การขับเคล่อื นปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูส่ ถานศกึ ษา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวทางการดาเนินชีวิตและวีถีปฏิบัติที่พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวทรงมีพระราชดารสั ชแี้ นะแก่พสกนิกรชาวไทยมานานกว่า 30 ปี ท่ีพระองค์ทรงเน้นย้าแนวทางการพฒั นา บนหลักแนวคิดพงึ่ ตนเองเพอ่ื ใหเ้ กิดความพอมพี อกนิ พอใช้ ของคนส่วนใหญ่โดยใช้หลักความพอประมาณ การคานึงถึงการมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันท่ีดีในตัว และทรงเตือนสติประชาชนคนไทยไม่ใหป้ ระมาท ตระหนักถงึ การพัฒนาอย่างเปน็ ขั้นเปน็ ตอนที่ถูกต้องตามหลกั วชิ า และการมคี ณุ ธรรมเปน็ กรอบในการปฏบิ ัติและการดารงชีวติ เนื่องจากการอาชีวศึกษาเป็นการจัดการศึกษาที่มุ่งเน้นการปฏิบัติเพ่ือสร้างทักษะอาชีพให้กับผู้เรียนการจัดการศึกษาจึงมุ่งเน้นที่การบูรณาการสู่การปฏิบัติเป็นจิตพิสัยในแต่ละรายวิชาท่ีมีการบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในส่วนของกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่ต่อยอดจากการเรียนรู้ในช้ันเรียนและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนควรมุ่งเน้นการจัดการท่ีสอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจพอเพยี ง คือ 1. พอประมาณกับศักยภาพของผู้เรียน พอประมาณกับภูมิสังคมของโรงเรียนและชุมชนที่ตั้งฝึกให้ผู้เรียนคิดเป็นทาเป็นอย่างมีเหตุผลและมีภูมิคุ้มกันในด้านต่าง ๆ โดยการดาเนินกิจการตอ้ งนาไปสูค่ วามยัง่ ยืนของผล 2. ส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้ความรู้ อย่างรอบคอบ ระมัดระวัง ฝึกการทางานร่วมกับผู้อื่นมีคณุ ธรรมมีความรบั ผดิ ชอบ ซอื่ สัตยส์ จุ ริต ไมเ่ อารดั เอาเปรยี บผูอ้ ่ืน อดทน มีความพากเพียร มีวินัยมสี มั มาคารวะรู้จักทาประโยชนใ์ หก้ บั สังคม รว่ มดแู ลรักษาสง่ิ แวดลอ้ มและสืบสานวฒั นธรรมไทย ตัวอย่างกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนท่ีบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมุ่งเน้นผลท่ีเกิดข้ึนอย่างสมดุลและย่ังยืนใน 4 มิติ ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อมและด้านวฒั นธรรม ไดแ้ ก่ 1. กิจกรรมเพอ่ื พฒั นาด้านเศรษฐกิจ 1.1 กจิ กรรมการออม 1.2 กิจกรรมการหารายได้ระหวา่ งเรียน 2. กิจกรรมเพื่อพัฒนาด้านสังคม 2.1 กิจกรรมจติ อาสาพัฒนาสงั คม 2.2 กิจกรรมอาชีวะบรกิ าร 3. กจิ กรรมเพื่อพัฒนาด้านสง่ิ แวดล้อม 3.1 กิจกรรมแปรรูปขยะเป็นทุน 3.2 กจิ กรรมอนุรกั ษส์ ิ่งแวดล้อม 4. กจิ กรรมเพอ่ื พัฒนาดา้ นวัฒนธรรม 4.1 กจิ กรรมชมรมรกั ษ์วัฒนธรรมทอ้ งถิน่ 4.2 กิจกรรมแหล่งเรยี นรู้วฒั นธรรมในสถานศกึ ษา
ยทุ ธศาสตร์การขับเคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสูส่ ถานศึกษา (พ.ศ. 2550 -2554)วตั ถุประสงค์ เพอ่ื ให้สถานศกึ ษานาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาประยกุ ต์ใชใ้ นการจัดการเรียนการสอนการจัดกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี นและการบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษา เพื่อใหเ้ กดิ ผลในทางปฏบิ ัติอย่างมีประสิทธิภาพและมปี ระสทิ ธผิ ล เกิดการปรับเปลย่ี นแนวคดิ ในการดาเนินชีวติ บนพื้นฐานของหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งอย่างต่อเนือ่ งวสิ ัยทศั น์ สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษามุ่งพัฒนาสถานศึกษาในการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ส่งผลสู่การดาเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงของผู้เรียน ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษาและผู้เก่ียวข้องอย่างต่อเน่อื งเปา้ หมาย ภายใน 2554 พัฒนาให้สถานศึกษาในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาสามารถนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใชใ้ นการการจดั กระบวนการเรียนการสอนและการบริหารจดั การท่ีเหมาะสมกบั บริบทของแตล่ ะสถานศึกษาได้ครบทุกแห่ง ยุทธศาสตร์และแนวทางการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาแนวทางการจดั การศกึ ษาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแนวทางการขับเคลอ่ื น 1.1 ศึกษา วิเคราะห์ วิจัยแนวทางการนาปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปจัดการศึกษา 1.2 จัดทาแนวทางการจัดการเรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การเรียนการสอนโดยสอดแทรกทงั้ ในการจัดการเรียนการสอนทุกรายวิชาและกิจกรรมพฒั นาผู้เรียนเพื่อให้เกิดการพัฒนาตามลาดับอย่างเปน็ ระบบเพ่ือให้เกิดการพัฒนาการเรียนรู้ระดับบุคคลและครอบครัว สามารถนาไปประยุกตใ์ ช้นาไปขยายผลสคู่ รอบครัวและชุมชนเพอ่ื ใหเ้ กิดประโยชน์ตอ่ สังคมและประเทศชาติ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 การพฒั นาบุคลากรแนวทางการขับเคลื่อน 2.1 อบรมสัมมนาผ้บู รหิ ารการศึกษาให้เกดิ ความรู้ ความเขา้ ใจในการนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใชใ้ นการบริหารจัดการได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ล 2.2 อบรมและพฒั นาผบู้ ริหารสถานศึกษา ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศกึ ษาให้สามารถนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปบรู ณาการส่กู ารบรหิ าร การจัดการและการเรียนการสอน
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 การขยายผลและการพัฒนาเครอื ขา่ ยแนวทางการขบั เคล่อื น 3.1 ให้สถานศึกษาท่ีเป็นแบบอย่างช่วยเหลือพัฒนาสถานศึกษาในอาชีวศึกษาจังหวัดท่ีเข้าร่วมโครงการอย่างน้อย 1 : 10 แห่ง ในการนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปบูรณาการสู่การบริหาร การจดั การและการเรยี นการสอน 3.2 จัดให้มีระบบการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และส่งเสริม สนับสนุน การประสานกรดาเนินงานของเครอื ขา่ ย 3.3 จดั ทาระบบข้อมลู สารสนเทศและเชอ่ื มโยงเครือข่ายกบั หนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวข้อง ยุทธศาสตร์ที่ 4 การเผยแพร่ประชาสมั พันธ์แนวทางการขับเคลอ่ื น 4.1 เผยแพร่การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการศึกษาโดยจัดทาส่ือรูปแบบต่าง ๆ ประชาสัมพันธ์เพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ท้ังในสถานศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษาและหนว่ ยงาน องคก์ รต่าง ๆ ที่สนใจ 4.2 เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ความก้าวหน้าของการจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพฒั นากระบวนการติดตามและประเมินผลแนวทางการขบั เคลอ่ื น 5.1 จดั ตั้งคณะกรรมการประเมนิ ผลในระดบั สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ระดับภาคหรือระดับจังหวัดและระดับสถานศึกษา โดยให้คณะกรรมการมีหน้าท่ีติดตาม ประเมินผลและรายงานผล 5.2 กาหนดรปู แบบ แนวทาง เคร่อื งมอื และคมู่ อื ในการตดิ ตามและประเมินผล 5.3 ดาเนินการตดิ ตามประเมินผลและรายงานผล สังคมได้คาดหวังว่าสถานศึกษาจะเป็นแหล่งที่หล่อหลอมและสร้างผู้เรียนให้มีความดีความเก่งและมคี วามสุขท่ามกลางสงั คมซงึ่ กาลังประสบวิกฤตหลาย ๆ ด้านในปัจจุบัน ความคาดหวังดังกล่าวน้ันเป็นหน้าที่ของสถานศึกษาซึ่งต้องปฏิบัติอยู่แล้วประกอบกับได้ รับนโยบายท้ังจากกระทรวงศึกษาธิการและสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาให้จัดการศึกษาโดยใช้“คุณธรรมนาความรู้” ซ่ึงเป็นส่วนหนึ่งของปรัชญาของเศรษฐกิจ อันประกอบด้วย 3 ห่วง(พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันท่ีดี) และ 2 เงื่อน (ความรู้ คุณธรรม) โดยมุ่งผลสมดุล ย่ังยืน 4มิติ (เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม) ดังน้ันสถานศกึ ษาท่ีน้อมนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นหลักการในการบรหิ ารจัดการและจัดการศึกษา
ให้กับผู้เรียนย่อมสามารถตอบสนองต่อความต้องการของสังคม ตอบสนองต่อนโยบายของหน่วยเหนือรวมท้ังสามารถผลิตผู้เรียนท่ีมีคุณลักษณะตรงตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 คือ ดี เก่ง และมีความสุขได้ และประการสาคัญท่ีสุดคือได้น้อมนาพระราชดาริปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมในสถานศึกษาซง่ึ เป็นการปฏิบตั ิเพอื่ สนองตอบต่อพระมหากรณุ าธิคณุ ในฐานะพสกนิกรผ้จู งรกั ภักดีลกั ษณะสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษาพอเพียง สถานศึกษาท่ดี าเนนิ การขับเคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงควรมีลักษณะ ดงั นี้ 1. ด้านการบรหิ ารจัดการ 1.1 มีการกาหนดนโยบายการจัดการศึกษาตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของสถานศกึ ษา 1.2 มีการจัดทาแผนปฏิบตั กิ ารขับเคล่อื นปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่สถานศกึ ษาทง้ั แผนระยะยาวและแผนระยะส้นั 1.3 มีการจัดตั้งคณะกรรมการรับผิดชอบดาเนินการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งของสถานศึกษา 1.4 มีการพัฒนาความรู้ความเข้าใจแก่บุคลากรท้ังผู้บริหาร ครู และคณะกรรมการสถานศึกษา และส่งเสริมใหป้ ฏิบัตติ นตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 1.5 มีการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแกผ่ ้เู กย่ี วขอ้ ง 1.6 มีคณะทางานตดิ ตามและประเมินผลเพือ่ ปรับปรงุ คุณภาพการขับเคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งของสถานศึกษา 1.7 การขับเคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของสถานศึกษาเน้นการมีส่วนร่วมตามหลักธรรมาภิบาล 1.8 มกี ารสรุปและรายงานผลเพ่อื กาหนดเปน็ มาตรฐานในการปฏิบัติ 2. ด้านหลกั สตู รและการจดั การเรยี นการสอน 2.1 สถานศกึ ษามีการพฒั นาหลกั สูตรบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2.2 มกี ารจดั ทาแผนการสอนบรู ณาการปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2.3 มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ นักเรียนมีส่วนร่วมในการจดั กจิ กรรม และมผี ลงานนักเรยี นท่ีเกดิ จากการเรยี นรู้ 2.4 มีการจัดหา ผลิต พัฒนา ส่ือ/แหล่งเรียนรู้ มาใช้ในการจัดการเรียนรู้และมีการเผยแพรส่ ่ชู มุ ชน 2.5 มีการวัดผลประเมินผลท่ีเกิดจากการจัดการเรียนรู้บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ครบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา และนาผลการประเมินมาปรับปรุงพัฒนาการขบั เคลอื่ นปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงใหม้ คี วามสมบูรณ์ยง่ิ ขึน้ 2.6 ผู้เรียนมีความรู้และเข้าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง น้อมนาสู่วิถีชีวิตและเผยแพรส่ ่คู รอบครัว ชมุ ชน องคก์ ร และหน่วยงาน
3. ด้านการจดั กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน 3.1 ดาเนนิ กิจกรรมโดยผ้เู รียนโดยมีครูเปน็ ผ้สู นับสนุน 3.2 เป็นกจิ กรรมทดี่ าเนนิ การดว้ ยความสมัครใจหรอื จิตอาสา 3.3 กจิ กรรมมีความหลากหลายและเหมาะสมกบั สภาพภมู ิสังคมของสถานศึกษา 3.4 เป็นกิจกรรมท่ีมุ่งเน้นให้เกิดความก้าวหน้าพร้อมกับความสมดุลทางเศรษฐกิจ/สังคมส่ิงแวดลอ้ มของสถานศึกษาและสามารถขยายผลสู่ชมุ ชนได้ โดย 3.4.1 พอประมาณกับภูมิสังคม สอดคล้องกับความต้องการ/ความจาเป็นของสถานศกึ ษาและคนในชมุ ชน เหมาะสมกับสภาพภมู ิประเทศ สภาพแวดลอ้ ม ความคิก ความเช่ือและวิถชี ีวิต 3.4.2 สมเหตสุ มผล คือมีหลกั คิดและหลักปฏิบตั ขิ องกจิ กรรมท่ีสอดคล้องกับหลกั วิชาการที่เกี่ยวขอ้ ง รายละเอยี ดของโครงการแสดงถึงความรอบคอบในการวางแผนการจดั กจิ กรรม 3.4.3 มีภูมิคุ้มกันท่ีดี โดยการวางแผนกิจกรรมได้คานึงถึงความเส่ียงในการดาเนนิ โครงการ โดยมขี อ้ เสนอทางเลอื ก หากมกี ารเปลี่ยนแปลงตา่ ง ๆ ท่เี กดิ ข้ึน 3.4.4 สง่ เสรมิ ความรแู้ ละคณุ ธรรมของผ้เู ข้าร่วม โดยตอ้ งส่งเสริมความรอบรู้เปิดโอกาสให้มีการพัฒนาทักษะด้านต่าง ๆ ส่งเสริมคุณธรรม เช่น ระเบียบวินัย สัมมาคารวะซื่อสัตย์สุจริต กตัญญูกตเวที ขยันหมั่นเพียร อดทน สนใจใฝ่รู้ และจิตสานึกในการทาคุณประโยชน์เพอ่ื ส่วนรวม 3.5 เป็นกิจกรรมที่หลายฝ่ายมีส่วนร่วม เช่น สถานศึกษา หน่วยงานของรัฐ สถานประกอบการและชมุ ชน 3.6 ผลสุดทา้ ยคือการปลกู ฝังใหผ้ ู้เรียนมีวธิ คี ดิ อุปนิสยั และพฤติกรมทสี่ อดคลอ้ งกับหลกั เศรษฐกิจพอเพียง 4. ด้านการพัฒนาบุคลากร 4,1 ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา 4.1.1 มคี วามร้คู วามเข้าใจเกีย่ วกับปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 4.1.2 นาหลักการ แนวคดิ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใช้ในการบริหารจดั การสถานศึกษา 4.1.3 ปฏิบัติตนตามหลักการ แนวคิด ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเปน็ แบบอยา่ งทดี่ ี 4.1.4 เผยแพร่หลกั การ แนวคดิ เกยี่ วกบั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4.2 ครู 4.2.1 มีความรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกบั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4.2.2 นาหลกั การ แนวคิด ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใช้ในการจัดการเรียนรู้และพฒั นาผู้เรียน 4.2.3 ปฏิบตั ติ นตามหลักการ แนวคิด ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเปน็ แบบอยา่ งท่ีดี 4.2.4 เผยแพรห่ ลกั การ แนวคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
4.3 บคุ ลากรทางการศึกษา 4.3.1 มคี วามรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกบั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 4.3.2 นาหลักการ แนวคิด ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการปฏิบัติหนา้ ที่ 4.3.3 ปฏิบัติตนตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเป็นแบบอยา่ งที่ดี 4.3.4 เผยแพรห่ ลักการ แนวคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 4.4 นกั เรียน 4.4.1 มีความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกับปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4.4.2 นาหลักการ แนวคิด ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการเรียนและการดาเนนิ ชวี ิต 4.4.3 เผยแพร่หลกั การ แนวคดิ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4.5 ผูป้ กครอง / กรรมการสถานศกึ ษา / ชมุ ชน 4.5.1 มีความรู้ ความเขา้ ใจเกีย่ วกบั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 4.5.2 ปฏิบัตติ นตามหลักการ แนวคิด ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 4.5.3 เผยแพรห่ ลักการ แนวคิด ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 4.5.4 ส่งเสริม สนับสนุน การดาเนินงานการขับเคล่ือน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสูส่ ถานศึกษา
แนวทางการพฒั นาสูส่ ถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษาพอเพียงการจดั การ สถานศึกษาประเมิน บุคลากร องคค์ วามรู้ ความพร้อมของตนเอง ทรัพยากร บุคลากร จุดแขง็ วเิ คราะห์โดยใช้ SWOT Analysis(Strengths) ภยั คุกคาม (Threats) จุดอ่อน โอกาส (Weaknesses) (Opportunitie s) กาหนดนโยบาย/จดั ทาแผนระยะยาว/ส้นัคณะอานวยการ แตง่ ต้งั คณะทางาน คณะประเมิน คณะทางาน คณะสนบั สนุน ดาเนินการขบั เคล่ือน ๔ ดา้ นดา้ นการบริหารจดั การ ดา้ นการพฒั นาบุคลากร ดา้ นหลกั สูตร/การสอน ดา้ นกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน
ผลและความคาดหวัง สถานศึกษาที่ดาเนินโครงการขับเคล่ือนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอย่างถูกต้อง เป็นระบบมปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผลควรมีผลเป็นที่ประจกั ษช์ ัดโดยเกดิ การเปล่ยี นแปลงในด้านต่อไปนี้ 1. ลกั ษณะของผบู้ ริหาร 1.1 มีความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนกั และประพฤติตนเป็นแบบอย่างการมวี ถิ ชี ีวติแบบพอเพียง เช่น ไมฟ่ ุ่มเฟือย ไม่ดม่ื สุรา ไม่สูบบุหร่ี ไม่หมกมุ่นอบายมขุ ฯ 1.2 ใช้คุณธรรมเป็นหลักในการบริหาร เช่น บริหารตามหลักธรรมาภิบาล 1.3 วางแผนและกากบั การปฏบิ ตั ติ ามแผนโดยอาศัยหลกั ๓ หว่ ง ๒ เงอ่ื นไข เพ่อื ผล ๔ มิติ 1.4 บริหารงานโดยเน้นการมสี ว่ นร่วม การสร้างความรู้ รัก สามัคคี 1.5 ประสานงานกบั ชมุ ชนและองค์กรตา่ ง ๆ ในการสรา้ งเครือข่ายการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการประชาสัมพันธ์ 2. ลักษณะของครู 2.1 มีความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักและประพฤติตนเป็นแบบอย่างการมีวิถีชวี ติ แบบพอเพียง เชน่ ไมฟ่ มุ่ เฟอื ย ไมด่ ื่มสรุ า ไมส่ ูบบหุ รี่ ไมห่ มกม่นุ อบายมขุ ฯ 2.2 ปรับปรุงหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนโดยบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในทุกรายวิชาที่รบั ผิดชอบ 2.3 จัดกิจกรมเสริมหลักสูตรและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามหลัก 3 ห่วง 2 เง่ือนไขเพื่อผล 4 มิติ 2.4 ปฏบิ ตั งิ านโดยเนน้ การมีสว่ นรว่ ม การสร้างความรู้ รัก สามัคคี 2.5 มีส่วนร่วมในการประสานงานกับชุมชนและองค์กรต่าง ๆ ในการสร้างเครือข่ายการขบั เคล่ือนปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการประชาสัมพันธ์ 3. ลักษณะของบุคลากรทางการศึกษา 3.1 มีความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักและประพฤติตนเป็นแบบอย่างการมีวิถีชีวิตแบบพอเพยี ง เช่น ไม่ฟุ่มเฟือย ไมด่ ม่ื สุรา ไมส่ บู บุหรี่ ไมห่ มกมุ่นอบายมุข ฯ 3.2 ปรับปรุงวิธีการปฏบิ ัติงานให้สอดคล้องกับหลัก 3 หว่ ง 2 เง่ือนไข เพื่อผล 4 มิติ 3.3 ปฏบิ ัติงานโดยเน้นการมีสว่ นรว่ ม การสร้างความรู้ รกั สามัคคี 3.4 มีส่วนร่วมในการประสานงานกับชุมชนและองค์กรต่าง ๆ ในการสร้างเครือข่ายการขบั เคลอื่ นปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการประชาสัมพันธ์ 4. ลกั ษณะของผ้เู รยี น 4.1 มีความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักและประพฤติตนเป็นแบบอย่างการมีวิถีชีวิตแบบพอเพยี ง เชน่ ไมฟ่ ุ่มเฟือย ไมด่ ืม่ สุรา ไม่สบู บุหร่ี ไมห่ มกมุ่นอบายมุข ฯ 4.2 ปรับปรงุ วธิ ีการเรียนและการทางานให้สอดคล้องกับหลัก 3 ห่วง 2 เง่อื นไข เพ่ือผล 4 มติ ิ 4.3 เรยี นรูแ้ ละทางานโดยเนน้ การมสี ่วนร่วม การสร้างความรู้ รัก สามัคคี 4.4 มีส่วนร่วมในการประสานงานกับชุมชนและองค์กรต่าง ๆ ในการสร้างเครอื ข่ายการขับเคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการประชาสัมพันธ์
5. ลักษณะของชมุ ชน 5.1 มีความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักและเปล่ียนพฤติกรรมตามแบบอย่างการมีวิถีชวี ติ พอเพียง เช่น ไม่ฟุ่มเฟือย ไมด่ ่มื สุรา ไม่สบู บุหร่ี ไม่หมกมุ่นอบายมุข ฯ 5.2 ใหก้ ารสนับสนุนและมีสว่ นรว่ มกับสถานศกึ ษาในการขับเคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 6. สภาพแวดลอ้ มของสถานศึกษา 6.1 มแี หลง่ การเรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 6.2 สภาพแวดล้อมมคี วามสะอาด รม่ ร่ืนและเอื้อตอ่ การเรียนรู้ 6.3 บุคลากรทุกฝ่ายมีสว่ นรว่ มในการรักษาดแู ลและปรับปรุงสภาพแวดล้อม 6.4 มีสถานท่ีให้บรกิ ารชุมชน
Search
Read the Text Version
- 1 - 9
Pages: