หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์สมยั อยุธยา 1. พระราชพงศาวดารท่ยี งั ไมผ่ า่ นกระบวนการชาระใหข้ อ้ มลู ตามท่ี ผบู้ นั ทกึ เดมิ เขียนไว้ เช่น พระราชพงศาวดารกรุงเกา่ ฉบบั หลวงประเสรฐิ ฯ พระราชพงศาวดารความเก่า จ.ศ. 113 2. พระราชพงศาวดารท่ผี า่ นการกระบวนการชาระ คือ มีการ ตรวจสอบ แกไ้ ขในสมยั ธนบรุ แี ละรตั นโกสนิ ทร์ ทาใหเ้ นือ้ ความและจดุ ประสงค์ แตกตา่ งไป จากเดิม เชน่ พระราชพงศาวดารกรุงศรอี ยธุ ยาฉบบั พนั จนั ทนมุ าศ (เจิม) พระราชพงศาวดารกรุงเกา่ ฉบบั พระจกั รพรรดพิ งศเ์ จา้ กรม (จาด) พระราชพงศาวดารกรุงศรอี ยธุ ยาฉบบั สมเดจ็ พระพนรตั น์ พระราชพงศาวดารกรุงสยามจากตน้ ฉบบั ของบรติ ชิ มิวเซียม กรุงลอนดอน พระราชพงศาวดารฉบบั พระราชหตั ถเลขา
2. จดหมายเหตุโหร เป็นงานของโหรประจาราชสานกั บนั ทึกพระราชกรณีย กิจและเหตุการณ์สาคญั ในบา้ นเมืองตามลาดบั วนั ที่เกิดเหตุการณ์ โดยสรุป ส้นั ๆ
3. จดหมายเหตุชาวต่างชาติ ส่วนใหญ่เป็นเอกสารที่ชาวยโุ รปท่ีเดินทางเขา้ มา ในอาณาจกั รอยธุ ยาเขียนข้ึน เช่น จดหมายเหตุฟานฟลีต ของเยเรเมียส ฟาน ฟลีต ชาวฮอลนั ดา
4. วรรณกรรม สมยั อยธุ ยามีวรรณกรรมหลายเรื่องที่ใหข้ อ้ มูลทาง ประวตั ิศาสตร์ เช่น ลิลิตโองการแช่น้า ลิลิตยวนพา่ ย
Search
Read the Text Version
- 1 - 4
Pages: