วฒั นธรรมการทอผ้าไหมแพรวา จังหวัดกาฬสนิ ธ์ุ อวิดา โกฎิ 644313115 รายงานนเี ้ป็นสว่ นหนึง่ ของการศกึ ษาค้นคว้าในรายวชิ า 1631101 การรู้ดจิ ิทลั เพ่อื การเรียนรู้ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบรุ ี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
วฒั นธรรมการทอผ้าไหมแพรวา จงั หวดั กาฬสินธ์ุ อวิดา โกฎิ 644313115 รายงานนเี ้ป็นสว่ นหนึ่งของการศึกษาค้นคว้าในรายวิชา 1631101 การรู้ดิจทิ ลั เพ่อื การเรียนรู้มหาลยั ราชภฏั เพชรบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา2564
คานา รายงานเร่ือง วฒั นธรรมการทอผ้าไหมแพรวา เป็นสว่ นหนง่ึ ของการศกึ ษาค้นคว้าในรายวิชา 1631101 การรู้ดจิ ิทลั เพ่ือการเรียนรู้มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบุรีภาคเรียนที1่ ปีการศกึ ษา2564 โดยเนอื ้ หา ภายในโครงงานนีค้ อื การนาเสนอเรื่องราวการทอผ้าไหมแพรวา วธิ ีการทอ ลวดลายของผ้าไหมในแตล่ ะยดุ แต่ละสมยั ผ้าไหมแพรวาเป็นผ้าทมี่ คี วามงดงามและความประณีตในการทอ มีลกั ษณะเด่นด้านลวดลาย ของผ้าทีม่ ีกรรมวธิ ีการสร้างลวดลายด้วยการทอขดิ และการทอด้วยการจกเส้นไหมหลากหลายสีเข้าด้วยกนั ทาให้เกดิ สสี นั และลวดลายรูปแบบต่างๆอีกทงั้ ลวดลายที่ปรากฏบนผืนผ้าก็มีความเรียบเนียนเป็นเนอื ้ เดยี วกบั พนื ้ ของผืนผ้าการทอผ้าแพรวาจงึ เป็นภูมิปัญญาชนั้ สงู จนได้รบั การยกย่องวา่ เป็น “ราชนิ แี ห่งไหม” โดยเฉพาะผ้าไหมแพรวาของชมุ ชนบ้านโพนนบั เป็นผ้าไหมลายมดั หมี่ที่มีเอกลกั ษณ์เฉพาะกล่มุ และโดด เดน่ จนกลายเป็นสญั ลกั ษณ์อย่างหนึง่ ของจงั หวดั กาฬสินธ์ุในปัจจุบนั รายงานเล่มนี ้ เป็นการรวบรวมเนือ้ หาเบอื ้ งต้น อาจมีตกหล่นบ้างหรือไม่ครบถ้วนบ้างประการใด ผู้จดั ทาขจงึ ขออภยั เป็นอย่างสงู และน้อมรับข้อเสนอแนะไปพิจารณาปรับปรุงในอนาคต อวิดา โกฎิ 644313115 9 ตลุ าคม2564
สารบญั หน้า เร่ือง ก ข คานา ……………………………………………………………………………………... ค สารบญั ……………………………………………………………………………………. บญั ชภี าพ …………………………………………………………………………………. 1 1.ผ้าไหมแพรวา ……………………………............................................... 1 1 1.1จุดเร่ิมต้นของผ้าไหมแพรวา …………………………………………………. 1 1.2จุดประสงค์หลกั ของผ้าไหมแพรวา …………………………………………… 3 1.3จุดเปลย่ี นแต่ละยคุ ของผ้าไหมแพรวา ………………………………………… 3 2.ประวตั ิความเป็นมาของผ้าไหมแพรวา ……………………….…………………………. 2.1ความหมายของผ้าไหมแพรวา ……………………………………………….. 2.2 ความสาคญั ของผ้าไหมแพรวา ……………………………………………… 2.3ประเภทของผ้าไหมแพรวา …………………………………………………… 3.รูปแบบการทอผ้าไหมแพรวา ……………………………………………………………. 3.1ลวดลายและกรรมวธิ ีการทอผ้าไหมแพรวา ………………………………….. 3.2ขนาดของผ้าไหมแพรวา ..…………………………………………………… 3.3ลกั ษณะของผ้าไหมแพรวา ………………………………………………….. 3.4เอกลกั ษณ์ของผ้าไหมแพรวา ……………………………………………….. 4.สรุป ……………………………………………………………………………………. 5.บรรณานุกรม …………………………………………………………………………… 6.ภาคผนวก ……………………………………………………………………………… 6.1 ภาคผนวก ก แบบประเมนิ …………………………………………………
บญั ชภี าพ หน้า 4 รูปที่ รูปท่ี 1 รูปแบบการทอผ้าไหม……………………..
1.ผ้าไหมแพรวา 1.1จดุ เร่ิมต้นของผ้าไหมแพรวา วฒั นธรรมของชาวภไู ท ซ่งึ เป็นชนกล่มุ หนึ่งมีถ่ินกาเนิดในบริเวณแคว้นสิบสองจไุ ทย (ดนิ แดน สว่ นเหนอื ของลาว และ เวยี ดนาม ซ่ึงตดิ ต่อกบั ดนิ แดนภาคใต้ของจีน) อพยพเคลือ่ นย้ายผ่านเวียดนาม ลาว แล้วข้ามฝ่ังแมน่ า้ โขงเข้ามาตงั้ หลกั แหลง่ อยู่แถบเทือกเขาภพู านทางภาคอีสานของไทย ซึ่งสว่ น ใหญ่อยู่ในจงั หวดั กาฬสินธ์ุ นครพนม มุกดาหาร สกลนครโดยยงั คงรกั ษาวฒั นธรรม ประเพณี ความ เชอ่ื การแตง่ กาย และการทอผ้าไหม ท่มี ภี มู ิปัญญาในการทอด้วยการเก็บลายจากการเก็บขดิ และการ จกทม่ี ลี วดลายโดดเดน่ นับเป็นภูมปิ ัญญาทไี่ ด้รับการถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษและพฒั นามาอย่างตอ่ เนอ่ื ง ผ้าแพรวาจงึ เหมือนเป็นสญั ลกั ษณ์ของกลมุ่ ชนทส่ี ืบเชอื ้ สายมาจากกลมุ่ ผ้ไู ท โดยผ้หู ญิงจะถูกฝึก ทอผ้ามาตงั้ แตอ่ ายุ 9 – 15 ปี ชาวผ้ไู ทยทท่ี อผ้าแพรวาส่วนใหญจ่ ะอยู่ทบ่ี ้านโพน อาเภอคาม่วง จงั หวัด กาฬสินธ์ุ ประกอบกบั การเลอื กใช้เส้นไหมน้อยหรือไหมยอดทีม่ ีความเล่ือมมนั ผ้าไหมแพรวาจงึ ถอื ว่า เป็นของลา้ ค่า และมีความสมั พนั ธ์กบั วิถชี ีวิตของชาวผ้ไู ทยอย่างแท้จริง ดงั คาขวญั จงั หวดั กาฬสินธ์ุ ที่วา่ “หลวงพอ่ องคด์ าลือเลือ่ ง เมืองฟา้ แดดสงยาง โปงลางเลิศลา้ วฒั นธรรมผ้ไู ทย ผ้าไหมแพรวา ผา เสวยภูพาน มหาธารลาปาว ไดโนเสาร์สตั ว์ โลกล้านปี” 1.2จุดประส่งหลกั ของผ้าไหมแพรวา เพือ่ ใช้ในการนงุ่ หม่ ใช้สาหรบั คลมุ ไหลห่ รือหม่ สไบเฉยี งทเ่ี รียกว่าผ้าเบีย่ งของชาวผ้ไู ทย ซงึ่ ใช้ ในโอกาสที่มีงานเทศกาลบุญประเพณีหรืองานสาคญั อน่ื ๆ โดยประเพณที างวฒั นธรรมของหญิงสาว ชาวภไู ทจะต้องยึดถอื ปฏิบตั ิ 1.3จุดเปล่ียนของแต่ละยคุ ของผ้าไหมแพรวา การทอผ้าไหมแพรวา ในอดตี ใช้แค่เป็นเพียงเคร่ืองนมุ่ หม่ เท่านนั ้ จึงไม่ได้มลี วดลายที่สวยหรือ อะไรมากมาย เพราะชาวบ้านมกั จะทอไว้ใช้กนั เองมากกว่านาไปค้าขาย แตใ่ นการทอผ้าแพรวาปัจจบุ นั ได้รบั การส่งเสริมจากมลู นธิ ิส่งเสริมศลิ ปาชีพในสมเดจ็ พระนางเจ้าสริ ิกิติ์ พระบรมราชนิ นี าถ ทาให้มีการสืบทอดศิลปะการทอผ้าแพรวาแพร่หลายมากขนึ ้ จงึ มีความพยายาม ผลิตผ้าให้ผ้คู นได้ซอื ้ หลากหลายทงั้ ในด้านลวดลาย สีสนั และยงั ใช้วิธยี กเขา เพื่อความรวดเร็ว แทนที่ จะใช้นวิ ้ ยกด้ายสอดเชน่ เดิม ความประณีตของลวดลายจงึ ลดลงไป เนอ่ื งจากการยกเขานนั ้ เหมือนการ ทาพมิ พท์ ีจ่ ะต้องปรากฏลายซา้ ๆ เป็นชว่ งๆ ความสวยงามของผ้านนั ้ อยู่ทีค่ วามประณตี ของการทอ ความสม่าเสมอของลวดลาย ไมห่ ลดุ ตกบกพร่อง หรือขาด หากทอด้วยมือทงั้ ผนื ความสม่าเสมอของลวดลายจะน้อยกว่าการใช้เขาเกบ็ ลาย
แตล่ วดลายจะมีความอ่อนช้อย แนน่ ไม่โปร่ง ด้านหลงั ของผ้ามคี วามเป็นระเบียบ ไม่โยงเส้นด้ายยาว เกนิ ไป และใช้สสี นั ที่หลากหลายกว่า ปัจจุบนั มกี ารส่งเสริมการทอผ้าแพรวาในโครงการสง่ เสริมศิลปาชีพฯ หลายแหง่ ในภาคอสี าน โดยใช้ เส้นไหมจากโรงงาน
2.ประวัติความเป็ นมาของผ้าไหมแพรวา 2.1ความหมายของผ้าไหมแพรวา ผ้าแพรวา มีความหมายรวมกันว่าผ้าทอเป็นผนื ที่มีขนาดความยาว 1 วา หรือ 1ชว่ งแขน ใช้ สาหรับคลมุ ไหล่หรือหม่ สไบเฉียง ทีเ่ รียกวา่ ผ้าเบี่ยงของขาวผ้ไู ทย ซึ่งใช้ในโอกาสทมี่ งี านเทศกาลบญุ ประเพณี หรืองานสาคญั อน่ื ๆโดยประเพณที างวฒั นธรรมของหญิงสาวชาวภูไทย จะต้องยึดถอื ปฏบิ ตั ิ คอื จะต้องตดั เย็บผ้าทอ 3 อย่างคือ เสอื ้ ดา ตาแพร (หมายถงึ การทอผ้าแพรวา) และซิ่นไหม ผ้าแพรวา มีความหมายตามรูปศพั ท์ซึง่ เป็นคาผสมระหว่างคามลู 3 คาคือ ผ้า หมายถึง วสั ดุ อย่างหนงึ่ ทล่ี กั ษณะเป็นผนื ได้จากการเอาเส้นไยของฝา้ ย ไหม ป่าน ปอ ฯลฯ ซึ่งผ่านกรรมวธิ ีหลาย อย่าง เป็นต้นวา่ การปั่น เส้นใยทาเป็นด้าย ย้อมสี ฟอกสี การฟั่นเกลียว การเคลือบผิว ฯลฯ แล้วนามา ทอเข้าด้วยกันให้เป็นผนื มีขนาดความกว้าง ความยาว แตกต่างกนั ไปตามความต้องการใช้สอย ประโยชน์ เมอื่ ทอเสร็จเป็นผืนแล้ว จะเรียกช่อื แตกต่างกันออกไปตามช่ือวสั ดุท่ีนามาใช้ถักทอ เชน่ ถ้า ทอจากใยฝ้าย เรียกว่าผ้าฝา้ ย หรือถ้าทอจากเส้นใยไหม เรียกว่าผ้าไหม 2.2ความสาคญั ของผ้าไหมแพรวา ผ้าแพรวาเป็นผ้าไหมชนดิ หน่ึงได้รบั การสนับสนนุ และส่งเสริมจากโครงการศูนยศ์ ิลปาชีพใน สมเด็จพระนางเจ้าสริ ิกิต์พิ ระบรมราชินนี าถ เม่อื ครัง้ เสด็จเย่ียมพสกนิกรชาวอาเภอคาม่วง จงั หวดั กาฬ สินธ์เมื่อปี พ.ศ. 2519 ได้ทอดพระเนตรเหน็ ชาวภูไท บ้านโพน แต่งตวั โดยใช้ผ้าแพรวาสะพายเฉยี ง ได้ ทรงสนพระทยั มากจงึ โปรดให้มกี ารสนบั สนนุ และส่งเสริมมาอยา่ งต่อเนอื่ ง จนปัจจบุ นั ผ้าแพรวาได้มี การประยุกต์พฒั นามาอยา่ งตอ่ เนือ่ ง และเมื่อปี พ.ศ. 2524 ได้มีพระราชดาริให้ขยายหน้าผ้าให้กว้างขนึ ้ เพอ่ื ทีจ่ ะได้นาไปใช้เป็นผ้าผืนสาหรบั ตดั เสอื ้ ผ้าได้ อกี ทงั้ ได้เกิดการประยุกต์การทาลวดลายบนผืนผ้าให้ เหมาะสมกบั สภาพทางเศรษฐกิจและตรงกับตามความต้องการของตลาด โดยทาลวดลายง่ายๆแบบ เกบ็ ขดิ มีสองสีคือสพี นื ้ กบั สีที่ลายเรียกว่าแพรวาล่วง หรือผ้าแพรวาจกทีม่ กี ารเตมิ สลี ายเล็กๆบนผ้าแพร วาล่วง ซ่งึ แสดงให้เหน็ ได้ว่า พระองคท์ ่านได้ทรงให้ความสนใจการพฒั นาการทอผ้าแพรวามาโดย ตลอด จนทาให้ผ้าไหมแพรวามคี วามงดงาม มีเสน่ห์ต่อผ้ทู ไี่ ด้พบเหน็ และสมั ผสั 2.3ประเภทของผ้าไหมแพรวา ลกั ษณะลายผ้าของแพรวาที่ทอในปัจจุบนั แบ่งเป็น 3 ประเภทใหญๆ่ ได้แก่ ผ้าแพรวาลาย ล่วง ผ้าแพรวาลายจก และผ้าแพรวาลายเกาะ ผ้าแพรวาลายล่วง หมายถงึ ผ้าแพรวาท่ีมลี วดลายเรียบ ง่าย มีสองสี สหี นงึ่ เป็นสีพืน้ สว่ นอีกสเี ป็นลวดลาย
3.รูปแบบการทอผ้าไหมแพรวา 3.1ลวดลายและกรรมวิธีการทอผ้าไหมแพรวา ลวดลายผ้าแพรวานับเป็นผ้ามรดกของครอบครัว โดยในแต่ละครัวเรือน จะมี ผ้าแซว่ ซง่ึ เป็น ผ้าไหมส่วนใหญ่ทอพนื ้ สขี าว ขนาดประมาณ 25 x 30 เซนตเิ มตร มีลวดลายต่าง ๆ เป็นต้นแบบลาย ดงั้ เดมิ แต่โบราณทท่ี อไว้บนในผืนผ้าเป็นแม่แบบดงั้ เดิมทส่ี บื ตอ่ มาจากบรรพบุรุษ บนผ้าแซ่วผืนหนึ่งๆมี อาจลวดลายมากถงึ ประมาณกว่าร้อยลาย การทอผ้าจะดลู วดลายจากต้นแบบในผ้าแซ่วโดยจะจดั วาง ลายใดตรงส่วนไหน หรือให้สีใดขนึ ้ อยกู่ ับความต้องการของผ้ทู อ เกดิ เป็นเอกลกั ษณ์ของผ้าแพรวาจาก การวางองค์ประกอบของลวดลายต้นแบบและการให้สสี รรของผ้ทู อ ขนั้ ตอนการทา 1. การเตรียมเส้นไหม จะต้องนาเส้นมาคัดเส้นไหมท่ีมีขนาดเส้นสม่าเสมอ และมีการตกแต่งไจไหมที่เรียบร้อย คือ เส้นไหมจดั เรียงแบบสานกันเป็นตาขา่ ยหรือเรียกช่ือทางวิชาการวา่ ไดมอนด์ครอส มกี ารทาไพประมาณ 4-6 ตาแหน่ง ขนาดนา้ หนักไหมต่อไจโดยประมาณ 80-100 กรัม ทงั้ นีเ้ พ่ือเป็นการเพ่ิมประสิทธิภาพ ของการปฏบิ ตั ิงานในขนั้ ตอนการลอกกาว ย้อมสี และการกรอเส้นไหม รูปท่ี 3.1 กระบวนการเตรียมเส้นผ้าไหม
2.การลอกกาวเส้นไหมทัง้ เส้นพุ่ง เส้นยืน โดยการใช้สารธรรมชาติ การเตรียมสารลอกกาว ธรรมชาติ นากาบต้นกล้วยมาทาการเผาไฟจนกระทัง่ เป็นขเี ้ ถ้า นาขีเ้ ถ้าไปแช่นา้ ใช้ไม้คนให้ทว่ั ปล่อย ทิง้ ไว้ให้ขีเ้ ถ้าตกตะกอนแบ่งชนั้ นา้ และตะกอน ทาการกรองนา้ ใสที่อยู่ส่วนบนชนั้ ตะกอนด้วยผ้าบาง สารที่ได้ คือสารลอกกาวธรรมชาติ นาเส้นไหมทไ่ี ด้เตรียมไว้แล้วมาทาการต้มลอกกาวด้วยสารลอกกาว ธรรมชาตดิ งั กล่าวโดยใช้ในสดั ส่วนของสารลอกกาวต่อเส้นไหมโดยประมาณ 30:1 ในระหวา่ งการต้ม ลอกกาวจะมกี ารควบคุมอณุ หภูมใิ ห้อยูใ่ นระดบั 90-95 องศาเซลเซยี ส เป็นเวลาประมาณ 90 นาที ใน ระหว่างการต้มลอกกาว ให้ทาการกลบั เส้นไหมในหม้อต้มอยา่ งสม่าเสมอ เพ่ือให้กระบวนการลอกกาว เส้นไหมสมบูรณ์ นาเส้นไหมท่ีทาการลอกกาวเสร็จเรียบร้อยออกจากหม้อต้ม นาไปล้างนา้ ร้อนนา้ อุ่น แล้วบีบนา้ ออกจากเส้นไหม นาเส้นไหมไปตากผงึ่ แห้งท่รี าวตาก ทงั้ นใี ้ ห้ทาการกระตุกเส้นไหมเพ่ือให้มี การเรียงเส้นไหมในแตล่ ะไจ อย่างเรียบร้อย นนั่ คือการลอกกาวเส้นไหม เรากจ็ ะได้เส้นไหมท่ีพร้ อมจะ ย้อมสี เพ่อื นาไปทอผ้าต่อไป รูปท่ี 3.1 กระบวนการลอกกาวผ้าไหม
3.การเตรียมฟื มทอผ้า ทาการค้นเส้นด้ายลกั ษณะเดียวกบั การค้นเส้นยืน จากนนั ้ นาเส้นด้ายมาร้อย เข้ากับฟื ม โดยการร้อยผ่านช่องฟันหวีแต่ละช่องทุกช่อง ๆ ละ 2 เส้น แล้วใช้ท่อนไม้ไผ่เล็ก ๆ สอดเข้าในห่วง เส้นด้ายท่รี ้อยเข้าชอ่ งฟันหวีเพ่ือทาการขึงเส้นด้ายให้ตงึ และจดั เรียงเส้นด้ายให้เรียบร้อย ส่วนด้านหน้าของฟื มก็ จะมีท่อนไม้ไผ่เช่นเดียวกับด้านหลังเพื่อทาการขึงเส้นด้ายให้ตึงเช่นเดียวกับด้านหลังของฟื มท่ีกล่าวมาแล้ว จากนนั ้ ให้ทาการเก็บตะกอฟืมแบบ 2 ตะกอ เราก็จะได้ชดุ ฟืมทอผ้าทพ่ี ร้อมสาหรบั การทอผ้า
รูปท่ี 3.1 กระบวนการฟีมผ้าไหม
4.การย้อมเส้นไหมยืน เตรียมนา้ ย้อมสีเส้นไหม โดยทั่วไปผ้าแพรวาในสมยั โบราณเส้นยืนจะใช้สแี ดง ที่มาจาก คร่ัง นาครั่งมาตาให้ละเอยี ด จากนนั ้ นาไปแช่นา้ นานประมาณ 1 คืน ทาการกรองนา้ ย้อมสีด้วยผ้าบาง ปริมาณครั่งท่ีใช้ใน การเตรียมนา้ ย้อมประมาณ 5 กโิ ลกรัม ต่อนา้ 20 ลิตร ต่อเส้นไหม 1 กโิ ลกรมั นาเส้นไหมที่เตรียมไว้มาทาการย้อม โดยเร่ิม จากการการย้อมเย็นเพ่ือให้นา้ ย้อมสีสามารถซึมเข้าไปในเส้นไหมได้อยา่ งทวั่ ถึงและสมา่ เสมอ ปอ้ งกนั การเกิดสีด่างบนเส้น ไหม เมื่อนา้ ย้อมได้ซึมเข้าเส้นไหมจนทว่ั แล้ว ก็ให้ยกหม้อต้มย้อมขึน้ ตงั้ บนเตาเพ่อื เพ่มิ ความร้อนจนกระทง่ั อณุ หภูมิอยู่ท่ี ระดบั 90 องศาเซลเซียส ใช้เวลาประมาณ 30 นาที หรือสงั เกตได้จากการทีน่ า้ ย้อมจะใส จากนนั ้ ให้นาเส้นไหมทย่ี ้อมสี เรียบร้อยแล้วไปล้างนา้ สะอาด 2-3 ครัง้ แล้วทาการบีบนา้ ให้แห้ง ทาการตากผึ่งให้แห้ง รูปที่ 3.1 กระบวนการย้อมเส้นไหมยนื
5.การเตรียมเส้นยนื นาเส้นไหมยืนที่ทาการย้อมสีด้วยสแี ดงเข้มของครัง่ มาทาการค้นเครือหูก หรือที่ เรียกว่าการค้นเส้นยนื โดยใช้หลกั เฝือเป็นอุปกรณ์ในการค้นเส้นยืน การเตรียมค้นเส้นยนื จะเร่ิมต้นโดยการนา เส้นไหมไปสวมเข้าในกง เพ่ือทาการกรอเส้นไหมเข้าอกั จากนนั ้ ก็ทาการค้นเส้นยนื โดยมีหลกั การนับ คอื รอบละ 2 เส้น 2 รอบ เป็น 4 เส้น เรียกว่า 1 ความ 10 ความ เท่ากบั 1 หลบ การนับจานวนความจะใช้ซ่ไี ม้มาคนั่ เพื่อ ปอ้ งกนั ความผดิ พลาดทอ่ี าจจะเกดิ ขนึ ้ ได้ ดงั นนั ้ 1 หลบจะมีเส้นไหม 40 เส้น หลบ คือ หน้ากว้าง ในสมยั โบราณ นยิ มทอผ้าสไบหน้ากว้างจะใช้ 8 หลบ ตอ่ มามีการขยายหน้ากว้างเพ่ิม เชน่ 22 หลบ 34 หลบ เป็นต้น ทงั้ นขี ้ นึ ้ อยู่ กบั การออกแบบตงั้ แตเ่ ริ่มแรก รูปที่ 3.1 กระบวนการเตรียมเส้นยนื
6.การต่อเส้นยืน การต่อเส้นยืนคือการนาเส้นไหมเส้นยืนมาผกู ต่อกับเส้นด้ายในซฟี่ ันหวโี ดยทาการ ต่อทีล่ ะเส้นจนหมดจานวนเส้นยืน เชน่ หากหน้ากว้างของผ้าเท่ากับ 22 หลบ ก็จะต้องทาการตอ่ เส้นยืนเทา่ กบั 1,760 เส้น เป็นต้น เมอื่ ต่อเส้นไหมเข้ากบั เส้นไหมที่อยใู่ นซี่ฟันหวีเ่ รียบร้อยแล้ว ก็ให้ทาการม้วนเส้นยืนด้วยแผน่ ไม้ พร้อมทงั้ การจดั เรียงระเบยี บของเส้นไหมตามช่องฟันฟืมให้เป็นระเบียบเรียบร้อย กใ็ ห้ทาการม้วนเส้นยืนด้วย แผน่ ไม้ พร้อมทงั้ การจดั เรียงระเบียบของเส้นไหมตามชอ่ งฟันฟืมให้เป็นระเบยี บเรียบร้อย จากนนั ้ กน็ าไปติดตงั้ เข้ากบั หูกทอผ้าหรือก่ีทอผ้า เพื่อการเก็บเขาลายหรือตะกอต่อไป ก่อนทาการทอผ้าจะต้องใช้แปรงจมุ่ นา้ แปง้ ทา เคลือบเส้นยนื ทีอ่ ยูใ่ นกี่กอ่ น เพอื่ ทาให้เส้นกลม มีความแข็งแรง เส้นไหมไม่แตกเป็นขนเน่อื งจากกระทบกบั ชอ่ ง ฟันฟื มเวลาทอผ้า รูปท่ี 3.1 กระบวนการตอ่ เส้นยืน
7.การเตรียมเส้นพ่งุ ท่จี ะทาการย้อมสตี ่าง ๆ การเตรียมนา้ ย้อมสเี ส้นไหม โดยทว่ั ไปผ้าแพรวา โบราณจะมีจานวนสหี ลากหลายสีในแตล่ ะลายหลกั ซึง่ สีทนี่ ิยมใช้กนั มากก็จะเป็นสเี ข้ม เช่น สเี หลอื ง สีนา้ เงิน เข้ม สเี ขยี ว สแี ดง เป็นต้น ซ่งึ แต่ละสีกจ็ ะได้มาจากชนิ ้ สว่ นของพชื และสตั ว์ ดงั นี ้ 1) สีเหลือง เป็นสที ่ีได้มาจากแก่นเข วธิ ีการเตรียม คอื นาแกน่ เขมาทาให้เป็นชนิ ้ เลก็ ๆก่อนทาการต้มกบั นา้ การต้มให้ต้มเดือดนานประมาณ 1-1.30 ชว่ั โมง จากนนั ้ ก็ให้ทาการกรองด้วยผ้าบางเพ่อื แยกส่วนของนา้ ย้อม สีกับกากเหลือของแกน่ เขออกจากกัน นาเส้นไหมเส้นพุ่งทีต่ ้องการย้อมสีเหลอื งมาทาการย้อม โดยเริ่มต้นการ ย้อมโดยวิธีย้อมเย็นเพ่อื ให้การซึมเข้าของสีสม่าเสมอ จากนนั ้ จึงใช้ความร้อนในการเพิ่มอุณหภูมิประมาณ 90-95 องศาเซลเซียส ย้อมนานประมาณ 30 นาที จากนนั ้ นาเส้นไหมท่ยี ้อมเสร็จแล้วมาทาการล้างด้วยนา้ 2-3 ครัง้ เพอ่ื ล้างสีสว่ นเกินออกให้หมด ซ่งึ จะทาให้ผ้าไหมไมต่ กสี นาเส้นไหมทล่ี ้างนา้ แล้วบีบนา้ ออกแล้วนาไปผง่ึ ตากให้แห้ง (2) สนี า้ เงิน เป็นสีทไ่ี ด้มาจากเนือ้ คราม วธิ ีการเตรียม คอื จะต้องมกี ารก่อหม้อครามก่อนเพื่อท่ีนานา้ ย้อมสคี รามนนั ้ มาใช้ในการเตรียมนา้ ย้อมสคี ราม เมอื่ ได้นา้ ย้อมสนี า้ เงนิ แล้ว นาเส้นพ่งุ ทีต่ ้องการย้อมสนี า้ เงนิ มา ทาการย้อม โดยกรรมวิธีการย้อมสคี รามจะเป็นการย้อมเยน็ โดยการนาเส้นไหมลงย้อมในนา้ ย้อม แล้วใช้มอื บีบ นวดเส้นไหมเพ่อื ให้สีสามารถซมึ เข้าได้ทว่ั ถึง การย้อมครามอาจจะต้องทาการย้อมซา้ 2-3 ครัง้ ขนึ ้ อย่กู ารการตดิ สีของครามและระดบั ความเข้มของสีที่ต้องการ (3) สีแดง เป็นสีที่ได้จากคร่งั วิธีการเตรียมนา้ ย้อมสีแดงท่มี าจากครงั่ นาครั่งมาตาให้ละเอยี ด จากนนั ้ นาไปแช่นา้ นานประมาณ 1 คืน ทาการกรองนา้ ย้อมสดี ้วยผ้าบาง ปริมาณคร่ังทใ่ี ช้ในการเตรียมนา้ ย้อมประมาณ 5 กโิ ลกรมั ตอ่ นา้ 20 ลติ รต่อเส้นไหม 1 กโิ ลกรัม นาเส้นไหมท่เี ตรียมไว้มาทาการย้อม โดยเริ่มจากการการย้อม เยน็ เพ่อื ให้นา้ ย้อมสีสามารถซึมเข้าไปในเส้นไหมได้อยา่ งทวั่ ถงึ และสม่าเสมอ ปอ้ งกนั การเกิดสดี า่ งบนเส้นไหม เมอ่ื นา้ ย้อมได้ซึมเข้าเส้นไหมจนทวั่ แล้ว กใ็ ห้ยกหม้อต้มย้อมขนึ ้ ตงั้ บนเตาเพื่อเพม่ิ ความร้อนจนกระทง่ั อุณหภมู ิ อยู่ทีร่ ะดบั 90-95 องศาเซลเซียส ใช้เวลาประมาณ 30 นาที หรือสงั เกตได้จากการทนี่ า้ ย้อมจะใส จากนนั ้ ให้นา เส้นไหมทยี่ ้อมสีเรียบร้อยแล้วไปล้างนา้ สะอาด 2-3 ครัง้ แล้วทาการบีบนา้ ให้แห้ง ทาการตามผ่งึ ให้แห้ง (4) สเี ขยี ว เป็นสที ี่ได้จากการใช้สี 2 สี คอื สเี หลอื งจากแก่นเข และสนี า้ เงินจากคราม นาเส้นพงุ่ ท่ี ต้องการจะย้อมสเี ขยี วมาทาการย้อมสีเหลอื งกอ่ น และล้างสสี ่วนเกนิ ออกให้หมดก็จะได้เส้นไหมทยี่ ้อมสีเหลอื ง ให้นาเส้นไหมสีเหลอื งทเี่ ตรียมไว้ไปย้อมทบั ด้วยสีนา้ เงินก็จะทาให้เส้นที่ย้อมเป็นสีเขียว นาเส้นไหมท่ยี ้อมสีเสร็จ เรียบร้อยแล้วมาทาการล้างสสี ่วนเกินออกให้หมด โดยล้างนา้ 2-3 ครัง้ จากนนั ้ บีบนา้ ออก ทาการผึง่ ตากแห้ง ซึ่ง ทกุ ครัง้ จะต้องทาการกระตุกเส้นไหมให้เรียงกนั เรียบร้อย
รูปท่ี 3.1 กระบวนการเตรียมเส้นพงุ่ • การกรอเส้นพ่งุ เข้าหลอด การกรอเส้นพงุ่ เข้าหลอด นาเส้นไหมทีย่ ้อมสีตา่ ง ๆ แล้วมาเข้ากง แล้วทาการกรอเส้นไหมเข้าหลอด เพื่อเตรียมเป็นเส้นพุ่งเพ่อื ใช้ในการเกาะลาย และใส่ กระสวยในการทอขดั รูปท่ี 3.1 กระบวนการกรอเส้นพุง่ เข้าหลอด
• การเก็บเขาลาย / การเก็บตะกอลายขดั การทาลายบนผนื ผ้าแพรวา ใช้ไม้เกบ็ ขดิ มลี กั ษณะ แบนกว้างประมาณ 7-8 เซนติเมตร ยาว 1 เมตร ปลายแหลมในการเกบ็ ขิดลายผ้าแพรวา โบราณในแตล่ ะผนื จะมจี านวนลายหลกั แตล่ ะผนื ไม่เท่ากัน ประด้วยไม้ลายหรือตะกอกว่า 1,000 เขา /ตะกอ ซ่งึ การทาลายบนผืนผ้าแพรวาโบราณจะทาโดยใช้ไม้เกบ็ ขดิ ลายเก็บลาย กอ่ น แล้วใช้ไม้ยกลายหรือไม้เผา่ สอดเข้าจนหมดหน้าฟืม โดยให้ยกไม้ยกลายท่ีสอดเข้าไปให้ อยใู่ นแนวตงั้ จากนนั ้ ใช้นวิ ้ ก้อยในการล้วงเกาะเส้นไหมสีต่าง ๆตามลายท่ีกาหนด ไปจนสดุ ขอบผ้า แล้วจงึ เหยียบไม้เหยียบตะกอฟื มเพอื่ สอดกระสวย แล้วใช้ฟื มกระทบเส้นไหมเพือ่ ให้ ผืนผ้าแน่น ไม้หนง่ึ เกาะ 2 เทยี่ ว เพอื่ ให้ลายนนู เด่น ในการทอผ้าแพรวาจะต้องมกี ารเกบ็ ลาย ไปตลอดการทอ การทอผ้าแพรวาลวดลายผ้าจะอยู่ด้านล่างของกี่ทอผ้า ซงึ่ จะมีความ แตกต่างจากการทอผ้ามดั หมหี่ รือผ้าอื่น ๆและด้านล่างของผนื ผ้าแพรวา จะมที ่อนไม้เลก็ ๆ แบน ๆดนั ยึดริมผ้าทงั้ 2 ด้านให้ตรงและตงึ ตลอดเวลาเรียกว่าไม้คนั ผงั โดยมีหน้าทย่ี ึดผ้าท่ี ทอให้ขอบผืนผ้าตรงและตึงตลอดเวลา ทาให้ลวดลายบนผ้าสวยงามผ้าแพรวาชนิดนี ้เรียกว่า แพรวาเกาะ ซึ่งเป็นแพรวาท่มี ีความสวยงามมาก คอ่ นข้างทายากและใช้เวลาในการทอ คอ่ นข้างนาน ส่งผลทาให้ต้นทุนการผลิตสงู ตามไปด้วย รูปที่ 3.1 กระบวนการเกบ็ เขาลาย
• การทอผ้าแพรวาแบบประยุกต์ ปัจจบุ นั การทอผ้าแพรวาได้มีการประยกุ ตเ์ พอื่ ให้เหมาะกับ สภาพการของเศรษฐกจิ และความต้องการของตลาด เชน่ ผ้าแพรวาชนิดแพรวาล่วง คือ ใช้ กระสวยพงุ่ ตามลายทีไ่ ด้เกบ็ ขิดลายไว้ สว่ นใหญ่แพรวาชนิดนจี ้ ะมีสี 2 สี คอื สีพืน้ สลี วดลาย บนผืนผ้าหรือหากจะมีการเพ่ิมสสี นั กจ็ ะมีการเตมิ ลายเล็ก ๆ หรือลายที่เป็นลายเกสรเลก็ ๆ เพื่อเพมิ่ สีสนั ให้มีความสวยงาม ทงั้ นเี ้พื่อเป็นการประหยดั เวลา ทาได้ง่าย สามารถลดต้นทุน การผลติ ได้ด้วยซึ่งผ้าแพรวาชนิดนเี ้รียกว่า แพรวาจก รูปที่ 3.1 กระบวนการทอผ้าไหมแพรวาแบบประยกุ ต์
3.3ลักษณะของผ้าไหมแพรวา ผ้าแพรวา เป็นผ้าทอจากเส้นใยไหม ท่มี ีลกั ษณะลวดลายผสมกันระหว่างลายขดิ และจกบน ผืนผ้า ในกระบวนการขิดจะใช้วธิ ีเก็บลายขิดบนผ้าผนื เรียบ ใช้ไม้เก็บขดิ คดั เก็บขิดยกลาย โดยต้องนับ จานวนเส้นไหม แล้วใช้ไม้ลายขิดสายเป็นลายเกบ็ ไว้ ในการทอเกบ็ ลายจะแบง่ เป็นช่วง แต่ละช่วงเกบ็ ลายไมเ่ หมอื นกัน 3.4เอกลกั ษณ์ของผ้าไหมแพรวา จุดเดน่ และความเป็นเอกลกั ษณ์ของผ้าแพรวาคอื ลวดลายสีสนั และความมีระเบยี บ ความ เรียบ ความเงางามของผนื ผ้า ในผ้าแพรวาผนื หนึ่งจะมีอยปู่ ระมาณ ๑๐ หรือ ๑๒ ลาย ใช้เส้นไหมใน การทอตงั้ แต่ 2-9 สี สอดสลบั ในแต่ละลายแตล่ ะแถว ลวดลายที่ปรากฏจะประณีตเรียบเนยี นเป็นเนอื ้ เดยี วกนั ตลอดทงั้ ผืน สรุป ผ้าแพรวา นบั เป็นผ้าไทยอีกรูปแบบหน่ึงทไ่ี ด้รับความนิยมสงู ในหมผู่ ้นู ยิ มผ้าไทย ทงั้ ที่อยใู่ น ประเทศและต่างประเทศ ที่บ้านโพน อาเภอคาม่วง จงั หวดั กาฬสินธ์ุ เป็นพนื ้ ทที่ ม่ี กี ารทอผ้าไหมแพรวา ทง่ี ดงาม และมีชือ่ เสยี งระดบั ประเทศ
บรรณานุกรม
บรรณานุกรม ศภุ ชยั สิงห์ยะบศุ ย์. (2545). รูปแบบศลิ ปะและการจดั การผ้าทอท่สี ่งผลต่อความเข้มแข็งและการ พ่งึ ตนเองของชมุ ชน ท้องถ่นิ : ศึกษากรณีผ้าไหมแพรวาสายวฒั นธรรมผ้ไู ทจงั หวดั กาฬสนิ ธ์.ุ มหาสารคาม. จา รูญลักษณ์ กลุ ศรี. (2543). ภมู ปิ ัญญาไทย. หนงั สอื พมิ พ์กรุงเทพธรุ กิจ. ฉบับวนั ท่ี 22 สิงหาคม พ.ศ. 2543 (หน้าพเิ ศษ 2). ชมพศิ ป่ิ นเมอื ง. (2554). ผ้าไหมแพรวาบ้านโพน ของดอี ีสานส่แู บรนด์ดังอิตาลี. หนงั สอื พิมพ์กรุงเทพ ธุรกิจ. ฉบับวันท่ี 17 หนงั สือพมิ พ์มติชนรายวัน. (2556). สมเด็จพระราชนิ ี พระผ้ทู รงนา�ผ้าไหมไทย ส่เู วทีโลก. ฉบับวัน ศกุ ร์ท่ี 9 สิงหาคม 2556. วิภาดา รัตนโรจนา. (2556). กลุ่มผ้ผู ลติ ผ้าไหมแพรวา ต่างสา�นกึ ในพระมหากรุณาธคิ ณุ ต่อองค์ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชนิ นี าถ ท่ที รงทา�ให้มรี ายได้พออย่พู อกนิ มากว่า 30 ปี . http://pr.prd.go.th/kalasin/ewt_news. Php?nid=4208 สบื ค้น 10 เมษายน พ.ศ. 2560. ศรีศักร วลั ลโิ ภดม. พพิ ิธภัณฑ์ท้องถ่นิ . กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันในเอกสารประกอบการ สัมมนา พิพธิ ภณั ฑ์ไทยในศตวรรษใหม่. (กรุงเทพฯ: ศนู ย์มานุษยวทิ ยาสิรินธร, 2544), หน้า 2. ชชู าติ ผิวสว่าง. (2548). การมสี ่วนร่วมของประชาชนในการวางแผนพฒั นาท้องถ่นิ ต าบลน้ าอ้อม จงั หวดั ยโสธร. ภาคนพิ นธ์ สาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. พัชราพร ทวยสงฆ์. (2556). ปัจจัยท่สี ่งผลให้เกิดการมีส่วนร่วมของบุคคลในองค์กร. สาขา มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์และศลิ ปะ. มหาวทิ ยาลัยศิลปากร. สรฤทธ์ิ จนั สขุ . (2552). การศกึ ษาตวั ชีว้ ัดการพฒั นาชมุ ชนตามแนวทางปรัชญา เศรษฐกิจพอเพยี ง, วารสารวชิ าการมหาวทิ ยาลยั อบุ ลราชธาน.ี ปี ท่ี 11 ฉบับท่ี 1.
ภาคผนวก
Search
Read the Text Version
- 1 - 26
Pages: