Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โรค-แมลงศัตรูข้าวและการป้องกันกำจัด

โรค-แมลงศัตรูข้าวและการป้องกันกำจัด

Description: โรค-แมลงศัตรูข้าวและการป้องกันกำจัด

Search

Read the Text Version

สารบัญ หนา้ หนา้ หน้า โรคกาบใบเน่า 1 โรคหดู 25 หนอนกระทู้กลา้ 47 โรคกาบใบแหง้ 3 โรคไหม้ 27 หนอนกอข้าว 49 โรคขอบใบแหง้ 5 ข้าววัชพชื 29 หนอนแมลงวนั เจาะยอดขา้ ว 51 โรคเขยี วเตยี้ 7 บ่วั 33 หนอนห่อใบข้าว 53 โรคดอกกระถนิ 9 เพลีย้ กระโดดสนี �ำ้ ตาล 35 หอยเชอรี่ 55 โรคถอดฝักดาบ 11 เพลี้ยจ่ักจ่นั ปีกลายหยกั 37 โรคใบขีดโปร่งแสง 13 เพลย้ี จักจน่ั สีเขียว 39 โรคใบขดี สีนำ้� ตาล 15 เพลีย้ ไฟ 41 โรคใบจดุ สีนำ้� ตาล 17 มวนเขียวขา้ ว 43 โรคใบสีส้ม 19 แมลงสิง 45 โรคใบหงกิ หรือโรคจู๋ 21 โรคเมลด็ ด่าง 23

โรคกาบใบเน่า โรคกาบใบเน่า 1โรค-แมลงศัตรูขา้ ว และการปอ้ งกนั ก�ำจัด เช้อื สาเหตุ กรมส่งเสริมการเกษตร เชื้อรา Sarocladium oryzae Sawada ลกั ษณะอาการ ข้าวแสดงอาการในระยะต้ังท้องโดยเกิดแผล สีน�้ำตาลด�ำบนกาบห่อรวง ขนาดแผลประมาณ 2-7 x 4-18 มิลลิเมตร ตรงกลางแผลมีกลุ่มเส้นใย สีขาวอมชมพู แผลน้ีจะขยายติดต่อกันท�ำให้บริเวณ กาบหุ้มรวงมีสีน้�ำตาลด�ำและรวงข้าวส่วนใหญ่โผล่ ไม่พ้นกาบหุ้มรวง หรือโผล่ได้บางส่วน ท�ำให้เมล็ดลีบ และมีสดี ำ�

การปอ้ งกันและก�ำจัด 1. ใช้พันธุ์ข้าวต้านทานที่เหมาะกับสภาพท้องที่ เช่น กข29 ส�ำหรับนาลุ่มน้�ำขัง ใช้พันธขุ์ ้าวที่ลำ� ตน้ สงู แตกกอน้อย  2. ใชส้ ารป้องกนั ก�ำจัดเชื้อรา เชน่ แมนเซท-ดี บาวีสตนิ เบนเลท อัตราตามคำ� แนะน�ำ ในฉลาก 3. ลดจ�ำนวน “ไรขาว” พาหะแพร่เชื้อในช่วงอากาศแห้งแล้งด้วยสารป้องกัน ก�ำจัดไร เช่น ไตรไทออน โอ-ไมท์ อตั ราตามค�ำแนะนำ� ในฉลาก 2โรค-แมลงศตั รขู า้ ว และการปอ้ งกนั กำ� จัด กรมส่งเสริมการเกษตร

โรคกาบใบแหง้ ภาพ : กรมการข้าว เช้ือสาเหต ุ ภาพ : กรมการขา้ ว โรคกาบใบแห้ง เชือ้ รา Rhizoctonia solani 3โรค-แมลงศตั รูข้าว และการป้องกนั ก�ำจัด ลักษณะอาการ กรมส่งเสรมิ การเกษตร พบในขา้ วระยะแตกกอถึงระยะใกล้เก็บเกยี่ ว ต้นข้าว ทแ่ี ตกกอมากเบยี ดแนน่ โรคนจี้ ะรนุ แรง ลกั ษณะแผลสเี ขยี ว ปนเทา ขอบแผลมีสีน้ําตาลไหม้ ขนาด1-4 x 2-10 มิลลิเมตร ปรากฏตามกาบใบใกล้ระดับน้�ำ แผลจะขยายใหญ่จน ลุกลามขยายขึ้นถึงใบข้าวเช้ือราอาศัยอยู่ได้นานในตอซัง วัชพืชในนา ดินนาและแหล่งน้�ำ สามารถมีชีวิตข้ามฤดู หมนุ เวยี นท�ำลายขา้ วไดต้ ลอดฤดกู ารทำ� นา

การป้องกันและกำ� จดั 1. ใช้พนั ธ์ุข้าวตา้ นทาน เช่น กข13 กข7 สุพรรณบรุ ี 60 เปน็ ตน้ 2. หลังเก็บเกี่ยวขา้ วควรเผาตอซังเพื่อท�ำลายเมลด็ ขยายพันธ์ุของเช้อื รา 3. ก�ำจัดวัชพืชตามคันนาและแหล่งน้ํา เพ่ือลดโอกาสการฟักตัวและเป็นแหล่งสะสม ของเชอ้ื สาเหตุโรค 4. ใช้ชีวภัณฑ์ บาซิลลัส ซับทิลิส (เชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์) อัตราตามค�ำแนะน�ำ ในฉลาก 5. ใช้สารป้องกันก�ำจัดเชื้อรา เช่น วาลิดามัยซิน โพรพิโคนาโซล เพนไชคูรอน อัตราตามค�ำแนะน�ำในฉลาก โดยพ่นบริเวณที่เริ่มพบโรคระบาด ไม่จ�ำเป็นต้องพ่น ทัง้ แปลงนา เพราะโรคกาบใบแห้งจะเกิดเป็นหย่อมๆ 4โรค-แมลงศตั รูข้าว และการปอ้ งกันก�ำจัด กรมส่งเสรมิ การเกษตร

โรคขอบใบแหง้ โรคขอบใบแห้ง 5โรค-แมลงศตั รูข้าว และการปอ้ งกันกำ� จดั เชือ้ สาเหตุ กรมสง่ เสรมิ การเกษตร เชอื้ แบคทีเรยี Xanthomonas oryzae pv. oryzae ลกั ษณะอาการ โรคน้ีเป็นได้ตั้งแต่ระยะกล้าถึงออกรวง ต้นกล้า จะมีจุดเล็กๆ ลักษณะช้�ำท่ีขอบใบของใบล่าง ต่อมา ประมาณ 7 - 10 วัน จุดช�้ำนี้จะขยายกลายเป็นทาง สีเหลืองยาวตามใบ ใบท่ีเป็นโรคจะแห้งเร็ว และสีเขียว จะจางลงเป็นสีเทาๆ ระยะปักด�ำใบท่ีเป็นโรคขอบใบ มีรอยขีดช้�ำ ต่อมาจะเปล่ียนเป็นสีเหลือง ที่แผลมี

หยดน�้ำสีครีมกลมๆ ขนาดเล็ก ต่อมาจะกลายเป็นสีน�้ำตาลและหลุดไปตามน้�ำหรือฝน แผลขยายตามความยาวของใบและตามความกว้างของใบ ขอบแผลหยัก แผลน้ีเมื่อนานไป จะเปลี่ยนเป็นสีเทา ใบที่เป็นโรคขอบใบจะแห้งและม้วนตามความยาว ต้นข้าวเหี่ยวเฉา และแห้งตายทั้งตน้ โดยรวดเร็ว เรียกอาการของโรคนว้ี ่า “ครีเสก” (kresek) การปอ้ งกันและกำ� จัด 1. ใช้พันธุ์ข้าวที่ต้านทาน เช่น พันธุ์สุพรรณบุรี 60 สุพรรณบุรี 90 สุพรรณบุรี 1 สพุ รรณบรุ ี 2 กข7 และ กข23 2. เม่ือเร่ิมพบอาการของโรคบนใบข้าว ให้ใช้สารป้องกันก�ำจัดโรคพืช เช่น ไอโซโพรไทโอเลน คอปเปอร์ไฮดรอกไซด์ เสตร็พโตมัยซินซัลเฟต+ออกซีเตทตรา ไซคลินไฮโดรคลอรไ์ รด์ ไตรเบซิคคอปเปอรซ์ ัลเฟต อตั ราตามค�ำแนะนำ� ในฉลาก 6โรค-แมลงศตั รูข้าว และการปอ้ งกนั ก�ำจัด กรมสง่ เสริมการเกษตร

โรคเขยี วเตยี้ ภาพ : กรมการขา้ ว โรคเขียวเตย้ี เชอ้ื สาเหตุ 7โรค-แมลงศตั รูข้าว และการป้องกันกำ� จดั เชอ้ื ไวรสั Rice Grassy Stunt Virus (RGSV) กรมส่งเสรมิ การเกษตร ลกั ษณะอาการ ต้นข้าวเป็นโรคได้ท้ังระยะกล้า แตกกอ ต้ังท้อง ต้นเตี้ยแคระแกร็น เป็นพุ่มแจ้แตกกอมาก ใบแคบ มีสีเหลืองใบมีจุดประสีเหลืองอ่อนจนถึงน้ําตาลอ่อน ใบมีสีเหลืองอมเขียวจนถึงเหลืองอ่อน  ต้นข้าว ท่ีเป็นโรคมักจะไม่ออกรวงหรือรวงลีบ พบโรคนี้เกิด ร่วมกับโรคใบหงิก โดยมีเพลี้ยกระโดดสีนํ้าตาลเป็น แมลงพาหะ

การป้องกันและกำ� จดั 1. ไถกลบหรือเผาตอซงั เพ่ือทำ� ลายแหล่งอาศัยและขยายพนั ธุข์ องแมลงพาหะ 2. ใช้ข้าวพันธุ์ต้านทานต่อแมลงพาหะที่ทางราชการแนะน�ำ เช่น สุพรรณบุรี 90 สพุ รรณบรุ ี 2 สพุ รรณบรุ ี 3 พิษณโุ ลก 2 กข29 กข31 และ กข41 3. ใชส้ ารก�ำจดั แมลงพาหะ เช่น บูโพรเฟซิน ก�ำจัดตัวออ่ นของเพลย้ี กระโดดสีน้�ำตาล 4. ไมใ่ ช้สารกลุ่มไพรที รอยด์สงั เคราะห์ เช่น ไซเพอร์มิทรนิ ไซฮาโลทรนิ เดลต้ามทิ รนิ 5. ถ้าปฏิบตั ิไดเ้ ม่อื มโี รคระบาดรนุ แรงควรเวน้ การปลูกขา้ วไม่น้อยกว่า 1 – 2 ฤดปู ลกู เพ่อื ตดั วงจรชีวิตแมลงพาหะนำ� โรค 8โรค-แมลงศัตรขู า้ ว และการปอ้ งกันกำ� จดั กรมส่งเสรมิ การเกษตร

โรคดอกกระถนิ เมลคด็ ลขา้้ายวมดอีอากกการระบถวินมโต โรคดอกกระถิน เชอ้ื สาเหตุ 9โรค-แมลงศัตรขู ้าว และการป้องกันกำ� จัด เชือ้ รา Ustilaginoidea virens กรมสง่ เสริมการเกษตร ลกั ษณะอาการ เป็นในระยะต้ังท้องถึงระยะออกรวง เช้ือรา เข้าท�ำลายเมล็ดข้าวโดยสร้างกลุ่มเส้นใยและสปอร์ ปกคลุมเมล็ดข้าว ท�ำให้เมล็ดข้าวมีอาการบวมโต คล้ายดอกกระถิน กลุ่มเส้นใยและสปอร์จะพัฒนา ผนึกแน่นเป็นชั้นๆ เริ่มต้นจะมีสีเหลือง ต่อมาจะ เปล่ียนเป็นสีส้ม และจะเปล่ียนเป็นสีเขียวเข้ม ซ่ึงจะมี

ฝุ่นละอองของสปอร์เช้ือรา ปกติจะเกิดเพียง 2 - 3 เมล็ด ใน 1 รวง ในกรณีรุนแรงอาจพบมากกว่า 100 เมล็ด ตอ่ รวง การป้องกนั และก�ำจดั 1. หลีกเลี่ยงการปลูกข้าวในช่วงที่ให้รวงตอนท่ีมี ฝนตกชกุ หรอื ความช้นื สูง 2. คลุกเมล็ดพันธุ์ด้วยสารป้องกันก�ำจัดโรคพืช ก่อนปลกู 3. ใช้สารป้องกันก�ำจัดโรคพืชพ่นก่อนข้าวออกรวง 2 - 3 วนั ตามคำ� แนะนำ� ทางวิชาการ ลกั ษณะอาการ 10โรค-แมลงศตั รขู า้ ว และการป้องกันก�ำจัด กรมส่งเสรมิ การเกษตร

โรคถอดฝกั ดาบ โรคถอดฝักดาบ 11โรค-แมลงศตั รขู ้าว และการป้องกันก�ำจัด เชอื้ สาเหตุ กรมสง่ เสรมิ การเกษตร เชื้อรา Fusarium fujikuroi Nirenberg ลกั ษณะอาการ ต้นกล้าจะแห้งตายหลังจากปลูกได้ไม่ก่ีวัน แต่มัก พบกบั ขา้ วอายุเกิน 15 วัน ข้าวที่เปน็ โรคจะผอมสงู เด่น กว่ากล้าข้าวโดยท่ัวไป ต้นข้าวผอมซีดมักย่างปล้อง และมีรากเกิดข้ึนที่ข้อต่อของล�ำต้นส่วนที่ย่างปล้อง บางกรณีข้าวจะไม่ย่างปล้อง แต่รากจะเน่าซ้�ำ เวลา ถอนกล้ามักจะขาดตรงบริเวณโคนต้น ถ้าเป็นรุนแรง กลา้ ขา้ วจะตาย ถา้ หากไมร่ นุ แรง อาการจะแสดงหลังจาก

ย้ายไปปักด�ำได้ 15 - 45 วัน โดยต้นเป็นโรคจะสูงกว่าต้นข้าวปกติ ใบมีสีเขียวซีด เกิด รากแขนงที่ข้อล�ำต้นตรงระดับน้�ำ บางครั้งพบกลุ่มเส้นใยสีขาว หรือสีชมพูตรงบริเวณข้อ ท่ีย่างปล้องขึน้ มา ขา้ วจะตาย และมนี ้อยมากทีอ่ ยรู่ อดจนถึงออกรวง การป้องกันและก�ำจดั 1. หลีกเลี่ยงการนำ� เมลด็ พนั ธจ์ุ ากแหลง่ ที่เคยเปน็ โรคระบาดมาปลกู 2. ควรกำ� จดั ตน้ ข้าวท่ีเปน็ โรคโดยการถอนและเผาท้ิง 3. คลุกเมลด็ พันธขุ์ า้ วด้วยสารป้องกันก�ำจดั เช้อื รา เช่น แมนโคเซบ หรอื คารเ์ บนดาซมิ +แมนโคเซบ อัตรา 3 กรมั ต่อเมล็ด 1 กโิ ลกรัม หรอื แชเ่ มล็ดข้าวเปลือกกอ่ นหุ้มขา้ ว ให้งอกก่อนปลูก ด้วยสารละลายของสารป้องกันก�ำจัดเช้ือราดังกล่าวในอัตรา 30 กรัม ตอ่ น้�ำ 20 ลิตร หรอื แช่เมล็ดขา้ วในสารละลายโซเดียมคลอโรไฮโปคลอไรท์ (คลอร็อกซ)์ ความเข้มข้น 5 เปอร์เซน็ ตห์ รือ คลอรอ็ กซต์ ่อน�้ำ อตั รา 1 : 9 ส่วน 4. เมอ่ื เกย่ี วขา้ วแลว้ ควรไขนำ�้ เขา้ นาและไถพรวน ปลอ่ ยนำ้� เขา้ นาประมาณ 1 - 2 สปั ดาห์ เพอื่ ลดปริมาณเชือ้ ราสาเหตุโรคที่ตกค้างในดนิ 12โรค-แมลงศัตรขู า้ ว และการป้องกนั กำ� จดั กรมส่งเสริมการเกษตร

โรคใบขดี โปรง่ แสง โรคใบขดี โปรง่ แสง 13โรค-แมลงศตั รขู ้าว และการปอ้ งกนั กำ� จัด เช้อื สาเหต ุ กรมส่งเสริมการเกษตร เชอื้ แบคทีเรยี Xanthomonas oryzae pv. oryzicola ลักษณะอาการ อาการปรากฏท่ีใบ เป็นขีดช้ํายาวไปตามเส้นใบต่อมา ค่อยๆ เปล่ียนเป็นสีเหลืองหรือส้ม และขยายเป็นแผลใหญ่ แสงทะลุผ่านได้ ความยาวของแผลข้ึนอยู่กับความต้านทาน ของพนั ธขุ์ า้ ว และความรนุ แรงของเชอื้ แตล่ ะท้องที่ ต้นขา้ ว ท่ีเป็นโรคน้ี มักถูกหนอนกระทู้ หนอนม้วนใบ และแมลง ด�ำหนามเข้าท�ำลายซ�้ำเติม ในสภาพที่มีฝนตก ลมพัดแรง จะช่วยให้โรคแพรร่ ะบาดอย่างกวา้ งขวางและรวดเรว็

การปอ้ งกนั และกำ� จดั 1. ในทีด่ ินอุดมสมบูรณ์ ไมค่ วรใส่ปุ๋ยไนโตรเจนมาก 2. ไม่ควรปลูกข้าวหนาแน่นเกนิ ไป และอยา่ ให้ระดบั นํ้าในนาสงู เกินควร 3. ใช้สารป้องกันก�ำจัดโรคพืช เมื่อเริ่มพบอาการ เช่น สเตร็พโตมัยซิน + ออกซีเตทตราไธคลิน แบคบิเคียว หรือไตรเบซิคคอปเปอร์ซัลเฟต หากพบ ระบาดกว้างขวาง ควรใช้สารคอปเปอรไ์ ฮดรอกไซด์ หรอื ไอโซโปรไธโอเลนในระยะ ท่ีเหมาะสม อัตราตามค�ำแนะน�ำในฉลาก 14โรค-แมลงศตั รูขา้ ว และการป้องกันก�ำจัด กรมส่งเสรมิ การเกษตร

โรคใบขีดสีนำ้� ตาล โรคใบขีดสนี ำ�้ ตาล 15โรค-แมลงศัตรขู ้าว และการปอ้ งกนั กำ� จัด เชื้อสาเหตุ กรมส่งเสริมการเกษตร เช้ือรา Cercospora oryzae I. Miyake ลกั ษณะอาการ ลักษณะแผลที่ใบข้าวมีเป็นขีดๆ สีนำ้� ตาลขนานไป กับเส้นใบข้าว มักพบในระยะข้าวแตกกอ แผลไม่กว้าง ตรงกลางเล็กและไม่มีรอยชำ�้ ที่แผล ต่อมาแผลจะขยาย มาติดกัน แผลจะมีมากตามใบล่างและปลายใบ ใบที่ เป็นโรคจะแห้งตายจากปลายใบก่อน ต้นข้าวที่เป็นโรค รุนแรงจะมีแผลสีน�้ำตาลที่ข้อต่อใบได้เช่นกัน เช้ือน้ี สามารถเข้าท�ำลายคอรวง ทำ� ให้คอรวงเนา่ และหักพบั ได้

การปอ้ งกนั และกำ� จัด 1. ใช้พันธุ์ต้านทานท่ีเหมาะสมเฉพาะท้องที่ เช่น ภาคใต้ใช้พันธุ์แก่นจันทร์ ดอกพะยอม 2. ใชป้ ยุ๋ โปแตสเซียมคลอไรด์ (0-0-60) อตั รา 5 - 10 กิโลกรมั ต่อไร่ สามารถชว่ ยลด ความรนุ แรงของโรคได้ 3. กรณีที่เกิดการระบาดของโรครุนแรงในระยะข้าวต้ังท้อง อาจใช้สารป้องกันกำ� จัดเชื้อรา เชน่ คารเ์ บนดาซิม อัตราตามค�ำแนะน�ำในฉลาก 16โรค-แมลงศตั รขู า้ ว และการป้องกนั ก�ำจัด กรมสง่ เสรมิ การเกษตร

โรคใบจุดสีน�้ำตาล โรคใบจดุ สีนำ้� ตาล 17โรค-แมลงศตั รูขา้ ว และการป้องกันกำ� จัด เช้ือสาเหตุ กรมสง่ เสริมการเกษตร เช้อื รา Bipolaris oryzae ลักษณะอาการ แ ผ ล ที่ ใ บ ข ้ า ว   พ บ ม า ก ใ น ร ะ ย ะ แ ต ก ก อ แผลมีลักษณะเป็นจุดสีน้�ำตาล รูปกลมหรือรูปไข่ ขอบนอกสุดของแผลมีสีเหลือง ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5-1 มิลลิเมตร แผลท่ีมีการพัฒนาเต็มท่ีขนาดประมาณ 1-2 x 4-10 มิลลิเมตร บางครั้งพบแผลไม่เป็นวงกลม หรือรูปไข่ แต่จะเป็นรอยเปื้อนคล้ายสนิมกระจัดกระจาย ทว่ั ไปบนใบข้าว

แผลบนเมล็ดข้าวเปลือก (โรคเมล็ดด่าง) บางแผลมีขนาดเล็ก บางแผลอาจใหญ่ คลุมเมล็ดข้าวเปลือก ท�ำให้เมล็ดข้าวเปลือกสกปรก เสื่อมคุณภาพ เมื่อน�ำไปสีข้าวสาร จะหักง่าย การป้องกันและก�ำจัด 1. คลุกเมล็ดพันธุ์ก่อนปลูกด้วยสารป้องกันก�ำจัดเชื้อรา เช่น แมนโคเซบ หรือ คาร์เบนดาซมิ +แมนโคเซบ อตั รา 3 กรัมตอ่ เมลด็ 1 กโิ ลกรมั 2. ก�ำจัดวัชพืชในนา ดแู ลแปลงใหส้ ะอาด และใสป่ ุย๋ ในอตั ราท่เี หมาะสม 18โรค-แมลงศตั รขู ้าว และการปอ้ งกันก�ำจดั กรมส่งเสริมการเกษตร

โรคใบสสี ้ม โรคใบสสี ม้ 19โรค-แมลงศัตรขู า้ ว และการปอ้ งกันกำ� จัด เชอื้ สาเหตุ กรมสง่ เสริมการเกษตร เชอื้ ไวรัส Rice Tungro Bacilliform Virus (RTBV) หรือ เชื้อไวรสั Rice Tungro Spherical Virus (RTSV) ลกั ษณะอาการ เป็นได้ทั้งระยะกล้า แตกกอ ต้ังท้อง หากข้าว ได้รับเช้ือในระยะกล้าถึงระยะแตกกอ ข้าวจะเสียหาย มากกว่าได้รับเช้ือในระยะตั้งท้องถึงระยะออกรวง ข้าวเริ่มแสดงอาการหลังจากได้รับเช้ือ 15 - 20 วัน อาการเร่ิมต้นใบข้าวจะเร่ิมมีสีเหลืองสลับเขียว ต่อมา

จะเปลี่ยนเป็นสีเหลือง เริ่มจากปลายใบเข้าหาโคนใบ ถ้าเป็นรุนแรงในระยะกล้าต้นข้าว อาจถึงตาย ต้นที่เป็นโรคจะเต้ียแคระแกร็น ช่วงล�ำต้นสั้นกว่าปกติมาก ใบใหม่ท่ีโผล่ ออกมามีต�ำแหน่งต�่ำกว่าข้อต่อใบล่าสุด ถ้าเป็นรุนแรงอาจตายท้ังกอ ถ้าไม่ตายจะออกรวง ล่าช้ากว่าปกติ ให้รวงเล็ก หรอื ไม่ออกรวงเลย การป้องกนั และกำ� จดั 1. ใชพ้ นั ธุ์ขา้ วต้านทานแมลงเพลีย้ จกั จั่นสเี ขยี ว เช่น กข1 กข3 2. ก�ำจดั วชั พืช และพชื อาศยั ของเชอ้ื ไวรสั และแมลงพาหะน�ำโรค 3. พน่ สารกำ� จดั แมลงในระยะที่เปน็ ตัวออ่ น เชน่ ไดโนทฟี เู รน หรอื บโู พรเฟซนิ หรอื อีโทเฟนพรอกซ์ 20โรค-แมลงศตั รขู ้าว และการป้องกนั กำ� จดั กรมสง่ เสริมการเกษตร

โรคใบหงิกหรือโรคจู๋ เชอื้ สาเหตุ ภาพ : กรมการขา้ ว โรคใบหงิกหรือโรคจู๋ เช้อื ไวรัส Rice Ragged Stunt Virus (RRSV) 21โรค-แมลงศัตรูข้าว และการป้องกนั ก�ำจัด เพลย้ี กระโดดสนี ํา้ ตาลเป็นพาหะ พบมากในนาชลประทานเขตภาคกลาง กรมส่งเสรมิ การเกษตร ลักษณะอาการ ตน้ ข้าวมีลกั ษณะต้นเตี้ย ไมพ่ ่งุ สงู เทา่ ท่คี วร ใบสีเขียวเข้ม แคบและสั้น ใบใหม่จะแตกช้ากว่าปกติไม่สมบูรณ์ ปลายใบบดิ เปน็ เกลยี ว เปน็ ลกั ษณะเดน่ ทเี่ รยี กวา่ “โรคใบหงกิ ” สังเกตเห็นขอบใบแหว่งและเส้นใบบวมโป่ง เป็นแนวยาว ท้ังที่ใบและกาบใบออกรวงช้า และไม่สมบูรณ์ เมล็ดลีบ ไม่สมบูรณ์หรือเมล็ดด่างเสียคณุ ภาพ

การปอ้ งกันและกำ� จดั 1. ไถกลบและเผาท�ำลายตอซังในนาข้าวที่เป็นโรค เพื่อท�ำลายแหล่งพืชอาศัย ดูแล กำ� จัดวชั พืชในนาสมํ่าเสมอ 2. ใชพ้ ันธขุ์ ้าวท่ตี ้านทาน เชน่ สุพรรณบรุ ี 90 สุพรรณบรุ ี 2 สพุ รรณบรุ ี 3 พิษณุโลก 2 กข29 กข31 และ กข41 ซ่ึงมีคุณสมบัติต้านทานการดูดกินของเพลี้ยกระโดด สนี า้ํ ตาลไดด้ ี 3. ใช้สารก�ำจัดแมลงพาหะ (เพล้ียกระโดดสีน�้ำตาล) เช่น ไดโนทีฟูแรน บูโพรเฟซิน พ่นก�ำจัดตัวอ่อน และสารไทอะมีโทแซม ก�ำจัดตัวเต็มวัย ตามค�ำแนะน�ำทาง วิชาการ 4. เมื่อโรคระบาดรนุ แรง ควรงดปลกู ขา้ ว 1 – 2 ฤดูปลูก เพ่อื ตดั วงจรชีวิตแมลงพาหะ 22โรค-แมลงศัตรูขา้ ว และการปอ้ งกนั ก�ำจัด กรมสง่ เสรมิ การเกษตร

โรคเมลด็ ด่าง โรคเมล็ดด่าง ลักษณะอาการ เช้อื สาเหตุ 23โรค-แมลงศัตรูขา้ ว และการป้องกนั กำ� จัด เชอื้ รา Cercospora oryzae กรมส่งเสริมการเกษตร ลกั ษณะอาการ รวงไหมท้ังรวง แต่ไม่เกิดแผลท่ีคอรวงและคอรวง ไม่หัก เมล็ดลีบเป็นบางส่วน บนเมล็ดเต็มส่วนใหญ่จะ มีแผลเป็นจุดสีนํ้าตาล-ด�ำ บางส่วนก็มีลายสีน้�ำตาล และบางพวกมีสีเทา หรือสีปนชมพู เช้ือรามักจะเข้า ท�ำลายในช่วงที่ดอกข้าวผสมแล้ว อยู่ในช่วงเป็นนํ้านม และก�ำลังจะสุก ระยะใกล้เก็บเกี่ยวอาการเมล็ดด่าง จะปรากฏเด่นชัดข้ึน โรคน้ีสามารถแพร่กระจายไป กบั ลม และติดไปกับเมลด็

การป้องกันและกำ� จัด 1. หลีกเลยี่ งพนั ธข์ุ า้ วท่ีออ่ นแอต่อโรคนี้ เชน่ สพุ รรณบรุ ี 60 สุพรรณบรุ ี 90 และ กข9 2. ใช้เมล็ดพนั ธจ์ุ ากแปลงทไี่ ม่เป็นโรค 3. คลุกเมล็ดพันธุ์ด้วยสารป้องกันก�ำจัดเชื้อรา เช่น คาร์เบนดาซิม แมนโคเซบ ในอตั รา 3 กรัมต่อเมลด็ พันธ์ุ 1 กิโลกรมั 4. ในระยะที่ข้าวก�ำลังจะให้รวง หรือให้รวงเป็นเมล็ดแล้ว ถ้ามีฝนตกชุก ควรวางมาตรการป้องกัน โดยใช้สารป้องกันก�ำจัดโรคพืช เช่น โพรพิโคนาโซล + ไดฟีโนโคนาโซล หรือ โพรพิโคนาโซล + โพคลอราซ หรือ คาร์เบนดาซิม + อพี อ็ กซี่โคนาโซล พ่นอัตราตามค�ำแนะน�ำในฉลาก 24โรค-แมลงศตั รูข้าว และการปอ้ งกันก�ำจัด กรมส่งเสรมิ การเกษตร

โรคหูด โรคหดู 25โรค-แมลงศตั รูขา้ ว และการป้องกันกำ� จัด เช้อื สาเหตุ กรมสง่ เสริมการเกษตร เช้อื ไวรัส Rice Gall Dwarf Virus (RGDV) ลักษณะอาการ ต้นข้าวเป็นโรคได้ ตั้งแต่ระยะกล้า จนถึงระยะ ต้ังท้อง อาการของโรคคล้ายคลึงโรคใบหงิกมาก คือ ข้าวต้นเต้ีย แคระแกร็น ใบสีเขียวเข้มและส้ันกว่าปกติ นอกจากนี้ที่บริเวณหลังและกาบใบปรากฏปมขนาดเล็ก สีเขียวซีดหรือขาวใส ลักษณะคล้ายเม็ดหูด ซ่ึงเป็น เส้นใบที่บวมปูดออกมา จะปรากฏเด่นชดั และมีจำ� นวน เม็ดหูดเพ่ิมมากขึ้นเมื่อต้นข้าวแสดงอาการรุนแรง ตน้ ขา้ วท่ีเป็นโรคจะแตกกอนอ้ ย ใหร้ วงไม่สมบรู ณ์

การปอ้ งกันและกำ� จัด 1. ใช้พันธุ์ข้าวต้านทานแมลงเพลี้ยจักจั่นปีกลายหยักและเพลี้ยจักจ่ันสีเขียว เชน่ กข1 กข3 2. ใช้สารก�ำจัดแมลงพาหะ ได้แก่ ใช้สารก�ำจัดแมลงในระยะท่ีแมลงเป็นตัวอ่อน เช่น ไดโนทีฟเู รน บโู พรเฟซิน หรืออีโทเฟนพรอกซ์ 26โรค-แมลงศตั รูขา้ ว และการปอ้ งกนั ก�ำจัด กรมส่งเสรมิ การเกษตร

โรคไหม้ อาการไหมท้ ่ใี บ ไหมร้ ะยะคอรวง เช้ือสาเหตุ 27โรค-แมลงศัตรูขา้ ว และการปอ้ งกันก�ำจัด เชือ้ รา pyricularia grisea Sacc. กรมสง่ เสรมิ การเกษตร ลักษณะอาการ ระยะกล้า ท่ีใบมีแผลจุดสีน้ําตาล คล้ายรูปตา มีสีเทาอยู่ตรงกลางแผล ถ้าระบาดรุนแรง กล้าข้าวจะ แห้ง และฟบุ ตาย อาการคลา้ ยถูกไฟไหม้ (blast) ระยะแตกกอ พบได้ท่ีใบ กาบใบ ข้อต่อของใบ และข้อต่อของล�ำต้น ใบจะมีแผลสีน้ําตาลด�ำ และ หลุดจากกาบใบ

ระยะคอรวง จะท�ำให้เมล็ดลีบ ในข้าวเร่ิมให้รวงแต่ถ้าเป็นโรคตอนรวงข้าวแก่ ใกลเ้ ก็บเกยี่ ว คอรวงจะปรากฏรอยแผลช�ำ้ สีน้�ำตาล ท�ำให้เปราะหกั รวงขา้ วร่วงหล่น การป้องกันและกำ� จดั 1. ใช้พันธุ์ต้านทานท่ีเหมาะสมแต่ละท้องท่ี ปัจจุบันพันธุ์ท่ีค่อนข้างต้านทาน ได้แก่ กข1 กข9 กข11 และ กข21 สุพรรณบุรี 60 สุพรรณบรุ ี 90 2. อย่าตกกล้าหนาแน่น แบ่งแปลงให้มีการระบายถ่ายเทอากาศดี และอย่าใส่ปุ๋ย ไนโตรเจนสงู เกนิ ไป 3. ใช้สารปอ้ งกันกำ� จดั โรคพชื เพอ่ื หยุดยัง้ การแพร่ระบาด 3.1 คลุกเมล็ดด้วยสารป้องกันก�ำจัดเช้ือรา เช่น คาซูกะมัยซัน คาร์เบนดาซิม โปรคลอลาส อตั ราตามคำ� แนะน�ำในฉลาก 3.2 ในแหล่งท่ีมีโรคระบาด ควรพ่นสารป้องกันกำ� จัดโรคพืชอัตราตามค�ำแนะน�ำ ในฉลาก เช่น คาซูกะมยั ซัน คาร์เบนดาซิม อีดิเฟนฟอส 28โรค-แมลงศัตรูขา้ ว และการป้องกนั ก�ำจัด กรมส่งเสริมการเกษตร

ข้าววัชพืช ภาพ : กรมการข้าว ข้าววัชพืช เป็นวัชพืชชนิดหน่ึงเกิดจากการผสมข้าม ภาพ : กรมการขา้ ว ระหว่างข้าวป่าธรรมชาติกับข้าวปลูก และมีการกระจายตัว ขา้ ววัชพืช ของลูกหลานออกเป็นหลายลักษณะเหมือนกับต้นข้าว 29โรค-แมลงศตั รูขา้ ว และการป้องกนั ก�ำจัด จนแยกไม่ออก ในระยะกล้าแต่ละท้องถ่ินมีช่ือเรียก แตกต่างกันไป เช่น ข้าวหาง ข้าวดีด ข้าวเด้ง ข้าวลาย กรมส่งเสรมิ การเกษตร ข้าวแดง ดาวกระจาย เปน็ ตน้ สาเหตสุ ำ� คัญของการแพรร่ ะบาด 1. การปลอมปนของเมล็ดข้าววัชพืชในเมล็ดพันธุ์ ข้าวปลูก 2. เมล็ดขา้ ววัชพชื ติดไปกบั รถเก่ยี วข้าว และอปุ กรณ์ ท่ีใช้เตรยี มดนิ

ลักษณะของข้าววัชพืชท่ีท�ำใหเ้ ป็นปญั หาร้ายแรง 1. ขา้ ววชั พชื มกี ารเจรญิ เติบโตรวดเรว็ มีความสามารถในการแข่งขนั ไดด้ กี ว่าขา้ วปลูก 2. ข้าววัชพชื บางชนิดออกดอกเรว็ กว่าขา้ วปลูกและเมลด็ ส่วนใหญร่ ว่ งก่อน 3. เมลด็ ขา้ ววชั พชื ทร่ี ว่ งสะสมอยใู่ นนามรี ะยะพกั ตวั ไมพ่ รอ้ มกนั ทง้ั หมด ท�ำใหย้ ากตอ่ การกำ� จดั 4. เมล็ดสว่ นใหญ่ร่วงก่อนเกบ็ เกี่ยว จึงไมถ่ ูกเกบ็ เกย่ี วไปพร้อมกบั ข้าวปลูก 5. เมลด็ ข้าววชั พืชท่ีมเี ย่ือหุ้มเมล็ดสีแดงปะปนไปกับผลผลติ ขา้ ว ท�ำให้ถกู ตัดราคา 30โรค-แมลงศัตรูขา้ ว และการปอ้ งกันก�ำจัด กรมส่งเสริมการเกษตร

แนวทางในการปอ้ งกนั ปญั หาข้าววัชพชื 1. การเลอื กใชเ้ มลด็ พันธมุ์ าตรฐานไมม่ ีข้าววชั พืชปลอมปน 2. หากมีการระบาดรุนแรงควรปลูกพชื หมุนเวียนชนิดอน่ื หรืองดปลูกขา้ ว 1 ฤดู 3. การตัดรวงขา้ ววัชพืช ควรเริม่ ทำ� ตง้ั แต่ระยะตั้งท้อง และระยะเรม่ิ ออกดอก 4. ทำ� ความสะอาดเครื่องจักรกลเกษตรก่อนการท�ำงานในแปลงทุกครง้ั 5. การใช้ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยชีวภาพ ท่ีไม่นำ� วัสดุจากนาข้าวมาผลิต หรือต้องม่ันใจว่า ไม่มขี า้ ววชั พืชปนมา 6. น้�ำชลประทานที่ผ่านท้องที่ที่มีการระบาดของข้าววัชพืช อาจมีมล็ดข้าววัชพืชลอยมา กบั นาํ้ ได้ การใชต้ าข่ายกน้ั ทางนา้ํ กจ็ ะปอ้ งกนั ขา้ ววัชพชื ได้ 7. การก�ำจัดข้าววัชพืช โดยใช้สารก�ำจัดวัชพชื ตามค�ำแนะน�ำทางวชิ าการ 31โรค-แมลงศัตรขู า้ ว และการปอ้ งกันกำ� จดั กรมสง่ เสรมิ การเกษตร

ความแตกตา่ งของ ขา้ วปลกู ขา้ วป่า และขา้ ววชั พืช ข้าวปลูก ขา้ วปา่ ขา้ ววัชพชื เมลด็ ยาว เมล็ดสน้ั ป้อม เมลด็ ส้นั ปอ้ ม – เมลด็ ยาว ไมม่ ีหาง หางยาวกว่า 10 เท่าของเมลด็ ออกรวงใกลเ้ คยี งกนั ออกรวงไม่พร้อมกัน ไมม่ หี าง – หางยาว สุกแกพ่ ร้อมกนั ทัง้ รวง สุกแกไ่ ม่พรอ้ มกันทงั้ รวง ออกรวงไมพ่ ร้อมกนั ข้าวเต็มเมลด็ > 95 % ขา้ วเตม็ เมลด็ 5-10 % สกุ แก่ไม่พรอ้ มหรือพรอ้ มกนั เมลด็ รว่ งยากปานกลาง เมลด็ รว่ งงา่ ย ขา้ วเต็มเมลด็ 50 - 95 % เมล็ดพักตวั เมล็ดพกั ตวั เมล็ดรว่ งง่าย – ร่วงยาก 6 – 8 สปั ดาห์ 3 เดือน – 10 สปั ดาห์ เมลด็ พกั ตวั ไมพ่ กั ตวั – 10 ปี 32โรค-แมลงศัตรขู า้ ว และการปอ้ งกันกำ� จดั กรมส่งเสริมการเกษตร

บวั่ ตัวเต็มวยั อาการขา้ วเป็นหลอด ชอ่ื วิทยาศาสตร์ 33โรค-แมลงศตั รขู ้าว และการป้องกันก�ำจัด Orseolia oryzae (Wood-Mason) กรมส่งเสรมิ การเกษตร รปู รา่ งลักษณะ เป็นแมลงท่ีมีขนาดใกล้เคียงกับยุง ยาวประมาณ 3 - 4 มิลลิเมตร ส่วนท้องมีสีส้ม หนวดและขามีสีด�ำ ตัวเมียวางไข่เปน็ ฟองเดยี่ วๆ หรือเปน็ กลมุ่ ในเวลากลางคืน ไข่ลักษณะคล้ายผลกล้วยหอม กว้าง 0.09 มิลลิเมตร ยาว 0.44 มิลลิเมตร มีสีชมพูอ่อน วางไข่ตามใบข้าวหรือ กาบใบ จากน้นั 3 - 4 วนั จะฟักออกเปน็ ตัวหนอน มอี ายุ ตลอดวงจรชีวติ 25 - 38 วัน ตวั เตม็ วยั 2 - 3 วนั ในหน่งึ ฤดปู ลูก สามารถขยายพันธ์ไุ ด 6 - 7 ช่วั อายุ

ลกั ษณะการท�ำลาย บ่ัว เข้าท�ำลายท่ียอดอ่อนของต้นข้าว และต้นข้าวจะสร้างหลอดหุ้มตัวแมลง และ เจริญออกมาเป็นหลอดคล้ายใบหอม แทนที่จะเจริญเป็นใบตามปกติ ต้นท่ีเป็นหลอด จะไม่ออกรวง เมื่อต้นข้าวถูกท�ำลาย ข้าวจะแตกกอมาทดแทน หากมีการระบาดมากข้าว จะแตกกอมากผดิ ปกติ คล้ายกอตะไคร้ ต้นจะเตี้ย ถา้ ระบาดรุนแรงข้าวอาจไมอ่ อกรวงเลย การป้องกนั และกำ� จัด 1. ใช้พันธ์ตุ ้านทาน เช่น กข4 กข9 หรอื เหมยนอง 62 เอ็ม 2. ไม่หว่านข้าวแนน่ หรอื ปักด�ำถี่ในพน้ื ท่ีที่มีการระบาด 3. ใช้แสงไฟดกั ล่อแมลงและท�ำลายทงิ้ ในระยะตน้ ฤดู 4. ท�ำลายพืชอาศัย เชน่ ขา้ วป่า หญา้ ไพร หญ้าปลอ้ งเขยี ว และหญา้ ปล้องหิน 34โรค-แมลงศัตรูขา้ ว และการป้องกนั ก�ำจัด กรมส่งเสริมการเกษตร

เพลี้ยกระโดดสีน�ำ้ ตาล ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ ตวั เต็มวยั ปกี ส้นั และปกี ยาว ตนวั ้ำ�อเ่อลนยี้ แงลบระตเิ ววัณเตโคม็ นวยัตด้นดูขา้ กวิน Nilaparvata lugens (Stal) 35โรค-แมลงศตั รูข้าว และการป้องกันก�ำจัด รูปร่างลักษณะ กรมส่งเสริมการเกษตร เป็นแมลงศัตรูข้าวพวกปากดูดวางไข่บริเวณเส้น กลางใบหรือกาบใบข้าวไข่มีสีขาวเป็นกลุ่มเรียงแถว ในแนวต้ังฉากกับกาบใบคล้ายหวีกล้วยตัวเมีย 1 ตัว วางไข่ได้ถงึ 100 - 300 ฟอง ตัวออ่ น มี 5 ระยะ อาศยั อยู่บริเวณโคนต้นข้าว ตัวเต็มวัยมีทั้งชนิดปีกยาวและ ชนดิ ปีกสน้ั

ลักษณะการทำ� ลาย ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยจะดูดกินน�้ำเล้ียงบริเวณโคนต้นข้าว ท�ำให้ต้นข้าวแสดงอาการใบเหลือง แห้งคล้ายถูกน้�ำร้อนลวกซ่ึงเรียกว่า “อาการไหม้เป็นหย่อม” ถ้ารุนแรงมากต้นข้าวจะแห้งตาย ท�ำลายข้าวทุกระยะและยังเปน็ พาหะนำ� เช้อื ไวรสั โรคใบหงกิ หรอื โรคจ๋มู าสู่ตน้ ขา้ วอีกดว้ ย การปอ้ งกันและก�ำจดั 1. ปลกู ข้าวพันธ์ทุ ีม่ ีความต้านทาน เช่น กข31 กข41 สพุ รรณบุรี 2 สุพรรณบรุ ี 3 2. ปลกู ขา้ วหลายๆพันธุแ์ ละไม่ปลูกข้าวพนั ธุ์เดียวตลอดในท้องท่ีเดยี วกัน 3. ใช้เมล็ดพนั ธุใ์ นอัตราท่แี นะนำ� 10 - 15 กโิ ลกรมั ตอ่ ไรแ่ ละลดการใชป้ ยุ๋ ยูเรยี 4. ในนาท่ีสามารถควบคุมน้�ำได้ถ้าพบการระบาดในระยะข้าวแตกกอเต็มที่แล้วให้ระบายน้ํา ออกจากนาให้หมด 5. หม่นั สำ� รวจตรวจนับเพล้ยี กระโดดสนี า้ํ ตาลตามโคนกอข้าวอย่างสม่ําเสมอ 6. ควรใชส้ ารก�ำจดั แมลงใหถ้ กู ตอ้ งตามค�ำแนะนำ� ทางวชิ าการและพน่ สารก�ำจดั แมลงในจดุ ที่ มีการระบาดเทา่ น้ัน 36โรค-แมลงศตั รูขา้ ว และการปอ้ งกันก�ำจดั กรมสง่ เสรมิ การเกษตร

เพล้ยี จักจ่ันปีกลายหยกั ช่อื วทิ ยาศาสตร์ ตวั เต็มวัย Recilia dorsalis (Motsuchulsky) รูปรา่ งลักษณะ ตัวเต็มวัยลักษณะคล้ายเพล้ียจักจ่ันสีเขียว แต่ขนาดเล็กกว่า มีสีขาว ปีกสองข้างมีลายหยัก สีน�้ำตาลเป็นทาง วางไข่บริเวณเส้นกลางใบ ประมาณ 100 - 200 ฟอง ตัวเต็มวัย 10 - 14 วัน วางไขเ่ ด่ียวๆ ระยะไข่ 4 - 5 วัน ตัวออ่ นสขี าว มี 5 ระยะ 37โรค-แมลงศตั รูขา้ ว และการปอ้ งกันก�ำจดั กรมสง่ เสรมิ การเกษตร

ลกั ษณะการทำ� ลาย ทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ําเลี้ยงจากใบและกาบใบข้าว ข้าวที่ถูกท�ำลาย ปลายใบจะแห้งและขอบใบเปล่ียนเป็นสีส้ม ต่อมาข้าวทั้งใบจะเป็นสีส้มและขอบใบ หงิกงอ นอกจากน้ียังเป็นพาหะน�ำโรคใบสีส้ม (yellow orange leaf virus) โรคใบสีส้ม (orange leaf microplasma) และโรคหูด (gall dwarf virus) มาสตู่ ้นขา้ ว พบแพร่กระจาย ในฤดูนาปีมากกวา่ นาปรัง การปอ้ งกนั และกำ� จัด 1. ใชพ้ ันธต์ุ า้ นทาน 2. ช่วงทพ่ี บแมลงมาก ควรติดหลอดแสงไฟล่อแมลงและท�ำลายเสยี 3. หมั่นตรวจดูแปลงนาอยา่ งสม่าํ เสมอ 4. ใช้สารกำ� จัดแมลง อัตราตามค�ำแนะน�ำในฉลาก ได้แก่ บูโพรเฟซิน ไอโซโพรคาร์บ คาร์โบซัลแฟน ไทอะมโี ทแซม ไดโนทีฟเู รน คลอไทอะนิดิน และอมิ ิดาโคลพริด 38โรค-แมลงศัตรขู า้ ว และการป้องกันก�ำจดั กรมส่งเสริมการเกษตร

เพลีย้ จกั จั่นสเี ขยี ว ตัวเตม็ วัย 39โรค-แมลงศัตรขู า้ ว และการปอ้ งกนั ก�ำจัด ช่อื วิทยาศาสตร์ กรมสง่ เสริมการเกษตร Nephotettix virescens (Distant) Nephotettix nigropictus (Stal) รปู รา่ งลักษณะ เป็นแมลงปากดูดตัวเล็กๆ สีเขียว ปลายปีกมีจุดสี ข้างละจดุ เพล้ยี จกั จน่ั สเี ขียวมี 2 ชนดิ มีความแตกต่างกัน คือ N.nigropictus มีขีดด�ำพาดโค้งตามความยาวท่ี ขอบหน้าผากระหว่างตาท้ัง 2 ข้าง ส่วน N.virescens ไมม่ ขี ดี ดำ� ดงั กลา่ ว วงจรชวี ติ ของแมลงทงั้ 2 ชนดิ ใกลเ้ คยี งกนั คือ จ�ำนวนไข่ต่อกลุ่มมีต้ังแต่ 8 – 16 ฟอง โดยเฉลี่ย

ไข่จะฟักเป็นตัวอ่อนประมาณ 1 สัปดาห์ ตัวอ่อนมี 5 ระยะ รวมเวลาที่เป็นตัวอ่อนประมาณ 2 สัปดาห์ ระยะทเ่ี ปน็ ตวั เตม็ วยั ประมาณ 10 วัน ลกั ษณะการท�ำลาย เพล้ียจักจ่ันสีเขียว ท�ำลายข้าวได้ 2 ทาง คือ ทางตรงและทางอ้อม การท�ำลายทางตรงคือ ดูดกินน�้ำเลี้ยงจากใบข้าว ซ่ึงถ้ามีปริมาณแมลงมาก สภาพแวดล้อมเหมาะสมและชาวนาปลูกพันธุ์ ไม่ต้านทาน ข้าวจะถูกท�ำลาย เห่ียวแห้งตายเกิดความเสียหายได้ การท�ำลายทางอ้อม คือ เปน็ พาหะน�ำโรคใบสีสม้ สู่ตน้ ข้าว ขา้ วทเ่ี ป็นโรคผลผลติ จะลดลงมาก การปอ้ งกันและกำ� จดั 1. ใชพ้ นั ธ์ตุ า้ นทาน 2. ช่วงที่พบแมลงมาก ควรตดิ หลอดแสงไฟลอ่ แมลงและทำ� ลายเสีย 3. หม่นั ตรวจดแู ปลงนาอย่างสมํา่ เสมอ 4. ใช้สารก�ำจัดแมลง อัตราตามค�ำแนะน�ำในฉลาก ได้แก่ บูโพรเฟซิน ไอโซโพรคาร์บ คาร์โบซัลแฟน ไทอะมีโทแซม ไดโนทฟี ูเรน คลอไทอะนดิ นิ และอมิ ิดาโคลพรดิ 40โรค-แมลงศัตรูขา้ ว และการป้องกนั ก�ำจัด กรมส่งเสรมิ การเกษตร

เพลีย้ ไฟ เพลีย้ ไฟ ลักษณะอาการ ชื่อวทิ ยาศาสตร์ 41โรค-แมลงศัตรขู ้าว และการปอ้ งกนั กำ� จัด Stenchaetothrips biformis (Bagnall) กรมสง่ เสรมิ การเกษตร รปู รา่ งลักษณะ เพลี้ยไฟเป็นแมลงจ�ำพวกปากดูดขนาดเล็ก ล�ำตัวยาว มีทั้งชนิดมีปีกและไม่มีปีก ตัวเต็มวัยมีสีด�ำ ตัวอ่อนมีสีเหลืองอ่อน ตัวเต็มวัยเพศเมียวางไข่เดี่ยวๆ สีครีมในเน้ือเย่ือของใบข้าว ไข่ฟักตัวเป็นตัวอ่อนท่ีมี สีเหลืองนวล จากน้ันตัวอ่อนจะเข้าดักแด้บนต้นข้าว ต้นเดิมที่ฟักออกจากไข่ ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยมีปาก แบบเขี่ยดดู ใชใ้ นการท�ำลายต้นขา้ ว

ลกั ษณะการท�ำลาย เพลี้ยไฟทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัยจะท�ำลายข้าวโดยการดูดกินน้�ำเลี้ยงจากใบข้าว ทยี่ งั ออ่ นโดยอาศยั อยตู่ ามซอกใบ ระบาดในระยะกลา้ เมอ่ื ใบขา้ วโตขนึ้ ใบทถ่ี กู ท�ำลายปลายใบ จะเห่ียวขอบใบจะม้วนเข้าหากลางใบและอาศัยอยู่ในใบท่ีม้วนนั้น พบท�ำลายข้าวในระยะ กล้าหรือหลังปักด�ำ 2 - 3 สัปดาห์ โดยเฉพาะในช่วงอากาศร้อนแห้งแล้งหรือฝนทิ้งช่วง นานติดต่อกันหรอื สภาพนาขา้ วที่ขาดน�้ำ ถา้ ระบาดมากๆ ทำ� ให้ต้นข้าวแหง้ ตายไดท้ ้งั แปลง การปอ้ งกนั และกำ� จดั 1. ดแู ลแปลงข้าวระยะกล้าหรือหลงั หว่าน 7 วนั อยา่ ใหข้ าดน�ำ้ 2. ไขนำ�้ ท่วมยอดข้าวทิ้งไว้ 1 - 2 วนั เมือ่ ตรวจพบเพล้ียไฟตวั เตม็ วัย 1 - 3 ตัวตอ่ ตน้ ในข้าวอายุ 6 - 7 วัน เม่อื ขา้ วอายุ 10 วนั หวา่ นปุ๋ยยเู รยี อตั รา 10 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ เพื่อเร่งการเจรญิ เตบิ โตของต้นข้าว 3. ใช้สารก�ำจัดแมลง เชน่ มาลาไธออน 83% อีซี อตั รา 20 มลิ ลลิ ติ รตอ่ นำ้� 20 ลิตร เซฟวนิ 85% ดบั บลวิ พี อตั รา 20 กรมั ต่อน้�ำ 20 ลิตร 42โรค-แมลงศตั รูขา้ ว และการป้องกนั กำ� จดั กรมสง่ เสรมิ การเกษตร

มวนเขยี วข้าว ตวั เตม็ วยั 43โรค-แมลงศัตรูข้าว และการป้องกนั ก�ำจัด ชื่อวทิ ยาศาสตร์ กรมส่งเสรมิ การเกษตร Nezara viridula (Linnaeus) รปู ร่างลักษณะ ตัวอ่อนมีรูปร่างคล้ายตัวเต็มวัยแตกต่างกันที่ขนาด สี และไม่มปี ีก ตวั ออ่ นทฟี่ ักออกจากไขใ่ หมๆ่ มีสีส้ม อยรู่ วมกนั เป็นกลุ่ม และกระจายออกไป หลังจากลอกคราบคร้ังท่ี 1 และ 2 สขี องตวั ออ่ นแตกต่างกนั ไปตามวัย มีจุดสขี าวกระจาย อยบู่ นหลงั ลอกคราบ 5 ครั้ง ตวั อ่อนวัยสดุ ทา้ ยมสี เี ขยี วเขม้ และมีส่วนปีกงอกออกมาจากส่วนอก ส่วนตัวเต็มวัย มีลักษณะคล้ายโล่ ล�ำตัวมีสีเขียว หนวดปล้องที่ 3 ถึง 5 มีสีน้าํ ตาลตรงโคนสเี ขยี ว

ลกั ษณะการท�ำลาย มวนเขียวข้าวทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัย ท�ำลายต้นข้าวในระยะออกรวง ด้วยการ ดูดกินน้ําเลี้ยงจากยอดอ่อน ใบอ่อน ดอก และเมล็ด ท�ำให้เมล็ดข้าวลีบ และร่วงหล่น ในท่ีสดุ การปอ้ งกนั และก�ำจดั 1. ตรวจดูแปลงสม่�ำเสมอ ถ้าพบกลุ่มไข่หรือมวนที่ฟักออกจากไข่ใหม่ๆ จะอยู่ เปน็ กลุ่ม ใหเ้ ก็บไปทำ� ลาย 2. เมือ่ พบการระบาดมาก ใช้สารก�ำจัดแมลง ตามค�ำแนะน�ำทางวชิ าการ 44โรค-แมลงศัตรูขา้ ว และการปอ้ งกนั ก�ำจดั กรมสง่ เสริมการเกษตร

แมลงสิง ตวั เตม็ วยั 45โรค-แมลงศตั รขู า้ ว และการปอ้ งกันกำ� จัด ชื่อวิทยาศาสตร์ กรมสง่ เสริมการเกษตร Leptocorisa oratorius (Fabricius) รูปรา่ งลักษณะ เป็นมวนชนิดหนึ่ง มีรูปร่างเพรียว ยาวประมาณ 15 มิลลิเมตร หนวดยาว ล�ำตัวด้านบนสีน้ําตาล ด้านล่าง สีเขียว เม่ือถูกรบกวนจะปล่อยกล่ินเหม็นออกจากต่อม ที่ส่วนท้อง ตัวเต็มวัยจะออกหากินช่วงบ่ายถึงคํ่า เพศเมีย วางไข่ได้หลายร้อยฟอง วางไข่เป็นกลุ่ม 10 - 12 ฟอง เรียงบนใบข้าวขนานกับเส้นกลางใบ ไข่มีสีน้�ำตาลแดงเข้ม รปู รา่ งคลา้ ยจาน ระยะไข่ 7 วัน ตัวออ่ นมสี เี ขยี วแกมนำ�้ ตาล อยู่รวมกนั เปน็ กลุม่

ลักษณะการทำ� ลาย ตัวอ่อนและตัวเต็มวัย ใช้ปากแทงดูดกินน้�ำเล้ียงจากเมล็ดข้าว ระยะเป็นน�้ำนม แต่ก็สามารถดูดกินเมล็ดข้าวท้ังเมล็ดอ่อนและเมล็ดแข็ง โดยตัวเต็มวัยจะท�ำความเสียหาย มากกว่า เพราะดูดกินเป็นเวลานานกว่า ท�ำให้เมล็ดลีบ หรือเมล็ดไม่สมบูรณ์และผลผลิต ข้าวลดลง ความเสียหายจากการท�ำลายของแมลงสิง ท�ำให้ข้าวเสียคุณภาพมากกว่าท�ำให้ น้าํ หนกั เมลด็ ลดลง การป้องกันและกำ� จัด 1. ก�ำจัดวชั พืชในนาข้าว คันนาและรอบๆ แปลง 2. ใช้สวงิ โฉบจับตัวออ่ นและตวั เต็มวัยมาท�ำลาย 3. ตวั เตม็ วัยชอบกินเน้อื เนา่ น�ำเนื้อเนา่ แขวนไวต้ ามนาข้าว และจับมาทำ� ลาย 4. หลกี เล่ียงการปลกู ขา้ วตดิ ต่อกันหลายฤดู เพื่อลดการแพรข่ ยายพนั ธุ์ 5. ใชส้ ารก�ำจดั แมลง คารโ์ บซัลแฟน พ่นในระยะขา้ วเป็นนา้ํ นม 46โรค-แมลงศตั รูขา้ ว และการป้องกันก�ำจดั กรมส่งเสรมิ การเกษตร

หนอนกระทกู้ ลา้ หนอนกระทู้กลา้ ตวั เตม็ วยั ชือ่ วิทยาศาสตร์ 47โรค-แมลงศัตรขู า้ ว และการปอ้ งกนั กำ� จัด Spodoptera mauritia (Boisduval) กรมสง่ เสริมการเกษตร รูปรา่ งลักษณะ หนอนกระทู้กล้ามีความยาวประมาณ 40 มิลลิเมตร ตัวหนอนมีสีเทาถึงเขียวแกมด�ำ มีลายตามความยาว ของลำ� ตัว ตัวเต็มวัยเป็นผีเส้อื กลางคนื มสี เี ทาปนนำ�้ ตาล วางไข่เป็นกลุ่ม บริเวณยอดอ่อนของข้าว ระยะไข่ 3 - 5 วัน อายุหนอนประมาณ 3 สัปดาห์ และระยะ ดกั แดป้ ระมาณ 10 วนั

ลกั ษณะการท�ำลาย ท�ำลายข้าวในระยะกล้าอย่างรวดเร็ว มีการเคลื่อนย้ายเป็นกลุ่ม หนอนระยะแรก กัดกินผิวใบ เมื่อตัวโตขึ้นกัดกินต้นกล้าในเวลากลางคืน เหลือไว้แต่ก้านใบโผล่อยู่เท่าน้ัน และจะกัดกินล�ำต้นกล้าระดับพ้ืนดิน ความเสียหายทั้งหมดอาจเกิดข้ึนภายใน 1 - 2 วัน เท่านน้ั การปอ้ งกนั และกำ� จดั 1. ควรถางหญา้ บรเิ วณคันนาของแปลงกลา้ ให้สะอาดอยเู่ สมอ 2. เมื่อเกิดหนอนระบาดในแปลงกล้า ให้ปล่อยน้ําเข้าแปลงกล้าจนท่วมยอดข้าวแล้ว เกบ็ หนอนมาท�ำลาย 3. เมอ่ื พบการทำ� ลายใหพ้ น่ ดว้ ยสารกำ� จดั แมลง เชน่ มาลาไทออน หรอื เฟนโิ ทรไทออน 48โรค-แมลงศตั รขู า้ ว และการป้องกันก�ำจัด กรมส่งเสริมการเกษตร