Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่2

หน่วยที่2

Published by เกียงไกร พาคํา, 2019-11-16 03:30:50

Description: ilovepdf_merged (2)

Search

Read the Text Version

วชิ า : วสั ดุช่างอตุ สาหกรรม ใบเนือ้ หา 50/75 หน่วยการเรียนที่ 2 : โลหะ แผน่ บางและแผน่ แกน 449-2525 เหลก็ คร่าวเพดาลแขวน เหลก็ โครงสร้าง 116-2517 เหลก็ โครงสร้างรูปพรรณ 348-2523 เหล็กลวดชนิดมีธาตุคาร์บอนต่า 349-2523 เหล็กลวดชนิดมีธาตุคาร์บอนสูง 55-2516 เหล็กเส้นแบนและส่ีเหลี่ยมจตุรัส เหล็กเส้นเสริมคอนกรีต 24-2527 เหลก็ ขอ้ ออ้ ย 211-2527 เหลก็ รีดซ้า 20-2527 เหลก็ เส้นกลม 537-2527 เหล็กหล่อแกรไฟตก์ ลม 536-2527 เหลก็ หล่อเทา ตวั อยา่ งมาตรฐานเหลก็ ไทย(มอก.) มอก.864-2532 มาตรฐานผลติ ภณั ฑ์อุตสาหกรรม เหลก็ เพลาขาว

วชิ า : วสั ดุช่างอตุ สาหกรรม หน่วยการเรียนที่ 2 : โลหะ ใบเนือ้ หา 51/75 1. ขอบข่าย 1.1 มาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรมน้ีกาหนด ประเภท สัญลกั ษณ์และแบบ ขนาดและเกณฑค์ วาม คลาดเคล่ือน วสั ดุ คุณลกั ษณะท่ีตอ้ งการ เคร่ืองหมายและฉลาก การชกั ตวั อยา่ งและเกณฑต์ ดั สิน และ การทดสอบเหลก็ เพลาขาว 2. บทนิยาม ความหมายของคาท่ีใชใ้ นมาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรมน้ี มีดงั ต่อไปน้ี 2.1 เหล็กเพลาขาว (Cold-finished steel bar) หมายถึง ผลิตภณั ฑท์ ี่ไดจ้ ากการนาเหลก็ เพลาดา มาผา่ น กระบวนการดึงเยน็ (cold drawn) เป็นตน้ ซ่ึงอาจจะเป็ นเส้นกลมหรือเส้นหกเหลี่ยมก็ได้ 3. ประเภท สัญลกั ษณ์และแบบ 3.1 เหล็กเพลาขาวแบง่ ออกเป็น 6 ประเภท แตล่ ะประเภทใหใ้ ชส้ ัญลกั ษณ์ดงั ตอ่ ไปน้ี 3.1.1 ประเภท A สัญลกั ษณ์ SGD A-D 3.1.2 ประเภท B สญั ลกั ษณ์ SGD B-D 3.1.3 ประเภท 1 สญั ลกั ษณ์ SGD 1-D 3.1.4 ประเภท 2 สัญลกั ษณ์ SGD 2-D 3.1.5 ประเภท 3 สญั ลกั ษณ์ SGD 3-D 3.1.6 ประเภท 4 สัญลกั ษณ์ SGD 4-D 3.2 เหลก็ เพลาขาว แยง่ ออกเป็น 2 แบบ คือ 3.2.1 แบบเส้นกลม 3.2.2 แบบเส้นหกเหล่ียม 4. ขนาดและเกณฑ์ความคลาดเคลอ่ื น 4.1 ขนาดระบุใหเ้ ป็นไปตามตารางที่ 1 โดยมีเกณฑค์ วามคลาดเคล่ือนดงั น้ี เหล็กเพลาขาวแบบเส้นกลม ใหเ้ ป็นไปตามช้นั ของเกณฑค์ วามคลาดเคล่ือน 8 9 หรือ 10 ในตารางท่ี 2 เหล็กเพลายาวแบบเส้นหกั เหล่ียม ใหเ้ ป็นไปตามช้นั ของเกณฑค์ วามคลาดเคล่ือน 11 หรือ 12 ในตารางท่ี 2 การทดสอบใหป้ ฏิบตั ิตามขอ้ 9.1 ตารางท่ี 1 ขนาดระบุ (ขอ้ 4.1)

วชิ า : วสั ดุช่างอตุ สาหกรรม หน่วยการเรียนท่ี 2 : โลหะ ใบเนือ้ หา 52/75 หน่วยเป็ นมิลลิเมตร แบบ ขนาดระบุ เส้นกลม เส้นผา่ นศนู ยก์ ลาง 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 22 23 24 25 26 28 30 32 35 36 38 40 42 45 48 50 55 60 65 70 75 80 85 90 95 100 เส้นหกเหลี่ยม ระยะระหวา่ งเส้นคู่ขนาน 5.5 6 7 8 9 10 11 13 14 17 19 21 22 24 26 27 30 32 36 41 46 50 55 60 65 70 75 80 ขนาดระบุ 7 ตารางท่ี 2 เกณฑค์ วามคลาดเคล่ือน หน่วยเป็ นมิลลิเมตร 5 แตไ่ มเ่ กิน 6 0-0.01 (ขอ้ 4.1) 12 13 เกิน 6 แตไ่ มเ่ กิน 10 0-0.01 0-0.12 0-0.18 เกิน 10 แตไ่ มเ่ กิน 18 0-0.01 8 9 10 11 0-0.15 0-0.22 เกิน 18 แตไ่ ม่เกิน 30 0-0.02 0-0.01 0-0.03 0-0.04 0-0.07 0-0.18 0-0.27 เกิน 30 แตไ่ ม่เกิน 50 0-0.02 0-0.02 0-0.03 0-0.05 0-0.09 0-0.21 0-0.33 0-0.02 0-0.04 0-0.07 0-0.11 0-0.25 0-0.39 เกิน 50 แตไ่ ม่เกิน 80 0-0.03 0-0.03 0-0.05 0-0.08 0-0.13 เกิน80 แต่ไม่เกิน100 0-0.03 0-0.03 0-0.06 0-0.10 0-0.16 0-0.30 0-0.46 0-0.35 0-0.54 0-0.04 0-0.07 0-0.12 0-0.19 0-0.05 0-0.08 0-0.14 0-0.22 4.2 ความลาดยาว 4.2.1 เหล็กเพลาขาวทุกเส้นในแตล่ ะมดั ตอ้ งยาวเท่ากนั 4.2.2 หกมิไดต้ กลงกนั เป็นอยา่ งอื่น เหล็กเพลาขาวตอ้ งมีความยาว 6.0 เมตร และมีเกณฑค์ วาม คลาดเคล่ือนไดไ้ ม่เกิน +40 มิลลิเมตร การทดสอบใหป้ ฏิบตั ิตามขอ้ 9.2 5. วสั ดุ

วชิ า : วสั ดุช่างอตุ สาหกรรม หน่วยการเรียนที่ 2 : โลหะ ใบเนือ้ หา 53/75 5.1 เหล็กเพลาขาวตอ้ งทาจากเหล็กเพลาดาตามมาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม เหลก็ เพลาดา มาตรฐาน เลขที่ มอก. 644 ประเภทเดียวกนั 6. คุณลกั ษณะทตี่ ้องการ 6.1 ลกั ษณะทว่ั ไป เหลก็ เพลาขาวตอ้ งมีผวิ ท้งั หมดเรียบเกล้ียง ไม่มีรอยปริรอนแตกร้าว ครีบหรือลูกล่ืน การทดสอบใหท้ าโดยการตรวจพินิจ 6.2 สมบตั ิทางกล 6.2.1 ความตา้ นแรงดึงและความแขง็ ของเหล็กเพลาขาวแบบเส้นกลม ตอ้ งเป็นไปตามตารางที่ 3 6.2.2 ความตา้ นแรงดึงและความแขง็ ของเหล็กเพลาขาวแบบเส้นหกเหลี่ยม ตอ้ งเป็ นไปตามตาราง ที่ 4 การทดสอบใหป้ ฏิบตั ิตามขอ้ 9.3 ตารางท่ี 3 สมบตั ิทางกลของเหลก็ เพลาขาวแบบเส้นกลม (ขอ้ 6.2.1) ประเภท ขนาดระบุ ความตา้ นแรงดึง ความแขง็ มิลลิเมตร เมกะพาสคลั HRB SGD A-D 5 ถึง 20 (กิโลกรัมแรงต่อตารางมิลลิเมตร) 58 ถึง 99 382 ถึง 736 (39 ถึง 75)

วชิ า : วสั ดุช่างอตุ สาหกรรม ใบเนือ้ หา 54/75 หน่วยการเรียนที่ 2 : โลหะ 22 ถึง 100 343 ถึง 637 50 ถึง 94 (35 ถึง 65) 74 ถึง 103 SGD B-D 5 ถึง 20 69 ถึง 100 22 ถึง 100 500 ถึง 853 47 ถึง 88 (51 ถึง 87) 50 ถึง 93 SGD 1-D 5 ถึง 80 55 ถึง 96 SGD 2-D 5 ถึง 80 451 ถึง 755 58 ถึง 98 (46 ถึง 77) SGD 3-D 5 ถึง 80 324 ถึง 588 SGD 4-D 5 ถึง 80 (33 ถึง 60) 343 ถึง 628 (35 ถึง 64) 363 ถึง 667 (37 ถึง 68) 382 ถึง 706 (39 ถึง 72) ตารางท่ี 4 สมบตั ิทางกลของเหล็กเพลาขาวแบบเส้นหกเหล่ียม (ขอ้ 6.2.2) ประเภท ขนาดระบุ ความตา้ นแรงดึง ความแขง็ SGD A-D มิลลิเมตร เมกะพาสคลั HRB 5.5 ถึง 80 (กิโลกรัมแรงต่อตารางมิลลิเมตร) 58 ถึง 99 382 ถึง 736

SGD B-D 5.5 ถึง 80 วชิ า : วสั ดุช่างอตุ สาหกรรม ใบเนือ้ หา 55/75 SGD 1-D 5.5 ถึง 80 74 ถึง 103 SGD 2-D 5.5 ถึง 80 หน่วยการเรียนที่ 2 : โลหะ 47 ถึง 86 SGD 3-D 5.5 ถึง 80 50 ถึง 93 SGD 4-D 5.5 ถึง 80 (39 ถึง 75) 55 ถึง 96 500 ถึง 853 58 ถึง 98 (51 ถึง 87) 324 ถึง 588 (33 ถึง 60) 343 ถึง 628 (35 ถึง 64) 363 ถึง 667 (37 ถึง 68) 382 ถึง 706 (39 ถึง 72) 7. เครื่องหมายและหมาก 7.1 ท่ีเหล็กเพลาขาวทุกมดั ตอ้ งมีป้ ายที่ไมฉ่ ีดขาดและไม่หลุดง่ายผกู ติดอยู่ และท่ีป้ ายน้นั อยา่ งนอ้ งตอ้ งมี เลข อกั ษร หรือเครื่องหมายแจง้ รายละเอียดต่อไปน้ีให้เห็นไดง้ ่าย ชดั เจน (1) คาวา่ “เหลก็ เพลาขาว” (2) สัญลกั ษณ์ * (3) ขนาดระบุ และช้นั ของเกณฑค์ วามคลาดเคล่ือน (4) ความยาวเป็ นเมตร (5) รหสั รุ่นท่ีทา (6) ช่ือผทู้ าหรือโรงงานท่ีทา หรือเคร่ืองหมายการคา้ ท่ีจดทะเบียน ในกรณีที่ใชภ้ าษตา่ งประเทศ ตอ้ งมีความหมายตรงกบั ภาษาไทยที่กาหนดไวข้ า้ งตน้

วชิ า : วสั ดุช่างอตุ สาหกรรม หน่วยการเรียนที่ 2 : โลหะ ใบเนือ้ หา 56/75 หมายเหตุ * ให้แสดงสญั ลกั ษณ์ประเภทตามขอ้ 3.1 และต่อดว้ ยสัญลกั ษณ์แสดงกรรมวธิ ีทางความร้อน (ถา้ มี) เช่น N คือ การอบปกติ (normalizing) Q คือ การชุบและการอบคืนตวั (quenching and tempering) A คือ การอบออ่ น (annealing) AS คือ สเฟี ยรอยไดซิง (spheroidizing) 7.2 ผทู้ าผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรมท่ีเป็นไปตามมาตรฐานน้ี จะแสดงเครื่องหมายมาตรฐานกบั ผลิตภณั ฑน์ ้นั ได้ ต่อเมื่อไดร้ ับใบอนุญาตจากคณะกรรมการมาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรมแลว้ 8. การชักตัวอย่างและเกณฑ์ตดั สิน 8.1 รุ่น ในท่ีน้ี หมายถึง เหลก็ เพลาขาวประเภท แบบละขนาดระบุเดียวกนั ผา่ นกรรมวธิ ีทางความร้อน(ถา้ มี) แบบเดียวกนั ท่ีทาต่อเน่ืองในระยะเวลาเดียวกนั หรือท่ีส่งมอบหรือซ้ือขายในระยะเวลาเดียวกนั 8.2 การชกั ตวั อยา่ งและการยอมรับ ให้เป็นไปตามแผนการชกั ตวั อยา่ งที่กาหนดต่อไปน้ี หรืออาจใชแ้ ผนชกั ตวั อยา่ งอ่ืนที่เทียบเท่ากนั ทางวชิ าการกบั แผนที่กาหนดไว้ 8.2.1 การชกั ตวั อยา่ งและการยอมรับ สาหรับการทดสอบความยาว (ใหท้ ดสอบท่ีโรงงาน) 8.2.1.1 ใหช้ กั ตวั อยา่ งโดยวธิ ีสุ่มจากรุ่นเดียวกนั 8 มดั มดั ละ 1 เส้น 8.2.1.2 ตวั อยา่ งทุกเส้นตอ้ งเป็นไปตามขอ้ 4.2 จึงจะถือวา่ เหล็กเพลาขาวรุ่นน้นั เป็ นไปตามที่กาหนด 8.2.2 การชกั ตวั อยา่ งและการยอมรับ สาหรับการทดสอบเส้นผา่ นศนู ยก์ ลางหรือระยะระหวา่ งดา้ นคู่ขนาน และลกั ษณะทวั่ ไป (ใหท้ ดสอบท่ีโรงงาน) 8.2.2.1 ใหใ้ ชต้ วั อยา่ งที่ผา่ นการทดสอบความยาวแลว้ มาตรวจสอบเส้นผา่ นศูนยก์ ลาง หรือระยะ ระหวา่ งดา้ นคูข่ นาน และลกั ษณะทว่ั ไป 8.2.2.2 ตวั อยา่ งทุกเส้นตอ้ งเป็นไปตามขอ้ 4.1 และขอ้ 6.1 จึงจะถือวา่ เหลก็ เพลาขาวรุ่นน้นั เป็นไป ตามเกณฑท์ ี่กาหนด 8.2.3 การชกั ตวั อยา่ งและการยอมรับ สาหรับการทดสอบสมบตั ิทางกล 8.2.3.1 ใหส้ ุ่มตวั อยา่ งที่ผา่ นการทดสอบตามขอ้ 8.2.2.1 แลว้ มา 3 เส้น ใหเ้ ตรียมชิ้นทดสอบ 1 ชิ้น จากตวั อยา่ งแต่ละเส้น 8.2.3.2 ผลการทดสอบของชิ้นทดสอบชิ้นท่ี 1 ตอ้ งเป็ นไปตามขอ้ 6.2 จึงจะถือวา่ เหล็กเพลาขาวรุ่นน้นั เป็นไปตามเกณฑท์ ่ีกาหนด ถา้ ผลการทดสอบไมเ่ ป็นไปตามขอ้ 6.2 ใหต้ ดั ชิ้นทดสอบอีก 2 ชิ้น จากตวั อยา่ งเส้นเดิมไปทดสอบซ้า ผลการทดสอบซ้าของชิ้นทดสอบท้งั 2 ชิ้น ตอ้ ง เป็นไปตามขอ้ 6.2 จึงจะถือวา่ เหลก็ เพลาขาวรุ่นน้นั เป็ นไปตามเกณฑท์ ่ีกาหนด 8.3 เกณฑต์ ดั สิน ตวั อยา่ งเหลก็ เพลาขาว ตอ้ งเป็นไปตามขอ้ 8.2.1.2 ขอ้ 8.2.2.2 และขอ้ 8.2.3.2 ทุกขอ้ จึงจะถือวา่ เหล็กเพลา ขาวรุ่นน้นั เป็ นไปตามมาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรมน้ี

วชิ า : วสั ดุช่างอตุ สาหกรรม หน่วยการเรียนท่ี 2 : โลหะ ใบเนือ้ หา 57/75 9. การทดสอบ 9.1 เส้นผา่ นศูนยก์ ลางและระยะระหวา่ งดา้ นคู่ขนาน 9.1.1 วธิ ีทดสอบ 9.1.1.1 เหล็กเพลาขาวแบบเส้นกลม ใชเ้ คร่ืองวดั ท่ีวดั ไดล้ ะเอียดถึง 0.01 มิลลิเมตร วดั เส้นผา่ นศนู ยก์ ลางโดยหมุนชิ้นตวั อยา่ งให้ รอบ แลว้ บนั ทึกคา่ สูงสุดและค่าสูงสุดของเส้นผา่ นศูนยก์ ลาง ทาเช่นน้ี 3 ตาแหน่ง ใหแ้ ต่ละ ตาแหน่งห่างกนั ไม่นอ้ ยกวา่ 30 เซนติเมตร 9.1.1.2 เหล็กเพลาขาวแบบเส้นหกเหลี่ยม ใหใ้ ชเ้ คร่ืองวดั ท่ีวดั ไดล้ ะเอียดถึง 0.01 มิลลิเมตร วดั ระยะระหวา่ งดา้ นคูข่ นานท้งั 3 คู่ ทาเช่นน้ี 3 ตาแหน่ง ตัวอย่างเปรียบเทยี บเหลก็ ระหว่างมาตรฐาน DIN JIS และ AISI พร้อมส่วนผสมทางเคมแี ละอณุ หภูมชิ ุบแขง็

วชิ า : วสั ดุช่างอตุ สาหกรรม ใบเนือ้ หา 58/75 หน่วยการเรียนที่ 2 : โลหะ ประเภทเหล็กกลา้ มาตรฐาน ส่วนผสมทางเคมี (%) อุณหภูมิชุบ แขง็ เหลก็ กลา้ รอบสูง DIN JIS AISI C Si Mn Cr Mo Ni V W Co (High Speed Steels) (C) 1.3207 SKH 57 - 1.3 - - 4.0 3.5 - 3.2 9.5 10 เหลก็ กลา้ เคร่ืองมืองานร้อน 1.3243 SKH 55 M 35 0.9 - - 4.0 5 - 1.8 6.5 4.8 1190-1250 (Hot Work Tool Steels) 1190-1240 1.3247 SKH 59 M 42 1.1 - - 4.0 9.5 - 1.2 1.5 8.0 1170-1210 เหลก็ กลา้ เครื่องมืองานเยน็ (Cold Work Tool Steels) 1.3343 SKH 51 M 2 0.9 - - 4.0 5.0 - 1.8 6.4 - 1180-1240 เหลก็ กลา้ ไร้สนิม 1.2343 SKD 6 H 11 0.4 1.0 - 5.0 1.2 - 0.4 - - 1000-1060 (Stainless Steels) 1.2344 SKD 61 H 13 0.4 1.0 - 5.0 1.3 - 1.0 - - 1000-1060 1.2365 SKD 7 H 10 0.3 - - 3.0 2.8 - 0.5 - - 1020-1050 เหลก็ กลา้ อะไหล่ 1.2581 SKD 5 H 21 0.3 - - 2.6 - - 0.3 8.5 - 1100-1150 (Machinery Steels) 1.2714 SKD 4 L 6 0.55 - - 1.1 0.5 1.6 0.1 - - 830-900 830-860 1.2067 SUJ 2 L 3 1.0 - - 1.5 - - - - - 950-970 1.2080 SKD 1 D 3 2.1 - - 12 - - - - - 930-970 1.2363 SKD 12 A 2 1.0 - - 5.0 1.0 - 0.2 - - 1000-1080 1.2379 SKD 11 D 2 1.55 - - 12 0.7 - 1.0 - - 950-980 1.2436 - D 6 2.1 - - 12 - - - 0.7 - 780-820 1.2510 SKS 3 O 1 1.0 - 1.0 0.6 - - 0.1 0.6 - 870-900 790-820 1.2550 SKS 41 S 1 0.6 - - 1.0 - - 0.15 2 - 1020-1050 1000-1050 1.2842 - 02 0.9 - 2 0.4 - - 0.1 - - 1000-1050 1.2083 SUS 420J2 420 0.4 - - 13 - --- - 1010-1060 820-860 1.4112 SUS 440B 440B 0.9 - - 18 1.1 - 0.1 - - 830-860 1.4112 SUS 440C 440C 1.05 - - 17 0.6 - - - - 820-860 1.4140 SUS 440A 440A 0.7 - - 0.75 - - - - - 1.1191 S 45 C 1045 0.45 0.4 0.6 - - - - - - 1.6582 SNCM 439 4340 0.4 - - 1.2 0.3 1.5 - - - 1.7225 SCM 440 4140 0.4 - 0.8 1.0 0.25 - - - -

วชิ า : วสั ดุช่างอตุ สาหกรรม ใบเนือ้ หา 59/75 หน่วยการเรียนที่ 2 : โลหะ ประเภทเหล็กกลา้ มาตรฐาน ส่วนผสมทางเคมี (%) อุณหภูมิชุบ แขง็ เหลก็ กลา้ ชุบผวิ แขง็ DIN JIS AISI C Si Mn Cr Mo Ni V W Co แบบคาร์บุไรซ่ิง (C) 1.1141 S 15 C 1015 0.15 - - - - - - -- (Case Hardening Steels) 1.5920 SNC 415H 3115 0.18 - - 2.0 - 2.0 - -- 900-950 เหลก็ กลา้ คาร์บอนสูง 1.7131 SCM 415 5115 0.15 - 1.0 1.2 0.25 - - -- 930-830 (High Carbon Steels) 1.1625 SK 5 - 0.8 - - - - - - -- 930-830 เหลก็ กล้าคาร์โบโนไตรดงิ้ 1.1645 SK 3 W 1 1.05 - - - - - - -- 760-820 (Carbonitriding Steels) 760-820 JIS : SS400 (SS41) , SGD , SPHD , SPHD , SPCC , STKM , etc.

วชิ า : วสั ดุช่างอตุ สาหกรรม หน่วยการเรียนที่ 2 : โลหะ ใบเนือ้ หา 60/75 2.3 โลหะทไ่ี ม่ใช่เหลก็ ดงั ท่ีไดก้ ล่าวมาแลว้ นอกจากเหลก็ ซ่ึงเป็นวสั ดุช่างที่สาคญั ยงั มีโลหะที่มิใช่เหลก็ โลหะประเภทน้ี แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ โลหะหนกั และโลหะเบา โลหะหนกั หมายถึง โลหะท่ีมีความหนาแน่นมากกวา่ 4 กรัม/ซม3 ทองแดง (CU) คุณสมบตั ิ - ความหนาแน่น 8.93g/cm3 - จุดหลอมละลาย 1083°c - อ่อนเหนียว - ดึงและรีดได้ - นาไฟฟ้ าไดด้ ี - เช่ือมติดยาก แต่บดั กรีได้ - นาความร้อน - ทนตอ่ การสึกหรอ - ทนตอ่ การกดั กร่อน - ใชเ้ ป็นภาชนะบรรจุอาหารที่มีฤทธ์ิเป็นกรดไมไ่ ด้ - ทองแดงรีดไดบ้ างที่สุด 0.01 มม. ดึงไดเ้ ส้นผา่ นศูนยก์ าลาง 0.02 มม. กรรมวธิ ีถลุงทองแดง แร่ท่ีนามาถลุงเอาทองแดง คือ แร่ทองแดงไพไรต์ แร่ทองแดงออกไซด์ แร่ทองแดงซลั ไฟต์ แร่ ทองแดงดา และแร่ทองแดงคาร์บอเนต กรรมวธิ ีถลุงน้นั มี 2 กรรมวธิ ี กรรมวธิ ีแห้ง (Dry Process) นาแร่ทองแดงซลั ไฟต์ (Cu2 s) มาเผาควั่ กามะถนั ท่ีปนอยใู่ นแร่จะทาปฏิกิริยากบั ออกซิเจนกลายเป็น แก๊สซลั เฟอร์ไดออกไซด์ (So2) แร่ทองแดงซลั ไฟตม์ ีออกซิเจนเขา้ แทนที่กามะถนั กลายเป็นทองแดงออกไซด์ นาทองแดงออกไซดไ์ ปถลุงกบั แร่ทองแดงซลั ไฟตด์ ีกคร้ังหน่ึง กามะถนั ที่อยใู่ นแร่ทองแดงซลั ไฟตจ์ ะรวมตวั กบั ออกซิเจนที่ปนอยใู่ นแร่ทองแดงออกไซด์ กลายเป็นแก๊สซลั เฟอร์ไดออกไซดร์ ะเหยออกไป ไดเ้ น้ือทอง ออกมาดงั สมการ เผาคว่ั (Roasting) 2Cu2S + 302 2Cu2 O + 2So2 ถลุง (Semelting) 2Cu2O + Cu2S 6Cu + So2

วชิ า : วสั ดุช่างอตุ สาหกรรม ใบเนือ้ หา 61/75 หน่วยการเรียนที่ 2 : โลหะ รูปท่ี 2.30 เตาควั่ แร่ทองแดง กรรมวธิ ีเปี ยก (Fluid Process) นาแร่ทองแดงซลั ไฟตล์ ะลายกบั กรดกามะถนั หรือกรดเกลือ กรดเกลือน้ีจะกดั เน้ือทองแดงออกจากแร่ ประสมอยใู่ นกรดเกลือ นาสารละลายน้ีไปแยกทองแดงดว้ ยกระแสไฟฟ้ า ทองแดงจะเคลือบอยทู่ ี่แผน่ อิเล็กโตรดข้วั ลบ ทองแดงที่ไดม้ าจากกรรมวธิ ีแหง้ และวธิ ีเปี ยกน้ี นาไปใชง้ านยงั ไมไ่ ดเ้ พราะมีสารมลทินปน อยตู่ อ้ งนาไปแยกสารมลทินออกโดยวธิ ีทาใหท้ องแดงบริสุทธ์ิ กรรมวธิ ีทาทองแดงดบิ ให้เป็ นทองแดงบริสุทธ์ิ นาแผน่ ทองแดงดิบเป็นอิเล็กโทรดทาหนา้ ท่ีเป็นข้วั บวก แผน่ ทองแดงบริสุทธ์ิเป็นข้วั ลบจุม่ อยใู่ น สารละลายที่มีกรดกามะถนั กบั ทองแดงดิบละลายอยู่ เมื่อปล่อยกระแสไฟฟ้ าเขา้ ไป เกิดปฏิกิริยาทองแดง บริสุทธ์ิไปเคลือบท่ีข้วั ลบ สารมลทินปนอยใู่ นสารละลายทองแดงที่ไดน้ ้ีมีความบริสุทธ์ิ 99.99% เรียกวา่ อิเล็ก โตรไลติกคอปเปอร์ เป็นทองแดงท่ีนาไฟฟ้ าไดด้ ีท่ีสุด ใชท้ าวงจรพมิ พใ์ นเคร่ืองรับวทิ ยุ

วชิ า : วสั ดุช่างอตุ สาหกรรม ใบเนือ้ หา 62/75 หน่วยการเรียนที่ 2 : โลหะ รูปที่ 2.31 แสดงกรรมวธิ ีทาทองแดงดิบใหเ้ ป็นทองแดงบริสุทธ์ิ ประโยชน์ของแดง - ใชเ้ ป็นตวั นาไฟฟ้ า - ทาไส้หลอดไฟ - ทาโลหะหวั แร้งบดั กรี - เป็นโลหะประสมทาภาชนะ - ทาท่อในเคร่ืองเยน็ - ทาเคร่ืองนาอากาศเหลว - ในยโุ รปใชท้ าแผน่ หลงั คาบา้ น รูปที่ 2.32 ปลายหวั แร้งทาดว้ ยทองแดง สังกะสี (Zn)

วชิ า : วสั ดุช่างอตุ สาหกรรม หน่วยการเรียนที่ 2 : โลหะ ใบเนือ้ หา 63/75 คุณสมบัติ - ความหนาแน่น 7,149 g/cm3 - ไม่ทนต่อกรดและเกลือ - จุดหลอมละลาย 419.5°c - ขยายตวั เม่ือไดร้ ับความร้อน - เปราะหกั ง่าย - เหนียว - ทนต่อการกดั กร่อนไดม้ ากท่ีสุด - เมด็ เกรนโต - รีดและดึงได้ - ทนต่อบรรยากาศ กรรมวธิ ีถลุงสังกะสี แร่ท่ีนามาถลุงสังกะสี คือ แร่สังกะสีซลั ไฟต์ ทางโลหะวทิ ยาเรียกวา่ สปาร์เลอร์ไรดน์ ามาเผาควั่ กามะถนั ท่ีปนอยใู่ นแร่รวมตวั กบั ออกซิเจนในอาหาศกลายเป็นแกส๊ ซลั เฟอร์ไดออกไซดร์ ะเหยออกไป ออกซิเจนจะเขา้ แทนที่กามะถนั แร่สงั กะสีซลั ไฟตจ์ ะกลายเป็นสงั กะสีออกไซด์ (ZnO) นาแร่สงั กะสีออกไซด์ ไปถลุง โดยมีถ่านคาร์บอนเป็ นเช้ือเพลิงคาร์บอน (C) ที่อยใู่ นถ่านรวมตวั กบั ออกซิเจนท่ีอยใู่ นแร่กลายเป็น แกส๊ คาร์บอนไดออกไซคร์ ะเหยออกไป ก็จะไดส้ งั กะสีออกมาดงั สมการ 2Zns + 302 2ZnO + 2SO2 Zn + CO2 ZnOC รูปที่ 2.33 เตาควั่ แร่สังกะสี ประโยชน์ - ใชอ้ าบแผน่ เหลก็ เช่น สังกะสีมุงหลงั คาลวดหนาม ทอ่ ประปา กระป๋ อง

วชิ า : วสั ดุช่างอตุ สาหกรรม ใบเนือ้ หา 64/75 หน่วยการเรียนท่ี 2 : โลหะ - ใชเ้ ป็นข้วั ลบในแบตเตอรี่รถยนต์ - ทาปลอกถ่านไฟฉาย - ทาสี - ชิ้นงานหล่อใชท้ าคาร์บเู รเตอร์รถยนตโ์ ครงป๊ัมน้ามนั เช้ือเพลิง - มือจบั ประตู - ทาลูกกญุ แจ รูปท่ี 2.34 กระป๋ องอาบสงั กะสี ดบี ุก (Sn) ประเทศไทยมีดีบุกเป็นอนั ดบั สามของโลก อนั ดบั สองคือ มาเลเซีย และอนั ดบั หน่ึงคือ ประเทศโบลิเวยี คุณสมบัติ - ความหนาแน่น 7,289 g/cm3 - จุดหลอมละลาย 231.8°c - มีสีขาวคลา้ ยเงิน - ออ่ นรีดไดง้ ่าย - ทนต่อการกดั กร่อน - หกั จะมีเสียงดงั - มีจุดหลอมต่า - ไม่เป็นพษิ ต่อร่างกาย - อุณหภูมิต่ากวา่ 18°c จะสลายตวั เป็นเมด็ ป่ นสีเทา กรรมวธิ ีถลุงดีบุก

วชิ า : วสั ดุช่างอตุ สาหกรรม หน่วยการเรียนที่ 2 : โลหะ ใบเนือ้ หา 65/75 แร่ท่ีนามาถลุง คือ แร่ดีบุกออกไซด์ ทางโลหะวทิ ยาเรียกวา่ เคสซิเทอร์ไรดห์ รือทินสโตน นาแร่ดีบุก ออกไซดมาถลุงโดยใชค้ าร์บอน คาร์บอนจะดึงเอาออกซิเจนท่ีอยใู่ นแร่มารวมเป็ นแกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ ระเหยออกไป จะไดเ้ น้ือดีบุกดงั สมการ (Roasting) 2ZnS + 302 2ZnO + 2SO2 (Semelting) 2ZnO + C CO2 + 2Zn ประโยชน์ - ใชเ้ ป็นโลหะบดั กรี - ใชอ้ าบแผน่ เหล็ก (เหลก็ วลิ าศ) - เป็นโลหะยทุ ธปัจจยั - ทากระป๋ องบรรจุอาหาร - ใชท้ าแผน่ ฟอยด์ - เป็นโลหะประสม - ใชท้ าเคร่ืองประดบั - โลหะหล่อตวั พมิ พ์ ตะกวั่ (Pb) - มีความเหนียว - ทนกรด คุณสมบตั ิ - สารประกอบเป็นพษิ ต่อร่างกาย - ความหนาแน่น 11.349 g/cm3 - มีความแขง็ แรงต่า - จุดหลอมละลาย 327.4°C - จุดหลอมต่า - น่ิม อ่อน - เป็นตวั หล่อลื่นท่ีดี - ทนการกดั กร่อนไดด้ ี - ทาใหข้ ้ึนรูปง่าย กรรมวธิ ีถลุงตะกว่ั แร่ท่ีนามาถลุง คือ แร่ตะกวั่ ซลั ไฟต์ ทางโลหะวทิ ยาเรียกวา่ กาลีนา (Calena) หรือกาลีไนต์ (Calinte) นาแร่ตะกวั่ ซลั ไฟตเ์ ผาควั่ ออกซิเจนในอากาศจะดึงเอากามะถนั ท่ีอยใู่ นแร่รวมตวั เป็นแก๊สซลั เฟอร์ได ออกไซดร์ ะเหยออกไป แร่ตะกว่ั ก็จะกลายเป็นตะกว่ั ออกไซดน์ าไปถลุงต่อ คาร์บอนท่ีอยใู่ นถ่านดึงเอา ออกซิเจนในแร่รวมตวั กลายเป็นแก๊สคาร์บอนไดอ้ อกไซดร์ ะเหยออกไปที่เหลือจะเป็นเน้ือตะกวั่ ประโยชน์

วชิ า : วสั ดุช่างอตุ สาหกรรม ใบเนือ้ หา 66/75 หน่วยการเรียนท่ี 2 : โลหะ - ใชผ้ สมหมึกพิมพส์ ี - ทาโลหะประสม - ใชท้ าน้าหนกั ถ่วงความสมดุล - ใชท้ าแผน่ ฟอยด์ - ใชใ้ นงานอุตสาหกรรมทาสี เช่น สีขาว สีเสน - ทาแผน่ ตะกว่ั ในหมอ้ แบตเตอรี่ (ข้วั บวก) - ทาโลหะหุม้ สายเคเบิล โลหะเบร่ิง - ทาฉากป้ องกนั กมั มนั ตภาพรังสีตา่ ง ๆ - ใชบ้ ุตามผนงั ห้อง พ้นื หอ้ ง เพื่อเกบ็ เสียงและลดความสั่นสะเทือน - ตะกวั่ หลอมใชใ้ นการชุบแขง็ - ทาโลหะแบร่ิง - เกลือของตะกว่ั ใชเ้ ป็ นองคป์ ระกอบของการทาแกว้ เจียระไน - ทาเลนส์ รูปที่ 2.35 แบตเตอร่ีรถจกั รยานยนตเ์ ป็นธาตุทาดว้ ยตะกว่ั บริสุทธ์ิ นิกเกลิ (Ni) คุณสมบตั ิ

วชิ า : วสั ดุช่างอตุ สาหกรรม ใบเนือ้ หา 67/75 หน่วยการเรียนที่ 2 : โลหะ - ความหนาแน่น 8.85 g/cm3 - จุดหลอมละลาย 1452°C - มีสีขาวคลา้ ยเงิน - เหนียว - ขดั ข้ึนมนั ไดด้ ี - ทนต่อการกดั กร่อน - ถา้ ประสมกบั เหลก็ จะมีคุณสมบตั ิแม่เหลก็ ประโยชน์ - ทาวาลว์ ท่ีอยใู่ นต่าง - เป็นโลหะประสม - ใชท้ าเครื่องมือแพทย์ - ทาเคร่ืองมือเก่ียวกบั สารเคมี - ผสมกบั เหลก็ เป็นเหลก็ ไร้สนิม - ใชใ้ นงานชุบเคลือบผวิ ป้ องกนั สนิม - ชุบผวิ ทองเหลือง รูปที่ 2.36 ประแจเลื่อนชุบผวิ ดว้ ยนิกเกิล โครเมียม (Cr) คุณสมบตั ิ - ความหนาแน่น 7.1 g/cm3 - จุดหลอมละลาย 3370°C

วชิ า : วสั ดุช่างอตุ สาหกรรม หน่วยการเรียนท่ี 2 : โลหะ ใบเนือ้ หา 68/75 - มีสีขาวเหมือนเงิน - เหนียว - มีจุดหลอมสูง - ทนตอ่ การกดั กร่อน - นาความร้อนไดด้ ี - นาไฟฟ้ าไดด้ ี - แขง็ รูปท่ี 2.37 กรรไกรทาดว้ ยเหล็กไร้สนิม - เปราะ ประโยชน์ - ใชท้ าไส้หลอดไฟฟ้ า - ทาอุปกรณ์ทางอิเลก็ ทรอนิกส์ - ทาโลหะประสม เช่น พวกเหลก็ ไฮสปี ด - โลหะแขง็ เหลก็ เครื่องมือ - แผน่ ก้นั เปลวไฟ - กงั หนั แกส๊ - หนา้ คอนแทค รูปที่ 2.38 ไส้หลอดไฟทาดว้ ยวลุ แฟรม โมลบิ ดีนัม (Mo) คุณสมบตั ิ - ความหนาแน่น 10.29 g/cm3 - จุดหลอมละลาย 2600°C - มีความเคน้ แรงดึงสูง

วชิ า : วสั ดุช่างอตุ สาหกรรม ใบเนือ้ หา 69/75 หน่วยการเรียนท่ี 2 : โลหะ - ดดั งอโคง้ ได้ - มีสีขาวเหมือนเงิน - ทาเป็นแผน่ ได้ - มีความเหนียว ประโยชน์ - เป็นโลหะประสมเป็นโลหะแขง็ - ใชเ้ ป็นอิเลก็ โทรดในหลอดรังสีเอกซเรย์ - ใชเ้ ป็นสารหล่อลื่น รูปท่ี 2.39 น้ามนั เครื่องมีส่วนผสมของโมลิบดีนมั ซลั ไฟต์ วาเนเดยี ม (V) คุณสมบตั ิ - ความหนาแน่น 6.1 g/cm3 - จุดหลอมละลาย 1730 g - มีสีเทาคลา้ ยเหลก็ - แขง็ มาก - ทนกรด - ทนความร้อนไดส้ ูง - เตรียมจากสารประกอบของเหลก็ - มีความเคน้ แรงดึงสูง

วชิ า : วสั ดุช่างอตุ สาหกรรม ใบเนือ้ หา 70/75 หน่วยการเรียนที่ 2 : โลหะ รูปที่ 2.40 เคร่ืองมือทุกประเภทเป็ นโลหะประสมวาเนเดียม ประโยชน์ - เป็นโลหะประสมกบั เหลก็ ซ่ึงประสมลงไปเพียงนิดหน่อย กท็ าใหเ้ หล็กมีคุณสมบตั ิในดา้ นความ เหนียวและความเคน้ แรงดึงสูงมาก โคบอลต์ (Co) คุณสมบัติ - ความหนาแน่น 8.9 g/cm3 - จุดหลอมละลาย 1490°C - มีสีเงินเทา - มีความเหนียวมากกวา่ นิกเกิล บสิ มทั (Bi) คุณสมบัติ - ความหนาแน่น 9.8 g/cm3 - จุดหลอมละลาย 271°C - มีสีคอ่ นขา้ งแดง - เปราะ - แขง็ - ประสมในโลหะทาใหจ้ ุดหลอมเหลมต่าลง - มีจุดหลอมต่า ประโยชน์ - ทาฟิ วส์ไฟฟ้ า - ทาโคมสะทอ้ นแสงไฟ ปรอท (Hg) คุณสมบตั ิ - ความหนาแน่น 13,595 g/cm3 - มีสีขาว - เป็นของเหลวในอุณหภูมิปกติ - รวมตวั กบั โลหะอื่นไดเ้ กือบทุกชนิดยกเวน้ เหลก็ นิกเกิล วลุ แฟรม โมลิบดีนมั - มีการขยายตวั สูงมาก

วชิ า : วสั ดุช่างอตุ สาหกรรม หน่วยการเรียนท่ี 2 : โลหะ ใบเนือ้ หา 71/75 - ไอของปรอทมีพษิ ประโยชน์ - บรรจุในเทอร์โมมิเตอร์ - ทาสวติ ซ์ปรอท - ไอของปรอทบรรจุในหลอดไฟมีผลใหแ้ สงสีเขียวและอลั ตราไวโอเลตซ่ึงใชไ้ ดท้ ้งั ไฟส่องสวา่ ง และเป็นไฟวทิ ยาศาสตร์ฆา่ เช้ือโรค เงนิ (Ag) เป็นโลหะราคาแพง เรียกโลหะมีตระกลู หรือโลหะเศรษฐกิจ คุณสมบตั ิ - ความหนาแน่น 10.5 g/cm3 - จุดหลอมละลาย 960°C - มีสีขาว - นาไฟฟ้ าไดด้ ีท่ีสุด - ดีข้ึนรูปได้ - มีการขยายตวั เท่ากบั ทองเหลือง - เป็นมนั - มีราคาแพง - ใชเ้ ป็นโลหะชุบ ประโยชน์ - ใชเ้ ป็นเงินตรา - ใชท้ าเครื่องใชต้ า่ ง ๆ - ใชช้ ุบเงิน - ทาโลหะรูปพรรณ - เป็นมนั - มีราคาแพง - ใชเ้ ป็นโลหะชุบ - ประสมกบั โลหะอ่ืนทาเหรียญ - ใชท้ าหลอดในกลกั ฟิ วส์และหนา้ สัมผสั ในงานไฟฟ้ า - ใชท้ าเครื่องมือวดั ดว้ ยแสงท่ีตอ้ งการความเท่ียงตรงของสเกล เช่น กลอ้ งโทรทรรศน์ กลอ้ งเซ็ก เตนดซ์ ีโอโคไลด์

วชิ า : วสั ดุช่างอตุ สาหกรรม ใบเนือ้ หา 72/75 หน่วยการเรียนท่ี 2 : โลหะ ทองคา (Au) เป็นโลหะมีตระกลู เช่นเดียวกบั เงิน คุณสมบตั ิ - ความหนาแน่น 19.33 g/cm3 - จุดหลอมละลาย 1063°C - เป็นโลหะอ่อน - รีดง่าย - นาไฟฟ้ า - ทนต่อการกดั กร่อน - ทนต่อไฟ - ความบริสุทธ์ิของทองวดั เป็ นกะรัต ทองบริสุทธ์ิ คือ ทอง 24 กะรัต ประโยชน์ - ทาเครื่องประดบั - ทาฟัน - เป็นโลหะเศรษฐกิจ ทองคาขาว (Pt) เป็นโลหะมีตระกลู เช่นเดียวกบั เงิน คุณสมบตั ิ - ความหนาแน่น 21.45 g/cm3 - จุดหลอมละลาย 1773°C - ราคาแพง - เป็นโลหะท่ีหนกั ที่สุด - มนั วาว - สีขาวไมม่ ีสนิม - นาไฟฟ้ าไดด้ ี - เป็นโลหะท่ีไม่รวมตวั กบั ออกซิเจนในอากาศ - ดึงและรีดได้ - รีดไดบ้ างที่สุด 0.0025 มม. - ดึงเป็นเส้นมีเส้นผา่ นศูนยก์ ลาง 0.015 มม. - ทนต่อการกดั กร่อน

วชิ า : วสั ดุช่างอตุ สาหกรรม หน่วยการเรียนที่ 2 : โลหะ ใบเนือ้ หา 73/75 ประโยชน์ - ทาเครื่องประดบั - ทาเคร่ืองมือแพทย์ - ทาเบา้ หลอมท่ีตอ้ งทนอุณหภูมิสูงและทนต่อการกดั กร่อน - ในงานอุตสาหกรรมใชเ้ ป็นคู่สายเทอร์โมคปั เปิ ล ใชว้ ดั อุณหภมู ิไดส้ ูง 1,600°C โลหะเบา หมายถึง โลหะที่มีความหนาแน่นนอ้ ยกวา่ 4 กรัม/ซม3 อลมู เิ นียม (Aluminium) สัญลกั ษณ์ AI คุณสมบตั เิ ฉพาะของอลูมเิ นียม - ความหนาแน่น 2.7 กรัม/ซม3 - จุดหลอมเหลว 658 องศาเซลเซียศ - ความแคน้ แรงดึง 98 นิวตนั /มม2 (อลูมิเนียมหล่อ) 68 นิวตนั /มม2 (อลูมิเนียมมอบเหนียว) 166 นิวตนั /มม2 (อลูมิเนียมรีดแขง็ ) - อตั ราการยดื ตวั ประมาณ 3-35% - ความตา้ นทานจาเพาะ 0.0278 __  _.__มม ม อลูเนียมผลิตจากแร่ Boxite ซ่ึงมี AI2 O3 ประมาณ 55-60% แร่บอกไซทพ์ บมากในตอนใตข้ องฝร่ังเศส ยโู กสลาเวยี อินเดีย รัสเซีย และอเมริกา คุณสมบัติทวั่ ไป อลูมิเนียมออกไซด์ เป็นวสั ดุซ่ึงทนต่อการกดั กร่อนไดด้ ี น้าหนกั เบา เป็ นตวั นาความร้อนและไฟฟ้ าท่ีดี ใชใ้ นงานรีด หล่อ อดั ข้ึนรูป หรือผา่ นการตดั เฉือนไดง้ ่าย การถลงุ อลูมิเนียม (Production of Aluminium) ในการถลุงอลูมิเนียมจะทาเป็ น 2 ข้นั ตอน คือ 1. จากแร่ Boxite ทาใหเ้ ป็น AI2 O3 2. ทาการลดออกซิเจนจาก AI2 O3 เพือ่ ใหไ้ ดอ้ ลูมิเนียม

วชิ า : วสั ดุช่างอตุ สาหกรรม หน่วยการเรียนที่ 2 : โลหะ ใบเนือ้ หา 74/75 ถา้ ตอ้ งการอลูมิเนียม 1 ตนั จะตอ้ งใช้ AI2 O3 2 ตนั และตอ้ งใชแ้ ร่ Boxite จานวน 4 ตนั การถล อลูมิเนียมจะตอ้ งใชก้ ระแสไฟสูง ประโยชน์ของอลูมเิ นียม อลูมิเนียมไดถ้ ูกนามาเกี่ยวขอ้ งกบั ชีวติ ประจาวนั มากข้ึนเป็ นลาดบั เช่น เครื่องใชใ้ นการหุงตม้ สายไฟฟ้ า กรอบหรือโครงเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้ า ใชท้ าเฟอร์นิเจอร์ กระป๋ องอาหารสาเร็จรูปหลอดยาต่าง ๆ ใชภ้ ายใน เครื่องยนต์ เช่น ตวั เรือนเครื่องยนต์ ลูกสูบ และอื่น ๆ ในงานบางลกั ษณะ ที่ตอ้ งการความแขง็ แรงสูงแต่ ตอ้ งการน้าหนกั เบา สามารถทาไดโ้ ดยทาเป็ นอลูมิเนียมประสม (Aluminium Alloy) แมกนีเซียม (Magnesium) สัญลกั ษณ์ Mg คุณสมบัติเฉพาะของแมกนีเซียม - ความหนาแน่น 1.74 กรัม/ซม3 - จุดหลอมเหลว 650 องศาเซลเซียส - ความตา้ นทานจาเพาะ 0.44__  _.__มม2 โลหะแมกนีเซียม เป็นโลหะท่ีมีมากอยา่ งหน่ึงในโลก แร่แมกนีเซียมท่ีพบมากไดแ้ ก่ Magnesite และ แร่หินปูนโดโลไมต์ (Dolomite) Magnesite (MgCO3) มี Mg 27% Dolomite (CaCO3 . MgCO3) มี Mg 13% การถลุงแมกนีเซียม การถลุงแมกนีเซียม ทาเป็น 2 ข้นั ตอน คือ 1. ถลุงแร่แมกนีเซียม จะไดแ้ มกนีเซียมคอลไรด์ 2. นาแมกนีเซียมคลอไรด์ไปผา่ นการแยกดว้ ยไฟฟ้ า จะไดแ้ มกนีเซียม ประโยชน์ของแมกนีเซียมบริสุทธ์ิ ใชเ้ ป็นโลหะประสม ใหท้ าพลุเพลิง ใชไ้ ล่ออกซิเจนในการหลอมนิเกิล ใชใ้ ส่ลงในน้าเหล็กหล่อให้ เป็นเหล็กหล่อกราไฟตก์ อ้ นกลม แมกนีเซียมติดไฟไดแ้ ละใหเ้ ปลวสวา่ งใชท้ าแฟลชทไ์ ลทส์ าหรับถ่ายรูป ทา ดอกไมไ้ ฟ ทาพลุส่องสวา่ งในสนามและพลุสงคราม

วชิ า : วสั ดุช่างอตุ สาหกรรม ใบเนือ้ หา 75/75 หน่วยการเรียนท่ี 2 : โลหะ