ด้ ย ก ฐ า น ะ เ ป็ น เ ท ศ บ า ล ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ขนาดที่ ตั้ ง ทิ ศ เ ห นื อ ติดกับ คลองกำปัง ทิ ศ ใ ต้ ติดกับ หมู่ที่ 1 และ หมู่ที่ 7 ตำบลท่าขนอน ทิศตะวันออก ติดกับ คลองพุมดวง ทิศตะวันตก ติดกับ ทางรถไฟสายสุราษฎร์ธานี – คีรีรัฐนิคม 00

Chapter ลักษณะภูมิประเทศ และทรัพยากรธรรมชาติ 02 แหล่งน้ำธรรมชาติใน หมู่ที่ 1 ตำบลท่าขนอน มีคลองพุมดวง และคลองปังหลา ลักษณะภูมิประเทศ บ้านท่า หมู่ที่ 2 ตำบลท่าขนอน ตั้งอยู่ในอำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัด สุราษฎร์ธานี อยู่ห่างจากจังหวัด 65 กิโลเมตร สภาพพื้นที่เป็นที่ราบลุ่ม ริม แม่น้ำพุมดวง ลักษณะพื้นที่เหมาะแก่การทำเกษตรกรรม ประกอบด้วยลักษณะ ภูมิอากาศทั่วไปของภาคใต้ จะมี 2 ฤดู คือ ฤดูร้อน และฤดูฝนซึ่งฤดูฝนจะมี ระยะเวลานานกว่า ทำให้อากาศโดยทั่วไปเย็น อากาศตอนกลางคืนถึงเช้าจะ เ ย็ น เ ห ม า ะ แ ก่ ก า ร ทำ ส ว น ทรัพยากรธรรมชาติ แ ห ล่ ง น้ำ ธ ร ร ม ช า ติ ไ ด้ แ ก่ ค ล อ ง พุ ม ด ว ง เ พื่ อ ใ ห้ ป ร ะ ช า ช น ใ น ห มู่ บ้ า น มี น้ำ ใ ช้ เ พี ย ง พ อ ต ล อ ด ทั้ ง ปี ค ล อ ง กำ ปั ง มี น้ำ ไ ห ล ผ่ า น ใ น ช่ ว ง ฤ ดู ฝ น ประวัติความเป็นมาของชุมชน 00

Chapter การคมนาคม ครงสร้างชุมชนด้านการปกครอง 02 ปัจจุบันเป็นผู้ใหญ่บ้านคนที่ 8 , มีเส้นทางที่สามารถเข้าออกได้ทางเดียว การคมนาคม เลี้ยวขวาเข้าสู่ทางหลวงชลบท 4100 ประมาณ 200 เมตร ใช้เวลาประมาณ 5 นาทีทางเข้าหมู่บ้าน จะมีเส้นทางที่สามารถเข้าออกได้ทางเดียว ภายในหมู่บ้านจะ ทางตันยาวไปถึงคลองพุมดวง เป็นเส้นตรงไม่ซอยตัดผ่าน เพราะหมู่ติดกับคลอง พุมดวง การคมนาคม จากทางเข้าถึงสุดซอย มีระยะทาง 800 เมตร จากทางเข้า หมู่บ้าน โครงสร้างชุมชนด้านการปกครอง ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 1 นายน้อม นาเมือง ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 2 นายเล็ก โกลา ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 3 นายซุ้น รองสกุล ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 4 นายเชิ้ม วิสาละ ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 5 นายสุวรรณ วิสาละ ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 6 นายสมศักดิ์ ปิ่นทอง ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 7 ด.ต.เดชา ชูประเสริฐ ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 8 นายศราวุฒิ บัวศรีคำ (คนปัจจุบัน) 00

Chapter ประวัติความเป็นมาหมู่ที่ 3 บ้านควน 02 หมู่ที่ 3 บ้านควน เกิดจากการรวมกันของสองหมู่บ้าน ความเป็นมา บ้านควน หมู่ที่ 3 ตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็น หมู่บ้านเก่าแก่ดั้งเดิมการก่อตั้งหมู่บ้านไม่สามารถทราบได้แน่นอน รู้เพียงว่า เดิมมี 2 ชื่อ คือ บ้านควนและบ้านปากโตนทั้งสองหมู่บ้านนี้อยู่ใกล้กับทุ่งนา เรียกว่า “ทุ่งละมุ” ประชาชนส่วนใหญ่ย้ายมาจากที่อื่นเพื่ออาศัยการทำนาเป็น อาชีพหลักต่อมาเมื่อทางราชกรเห็นว่าการปกครองดูแลไม่ทั่วถึง จึงมีการแต่ง ตั้งผู้ใหญ่บ้าน เพื่อทำหน้าที่ในการปกครองดูแลพื้นที่ และเห็นว่าประชากรและ พื้นที่ของบ้านควนมากกว่าบ้านปากโตน จึงให้สองหมู่บ้านรวมกัน เรียกชื่อว่า “บ้านควน” จนถึงปัจจุบัน ขนาดที่ ตั้ ง พื้นที่ทั้งหมด 9,000 ไร่ 14.4 ตารางกิโลเมตร ทิ ศ เ ห นื อ ติดกับ หมู่ที่ 12 ตำบลท่าขนอน ทิ ศ ใ ต้ ติดกับ หมู่ที่ 7 ตำบลท่าขนอน ทิศตะวันออก ติดกับ หมู่ที่ 1 ตำบลบ้านยาง ทิศตะวันตก ติดกับ หมู่ที่ 14 และหมู่ที่ 8 ตำบลท่าขนอน ประวัติความเป็นมาของชุมชน 00

Chapter ลักษณะพื้นที่ แม่น้ำ ทรัพยากร และการคมนาคม 02 บ้านควน มีพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ทางการเกษตรของส่วนบุคคล , แหล่งน้ำดื่ม : เครื่องกรองน้ำ ดื่มหยอดเหรียญน้ำฝน น้ำถัง ลักษณะภูมิประเทศ บ้านควนเป็นราบสูง สภาพดินเป็นดินร่วนปนทราย เมื่อถึงฤดูแล้งน้ำจะแห้ง แต่มีห้วยขนานและ ห้วยขนุน ซึ่งอยู่ระหว่างบ้านควน กับบ้านปากโตน ให้ชาวบ้านได้อุปโภคบริโภค แม่น้ำสำคัญ แหล่งน้ำดื่ม : เครื่องกรองน้ำดื่มหยอดเหรียญน้ำฝน น้ำถัง แหล่งน้ำใช้ : แหล่งน้ำธรรมชาติ ได้แก่คลองโตน คลองปังหลา น้ำประปาหมู่บ้าน และมีสระน้ำ ส า ธ า ร ณ ะ ป ร ะ โ ย ช น์ ห มู่ บ้ า น ทรัพยากรธรรมชาติ หมู่ที่ 3 บ้านควน มีพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ทางการเกษตรของส่วนบุคคล ปกคลุมไปด้วยพืชทาง เศรษฐกิจได้แก่ ยางพารา ปาล์มน้ำมัน และผลไม้ตามฤดูการณ์ การคมนาคม การเดินทางเข้าหมู่บ้านจากที่ว่าการอำเภอคีรีรัฐนิคม มุ่งทางทิศใต้ ไปยังถนนหลวงแผ่นดิน 4247 หนองไทร – ยวนสาวประมาณ 1 กิโลเมตร ตรงไปยังถนนลาดยางสายคีรีรัฐ – ปากหาร ผ่านสำนักสงฆ์เมรุวัดปราการ ผ่านโรงเรียนบ้านปากโตน ถึงศาลหมู่บ้าน ระยะทางประมาณ 2.5 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางประมาณ 5 นาที 00

Chapter โครงสร้างของชุมชน หมู่ที่ 3 บ้านควน 02 หมู่ที่ 3 บ้านควน เกิดจากการรวมกันของสองหมู่บ้าน ด้านการปกครอง ผู้ ใ ห ญ่ บ้ า น น า ง นิ ส า ก ร แ ส ง จั น ท ร์ ผ ช . ฝ่ า ย ป ก ค ร อ ง น า ง ป ร ะ เ จี ย ด อิ น จิ น ผ ช . ฝ่ า ย ป ก ค ร อ ง น า ง ส า ว บุ ษ ภ ร ณ์ พ ล จ ร ผ ช . ฝ่ า ย รั ก ษ า ค ว า ม ส ง บ น า ย อุ ด ม ศั ก ดิ์ เ ซ้ ง ใ จ ดี ส ม า ชิ ก อ บ ต . น า ย พั ฒ น์ พ ง ศ์ อิ น ชิ น ส ม า ชิ ก อ บ ต . น า ย นิ รั น ด ร์ ศ รี ช า ย ด้านประชากร ร ว ม ทั้ ง สิ้ น 5 1 3 ค น แ ย ก เ ป็ น ผู้ ช า ย 2 5 4 ค น ผู้ ห ญิ ง 2 5 9 ค น ผู้ สู ง อ า ยุ ( อ า ยุ 6 0 ปี บ ริ บู ร ณ์ ขึ้ น ไ ป ) ร ว ม ทั้ ง สิ้ น 8 2 ค น แ ย ก เ ป็ น ผู้ ช า ย 4 1 ค น ผู้ ห ญิ ง 4 1 ค น ด้านการศึ กษา มี โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ป า ก โ ต น เ ปิ ด ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ร ะ ดั บ อ นุ บ า ล – ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า จำ น ว น 8 4 ค น ประวัติความเป็นมาของชุมชน 00

Chapter ประวัติความเป็นมาหมู่ที่ 4 บ้านหาดหึง 02 ช้างพังและช้างพลาย ก็จะเกิดอาการแย่งช้างพลาย \"ช้างหึง\" ? ความเป็นมา สมัยก่อนพนมและบ้านตาขุน เป็นเขตรับผิดชอบของ อำเภอคีรีรัฐนิคม การ เดินทางสัญจรไปมาต้องใช้เรือแจวเป็นพาหนะ และต้องผ่านบ้านหาดหึง มี คลองพุมดวงไหลผ่าน และที่บริเวณนั้นจะเป็นหาดทราย ใกล้ๆกันจะเป็นป่าไม้ มีช้างมาก ช้างก็จะไปหากินโดยเดินทางข้ามคลองไป–มา และจะหลุดพักที่ หาดทรายแห่งนี้ เมื่อมีช้างมารวมตัวกันมาก ทั้งช้างพังและช้างพลาย ก็จะเกิด อาการแย่งช้างพลาย โดยช้างพังจะฟาดงวงไปมา พร้อมส่งเสียงร้องดังลั่น ชาวบ้านที่แจวเรือผ่านไปมา จะเรียกกันว่า ช้างหึงเป็นที่หวาดกลัวของชาว บ้านที่ต้องใช้เส้นทางนี้ และจะเตือนกันให้ระวังที่มีอาการหึงตัวเมีย เมื่อผ่าน บริเวณหาดทรายแห่งนี้ ที่เรียกกันว่า “หาดช้างหึง” ต่อมาเมื่อทางราชการ ได้ จัดตั้งหมู่บ้าน ผู้นำหมู่บ้านได้ให้ใช้ชื่อว่า “หมู่บ้านหาดหึง” โดยเอาคำว่า ช้าง ออก จนถึงทุกวันนี้ 00

Chapter ที่ตั้ง ลักษณะภูมิประเทศ และแม่น้ำที่สำคัญ 02 หมู่ที่ 4 บ้านหาดหึง มีพื้นที่ทั้งหมด 800 ไร่ หรือ 1.28 ตารางกิโลเมตร ขนาดและที่ ตั้ ง ทิ ศ เ ห นื อ ติดกับ เทศบาลตำบลท่าขนอน ทิ ศ ใ ต้ ติดกับ บ้านกะเปาใต้ หมู่ที่ 5 ตำบลท่าขนอน ทิศตะวันออก ติดกับ คลองพุมดวง ทิศตะวันตก ติดกับ คลองหยวน ลักษณะภูมิประเทศ บ้ า น ห า ด หึ ง มี ส ภ า พ พื้ น ที่ เ ป็ น ที่ ร า บ ลุ่ ม ติ ด ค ล อ ง พุ ม ด ว ง ลั ก ษ ณ ะ ดิ น ทั่ ว ไ ป เ ป็ น ดิ น เ ห นี ย ว เ ห ม า ะ แ ก่ ก า ร ทำ เ ก ษ ต ร ก ร ร ม ไ ด้ แ ก่ ย า ง พ า ร า แม่น้ำสำคัญ แ ห ล่ ง น้ำ ธ ร ร ม ช า ติ ไ ด้ แ ก่ ค ล อ ง พุ ม ด ว ง ไ ห ล ผ่ า น ห มู่ ที่ 1 , 2 , 4 , 5 , 1 0 คลองนา ไ ห ล ผ่ า น ห มู่ ที่ 4 , 5 ค ล อ ง ห ย ว น ไ ห ล ผ่ า น ห มู่ ที่ 4 , 5 , 9 , 1 1 ประวัติความเป็นมาของชุมชน 00

Chapter ทรัพยากรธรรมชาติ และการคมนาคม 02 ชาวบ้านในหมู่ที่ 4 บ้านหาดหึง มีวิธีการจัดการกับทรัพยากรอย่างไร ? ทรัพยากรธรรมชาติ ก า ร กำ จั ด ข ย ะ มู ล ฝ อ ย ช า ว บ้ า น ใ น ห มู่ ที่ 4 บ้ า น ห า ด หึ ง ตำ บ ล ท่ า ข น อ น มี ก า ร กำ จั ด ข ย ะ มู ล ฝ อ ย ด้ ว ย ต น เ อ ง ภ า ย ใ น ค รั ว เ รื อ น ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ใ น ชุ ม ช น มี ก า ร ก ร ะ จ า ย ข่ า ว ส า ร ผ่ า น ช่ อ ง ท า ง แ อ พ พ ลิ เ ค ชั่ น L i n e ข อ ง ห มู่ บ้ า น บ้ า น ห า ด หึ ง มี เ ค รื่ อ ง วั ด ร ะ ดั บ ภ า ย ใ น ชุ ม ช น ร ะ บ บ ส า ธ า ร ณู ป โ ภ ค ป ร ะ ป า ห มู่ บ้ า น มี จำ น ว น 1 แ ห่ ง มี ไ ฟ ฟ้ า ใ ช้ ทุ ก ค รั ว เ รื อ น การคมนาคม ก า ร เ ดิ น ท า ง สั ญ จ ร เ ข้ า สู่ ห มู่ บ้ า น ใ ช้ ถ น น ค อ น ก รี ต แ ล ะ ถ น น ลู ก รั ง ก า ร เ ดิ น ท า ง ไ ป สู่ อำ เ ภ อ ใ ช้ เ ส้ น ท า ง ส า ย ท่ า ข น อ น – เ ข า พั ง ร ะ ย ะ ท า ง ป ร ะ ม า ณ 2 กิ โ ล เ ม ต ร ใ ช้ เ ว ล า เ ดิ น ท า ง ป ร ะ ม า ณ 5 น า ที เ ส้ น ท า ง จ า ก จั ง ห วั ด สุ ร า ษ ฎ ร์ ธ า นี ถึ ง บ้ า น ห า ด หึ ง ไ ป ท า ง ทิ ศ ต ะ วั น ต ก ร ะ ย ะ ท า ง ป ร ะ ม า ณ 6 3 กิ โ ล เ ม ต ร 00

Chapter โครงสร้างของชุมชนในด้านต่าง ๆ 02 ชาวบ้านในหมู่ที่ 4 บ้านหาดหึง จำนวนครัวเรือน ทั้งหมด 82 ครัวเรือน ด้านการปกครอง ผู้ ใ ห ญ่ บ้ า น น า ย สุ ร ยุ ท ธิ์ กุ ล คี รี ผ ช . ฝ่ า ย ป ก ค ร อ ง น า ย บุ ญ เ ลิ ศ ชู สิ ท ธิ์ ผ ช . ฝ่ า ย ป ก ค ร อ ง น า ย กิ ต ติ พั น ธ์ ส ม บุ ญ เ ล ข า นุ ก า ร น า ย อุ ด ม ศั ก ดิ์ เ ซ้ ง ใ จ ดี ส ม า ชิ ก อ บ ต . น า ย ธ ร ร ม ร ง ค์ จิ ต ร า ภิ ร ม ย์ ส ม า ชิ ก อ บ ต . น า ย นิ วั ฒ น์ วิ ส า ล ะ ด้านประชากร ร ว ม ทั้ ง สิ้ น 2 6 7 ค น แ ย ก เ ป็ น ผู้ ช า ย 1 3 2 ค น ผู้ ห ญิ ง 1 3 5 ค น ผู้ สู ง อ า ยุ ( อ า ยุ 6 0 ปี บ ริ บู ร ณ์ ขึ้ น ไ ป ) ร ว ม ทั้ ง สิ้ น 5 4 ค น แ ย ก เ ป็ น ผู้ ช า ย 2 8 ค น ผู้ ห ญิ ง 2 6 ค น ด้านการศึ กษาและศาสนา ด้ า น ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ช า ก ร บ้ า น ห า ด หึ ง ห มู่ ที่ 4 ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ส่ ว น ใ ห ญ่ จ บ ก า ร ศึ ก ษ า ภ า ค บั ง คั บ 1 0 0 % ใ ช้ ภ า ษ า ไ ท ย ท้ อ ง ถิ่ น เ ป็ น ภ า ษ า ห ลั ก ด้ า น ศ า ส น า ป ร ะ ช า ก ร บ้ า น ห า ด หึ ง ห มู่ ที่ 4 ตำ บ ล ท่ า ข น อ น นั บ ถื อ ศ า ส น า พุ ท ธ 1 0 0 % ประวัติความเป็นมาของชุมชน 00


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook