คูม่ อื ผรู้ บั บรกิ ารกจิ กรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ดา้ นสะเตม็ ศกึ ษาบรู ณาการวฒั นธรรมทอ้ งถนิ่ เร่ือง โดนทั 5 สี วิถสี ุขภาพ จัดทาโดย นางสาวกนกวรรณ จิปภิ พ
ฐานการเรยี นรู้ เรอ่ื ง โดนัท 5 สี วถิ ีสขุ ภาพ
แผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ เร่ือง โดนทั 5 สี วิถีสขุ ภาพ จานวน 3 ชวั่ โมง
แผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ เรอื่ ง โดนทั 5 สี วิถีสขุ ภาพ จานวน 3 ชั่วโมง แนวคิด ในปัจจบุ นั จะเห็นได้วา่ ในสงั คมไทยไดม้ ีการนาอาหารและขนมของชาวตะวันตกเข้ามาในประเทศไทย อยา่ งแพร่หลาย โดยเฉพาะขนมโดนัทจ๋วิ เปน็ หนงึ่ ในขนมทนี่ ิยมรับประทาน เนื่องจากขนมโดนัทจิ๋วมีเน้ือแป้งที่ นุ่ม ขนาดพอดคี า มีข้ันตอนการทาทงี่ า่ ย สามารถทารับประทานเองได้ และสามารถทาเปน็ อาชีพเสรมิ ได้ ในการทาขนมโดนทั จวิ๋ ทผี่ า่ นมาจะใช้วธิ กี ารทอดในนา้ มันซึง่ มผี ลเสียตอ่ สุขภาพ แต่เม่ือนาการบูรณาการความรู้ ใน 4 วิชาได้แก่ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ที่เรียกว่าสะเต็มศึกษามา ประยกุ ต์ใช้ โดยเนน้ การนาความรู้ไปใช้แกป้ ัญหาหรือใชป้ ระโยชน์ในชวี ิตจริง จะพบว่ามกี ารนาเทคโนโลยีมาใช้ คอื การทาขนมโดนัทจิว๋ ดว้ ยการอบและนาส่วนผสมจากสมุนไพรไทยในท้องถิ่น ได้แก่ ใบเตย อัญชัน ฟักทอง แตงโม ลกู เดอื ยมาช่วยเพ่ิมกลนิ่ สี รวมถึงสรรพคณุ ของสมนุ ไพรไทยท่ีมีในท้องถ่ินยังช่วยเพ่ิมคุณค่าให้กับขนม โดนัทจว๋ิ ท่ีสง่ ผลดตี อ่ สุขภาพ วัตถุประสงค์ 1. อธิบายการทาขนมโดนัทจว๋ิ โดยการบรู ณาการสะเต็มศกึ ษาและสมนุ ไพรไทยในทอ้ งถ่นิ 2. ออกแบบและทดลองทาขนมโดนทั จิว๋ โดยการบรู ณาการสะเต็มศกึ ษาและสมนุ ไพรไทยในท้องถน่ิ 3. เหน็ ความสาคัญของการทาขนมโดนัทจิว๋ โดยการบูรณาการสะเตม็ ศึกษาและสมนุ ไพรไทยในท้องถ่ิน เน้ือหา 1. การทาขนมโดนทั จิ๋วโดยการบรู ณาการสะเตม็ ศึกษาและสมนุ ไพรไทยในท้องถนิ่ 1.1 ความรูเ้ บ้อื งต้นเก่ียวกบั ขนมโดนทั จ๋วิ 1.1.1 ความเป็นมาของขนมโดนัทจวิ๋ 1.1.2 คุณคา่ ทางโภชนาของขนมโดนทั จ๋ิว 1.1.3 ลักษณะและคุณสมบัติของแปง้ ท่ีนามาใชท้ าขนมโดนัทจิ๋ว 1.1.4 การเกดิ กระบวนการอมิ ลั ซิไฟเออร์ 1.1.5 การเกดิ ปฏิกริ ยิ าของผงฟูหรอื เบกกง้ิ โซดา 1.1.6 สรรพคณุ ของสมนุ ไพร 5 สี 1.2 การทาขนมโดนัทจ๋วิ 1.2.1 วตั ถุดิบและส่วนผสมของการทาขนมโดนทั จวิ๋ 1.2.2 วัสดอุ ปุ กรณท์ ี่ใช้ในการทาขนมโดนัทจ๋วิ 1.2.3 ข้ันตอนการทาขนมโดนทั จิ๋ว
2. การออกแบบและทดลองทาขนมโดนัทจ๋ิวโดยการบูรณาการสะเต็มศึกษาและสมุนไพรไทยใน ทอ้ งถน่ิ 2.1 การออกแบบเชงิ วศิ วกรรมในการทดลองทาขนมโดนัทจวิ๋ โดยการบูรณาการสะเต็มศึกษา และสมุนไพรไทยในท้องถ่ิน 2.1.1 การระบุปญั หา 2.1.2 การค้นหาแนวคดิ ท่ีเกีย่ วขอ้ ง 2.1.3 การวางแผนและพฒั นา 2.1.4 การทดสอบและประเมนิ ผล 2.1.5 การนาเสนอผลลัพธ์ 2.2 การทดลองทาขนมโดนัทจิ๋วโดยการบูรณาการสะเต็มศึกษาและสมุนไพรไทยในท้องถ่ิน ตามการออกแบบเชงิ วิศวกรรม
ความเช่ือมโยงสะเต็มศกึ ษากบั การบูรณาการว S : Science T : Technology E : Engin เทคโนโลยี วิศวกรรม วทิ ยาศาสตร์ ประโยชนท์ ี่ได้รบั กระบวนการอ ความรู้ 1. ลักษณะและ 1. แป้งน่มุ ขนาดพอดคี า ผลิต คุณสมบตั ขิ องแปง้ 2. สี และกลิ่นแปลกใหม่ 2. การเกิดปฏกิ ริ ิยาของ 1. การระบุปัญห ผงฟูหรอื เบกกิ้งโซดา 3. มผี ลดตี อ่ สขุ ภาพ 2. การค้นหาแน 3. การเกิดกระบวนการ 4. คงคณุ ภาพตามหลกั เกี่ยวข้อง อิมัลซไิ ฟเออร์ 3. การวางแผนแ 4. สรรพคณุ ของ โภชนาการ 4. การทดสอบแ สมุนไพร 5 สี ประเมินผล 5. การนาเสนอผ แผนผังความเชื่อมโยงสะเต็มศกึ ษากบั การบรู ณาการวฒั
วัฒนธรรมทอ้ งถ่ินที่สอดคล้องกบั เนอื้ หา “โดนัท 5 สี วถิ ีสขุ ภาพ\" neering M : Mathematics C : Culture มศาสตร์ คณติ ศาสตร์ วฒั นธรรมท้องถนิ่ ออกแบบการ ความรู้ ตน้ กาเนิด 1. ภูมิปัญญาท้องถน่ิ หา 1. การชั่งปริมาณวัตถุดบิ ด้านสมุนไพร นวคิดท่ี ในการทาขนมโดนัทจ๋วิ เชน่ เนย เพื่อใชใ้ นการทาขนม และการพัฒนา 2. การตวงนา้ และการ นมข้นจืด และน้า สมุนไพร ผลลัพธ์ 3. รปู ทรงโดนทั 4. การคานวณหา ตน้ ทุน/กาไร ฒนธรรมทอ้ งถนิ่ ทีส่ อดคลอ้ งกบั เน้ือหา “โดนัท 5 สี วิถีสุขภาพ
ใบความรูส้ าหรับผรู้ ับบริการ เรอ่ื ง โดนัท 5 สี วิถสี ขุ ภาพ ในปจั จุบนั จะเห็นไดว้ า่ ในสังคมไทยไดม้ กี ารนาอาหารและขนมของชาวตะวันตกเข้ามาในประเทศไทย อยา่ งแพรห่ ลาย โดยเฉพาะขนมโดนัทจิว๋ เปน็ หน่ึงในขนมท่นี ยิ มรับประทาน เน่ืองจากขนมโดนัทจ๋ิวมีเนื้อแป้งที่ นุ่ม ขนาดพอดีคา มขี ้ันตอนการทาท่งี ่าย สามารถทารับประทานเองได้ และสามารถทาเป็นอาชีพเสริมได้ ในการทาขนมโดนทั จว๋ิ ท่ผี ่านมาจะใช้วธิ กี ารทอดในน้ามันซึง่ มผี ลเสยี ตอ่ สุขภาพ แตเ่ ม่ือนาการบรู ณาการความรู้ ใน 4 วิชาได้แก่ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ที่เรียกว่าสะเต็มศึกษามา ประยกุ ต์ใช้ โดยเนน้ การนาความรู้ไปใชแ้ กป้ ญั หาหรือใช้ประโยชน์ในชวี ิตจริง จะพบว่ามีการนาเทคโนโลยีมาใช้ คือ การทาขนมโดนทั จวิ๋ ดว้ ยการอบและนาส่วนผสมจากสมุนไพรไทยในท้องถิ่น ได้แก่ ใบเตย อัญชัน ฟักทอง แตงโม ลกู เดือยมาช่วยเพิ่มกล่นิ สี รวมถงึ สรรพคณุ ของสมุนไพรไทยท่ีมีในท้องถิ่นยังช่วยเพิ่มคุณค่าให้กับขนม โดนัทจิว๋ ที่ส่งผลดีต่อสขุ ภาพ 1.ความรเู้ บื้องตน้ เกีย่ วกับวิทยาศาตรใ์ นการทาขนมโดนัทจว๋ิ สมบัตขิ องแป้ง แป้งท่ีพบในธรรมชาติจะพบอยู่ในรปู เม็ดแป้งขนาด1-100 ไมครอน เม่ือตรวจดูลักษณะ ของเม็ดแป้ง ชนิดตา่ งๆ ด้วยกล้องจุลทรรศน์ธรรมดาและกล้องจุลทรรศน์อิเล็คตรอน (Scanning Electron Microscope; SEM) พบว่าเม็ดแปง้ จะมขี นาด รูปรา่ ง และลักษณะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับชนิด ของแปง้ นนั้ ๆ ลักษณะของเม็ดแปง้ เม็ดแป้งมันฝร่ังและแป้งพุทธรักษามีลักษณะเป็นรูปไข่ขนาดใหญ่ถือได้ว่ามีขนาดใหญ่ที่สุดเม่ือ เปรียบเทียบกับแป้งอ่ืนๆ เม็ดแป้งสาลี บาร์เลย์และข้าวไรน์มี 2 แบบคือ แบบ A มีรูปร่างแบบ lenticular ขนาด 10-30 ไมครอน และแบบ B รปู รา่ งกลม มขี นาดเล็กกวา่ 10 ไมครอน เมด็ แปง้ แบบ B มจี านวนมากกว่า คอื ประมาณ 95% ของจานวนเมด็ แป้งท้ังหมด แต่ถ้าเทียบเป็นน้าหนักแล้วจะคิดเป็น เพียง 20-30% เท่านั้น ส่วนเมด็ แป้งมนั สาปะหลังมีขนาดปานกลาง (20 ไมครอน) ขนาดใกล้เคียง กับเม็ดแป้งข้าวโพด ขนาด รูปร่าง และลักษณะของเมด็ แปง้ แต่ละชนิด เม็ดแป้งประกอบด้วยวงแหวน เรียกว่า growth ring ซึ่งสังเกตได้จากการส่องกล้องจุลทรรศน์หรือ scanning electron microscopy เม็ดแป้งท่ีเปียกและสดจะสังเกตเห็น growth ring ได้ง่าย เม็ดแป้งขนาด ใหญ่ เชน่ แปง้ มนั ฝรัง่ แปง้ ตน้ พทุ ธรักษาที่ผ่านการแช่น้า จะสังเกตเห็น growth ring ได้ชัดเจน ในแป้งที่แห้ง จะไม่พบ growth ring สาหรับเม็ดแป้งขนาดเล็ก เช่น แป้งข้าวบาร์เลย์ และแป้งข้าวเจ้าจะสังเกตได้ยากจาก การส่องกลอ้ งจลุ ทรรศน์ แตส่ ามารถสังเกตเห็นไดเ้ ม่ือนาแปง้ ผา่ น ปฏิกิริยาเคมหี รอื ย่อยด้วยเอนไซม์และศึกษา ด้วย SEM โครงสร้างของ growth ring แสดงถึงลักษณะ การเจริญของเม็ดแป้งโดยเน้ือเยื่อช้ันแรกเจริญมา จากศูนย์กลางของเม็ดแป้ง (hilum) ซึ่งส่วนน้ี ประกอบด้วยส่วน reducing end ของโมเลกุลแป้ง มีด้าน non–reducing end ของอะไมโลส และอะไมโลเพคตินแผ่กระจายออกไป [Oates, 1997] จุดเชื่อมกิ่ง (branch point) ของอะไมโลเพคตนิ อยูใ่ นสว่ นอสัณฐานและสายอยใู่ นสว่ นผลกึ [French, 1984]
ถ้าสอ่ งด้วยกลอ้ งโพลาไรช์ (polarized microscope) จะมองเหน็ วงแหวนและไฮลัม เป็นเครื่องหมาย กากบาทสีดาชัดเจน (birefringence หรือ polarization cross) โดยจุดตัดของ กากบาทจะเป็นตาแหน่งของ ไฮลัมและบริเวณอน่ื จะเห็นเป็นแสงสวา่ งวาว ซึง่ เปน็ สิง่ ยืนยันถึงลักษณะ ทโี่ มเลกุลของแป้งมีการจัดเรียงตัวกัน อยา่ งเปน็ ระเบยี บ [Kerr, 1950] องค์ประกอบทางเคมีของเม็ดแปง้ โดยท่ัวๆไปเม็ดแป้ง (starch granule) ประกอบด้วยโมเลกุลของแป้งเป็นองค์ประกอบหลัก นอกจากน้ียังมี โปรตีน ไขมัน ฟอสฟอรัส สารอนินทรีย์อ่ืนๆ และน้าในปริมาณที่แตกต่างกันข้ึนกับ ชนิดของ พชื ผงฟหู รอื เบกิ้งโซดา ผงฟู (Baking Powder) ชนิดนี้จะประกอบไปด้วยโซเดียมไบคาร์บอเนต (Sodium bicarbonate) + สารท่ีมี ฤทธ์เิ ป็นกรด (เช่น ครีมทาร์ทาร์ (Cream of tartar) ซึ่งเป็นผลึกผงสีขาวที่ทามาจากรดในผลองุ่น)+ โซเดียม แอซิดไพโรฟอสเฟต (Sodium acid pyrophosphate) หรือสารเจือปนในอาหารที่ให้ความเป็นกรด + แป้ง ข้าวโพด (Corn Starch) ทง้ั นก้ี ็เพ่อื คงความเป็นกลางไว้ไมใ่ หม้ ันทาปฏกิ ิริยากนั (ป้องกันไม่ให้สารทั้งสองสัมผัส กันโดยตรง) น่ันคือ เมื่อเอาผงฟูใส่น้าก็จะเกิดฟองก๊าซ (เพราะมีกรดท่ีพร้อมทาปฏิกิริยาอยู่แล้ว) ผงฟูชนิดที่ โดนน้าแล้วจะเกิดปฏิกิริยาทันที (ชนิดนี้เรียกว่า “ผงฟูกาลังหน่ึง” หรือ Single-acting) ส่วนอีกแบบน้ัน นอกจากจะเกิดปฏกิ ิริยาตอนผสมกับนา้ หรอื ของเหลวแล้ว เมอื่ อุณหภมู ิสูงขนึ้ (เข้าเตาอบ) ก็จะเกดิ ปฏิกิริยาข้ึน อีกครง้ั หน่งึ (ชนดิ นีเ้ รยี กวา่ “ผงฟกู าลงั สอง” หรือ Double-acting) เบกกิ้งโซดา หรือ โซเดียมไบคาร์บอเนต หรือ ผงฟู มีช่ือทางการค้าที่เรียกกันท่ัวไปหลายช่ือด้วยกัน เช่น เบคก้ิงโซดา (Baking Soda), คุ๊กก้ิงโซดา (Cooking Soda), เบรดโซดา (Bread Soda), โซเดียมไบ คาร์บอเนต (Sodium bicarbonate), ไบคาร์บอเนตโซฟา (Bicarbonate of Soda) เป็นต้น ชนิดน้ีจะ สลายตัวไดเ้ มือ่ ได้รับความร้อน มีข้อเสียคือจะมสี ารตกค้าง ถา้ ใช้มากเกนิ ไปจะทาใหเ้ กิดรสเฝื่อนได้ แต่สามารถ แก้ไขได้โดยเติมกรดลงไปในสูตรขนมอาหารลงไปเพื่อทาให้สารตกค้างหมดไปได้ ตัวอย่างเช่น การเติมนม เปร้ียว หรือโยเกิร์ต เป็นต้น (เม่ือสูตรใดใช้เบกกิ้งโซดาเป็นส่วนผสม ก็จะต้องมีส่วนผสมอ่ืนที่มีฤทธิ์เป็นกรด ด้วยเสมอ และการทาส่วนผสมแทบทุกครั้งจะต้องใส่ของเหลวทีหลังสุดเสมอ เพ่ือให้ก๊าซที่เกิดคงไว้มากพอ กอ่ นเขา้ เตา) โดยเบกก้ิงโซดารปู แบบนี้เราจะนิยมนามาใช้กับขนมท่ีมีโกโก้หรือกาแฟ เป็นส่วนผสม เพราะท้ัง โกโกแ้ ละกาแฟตา่ งก็มคี า่ เป็นด่าง และเบกก้ิงโซดาก็มคี ่าเป็นดา่ ง จึงทาให้เขา้ กันได้ดี อิมลั ซไิ ฟเออร์ อิมัลซิไฟเออร์ คอื สารทีท่ าให้สว่ นผสมท่ปี กติไมส่ ามารถผสมกันได้ สามารถรวมตัวกันได้ หรือกระจาย ตวั ได้ดี เช่นในกรณีของนา้ และน้ามัน ซึ่งเป็นระบบอิมัลชั่นท่ีพบได้บ่อย เช่นเนยขาว หรือผลิตภัณฑ์ที่ใช้ทาบ ขนมปัง เป็นระบบท่ีหยดนา้ กระจายตัวอยู่ในส่วนของน้ามัน และระบบอิมัลชั่นแบบน้ามันในน้า ท่ีหยดน้ามัน กระจายตวั อยูใ่ นสว่ นของน้า เช่นมายองเนส และนม นอกจากนย้ี งั มีระบบอิมัลชั่นก็ยังมีแบบอื่นอีก เช่นระบบ โฟมท่มี ีอากาศมีเกยี่ วข้อง ซึ่งเป็นระบบที่มสี ว่ นผสม 3 อย่างอยู่ด้วยกัน ได้แก่ ไอศกรีม, ขนมหวานท่ีขึ้นฟูด้วย อากาศ หรือเคก้ เป็นผลติ ภัณฑ์ทม่ี รี ะบบของอิมลั ชั่นทซี่ บั ซ้อนมากข้ึน
นอกจากนี้อิมัลซิเฟอร์ยังมีคุณสมบัติท่ีช่วยปรับปรุงลักษณะของอาหารด้วย อิมัลซิไฟเออร์โดยเฉพาะ monoglycerides และstearoyl-lactylates จะถูกนาไปใช้ค่อนข้างมาก เน่ืองจากมีคุณสมบัติสามารถเกิด สารประกอบเชิงซอ้ นกับแป้งได้ โดยอิมลั ซไิ ฟเออร์จะทาปฏกิ ริ ยิ ากับอะไมโลสทีอ่ ยูใ่ นแป้ง ทาให้เกิดลักษณะทีดี ในอาหารได้แก่ ยดื อายุการเก็บรกั ษา ผลิตภัณฑ์ขนมอบทัง้ ทาใหน้ ุ่มหรอื ทาให้แข็ง ช่วยการกระจายตวั ของแปง้ ในผลติ ภัณฑ์ ทาใหก้ ระบวนการผลิตง่ายข้นึ ช่วยปรับเนือ้ สมั ผสั ที่แข็ง ช่วยปรับปรุงเน้ือสัมผัสในขนมขบเค้ียวแบบข้ึนรูป,ปรับปรุงความยืดหยุ่นเส้นก๋วยเต๋ียวสาเร็จรูป หรอื พาสตา้ กระป๋อง นอกจากนย้ี ังมสี ว่ นในการทาปฏกิ ริ ิยาระหว่างอมิ ัลซิไฟเออรก์ ับโปรตนี ดว้ ย เชน่ ปฏิกิริยาของ DATEM, stearoyl-lactylates และ polysorbates กับโปรตีนกลูเตนในแป้งสาลี ซึ่งมีความสาคัญมากในขนมอบ ให้ ความคงตวั และความแข็งแรงท่เี ป็นผลจากปฏกิ ริ ยิ า โดยชว่ ยให้โดยนื หยุ่นไดด้ ี หรือทนต่อแรงผสม, ทนต่อการ บ่ม เพราะในข้นั ตอนสุดท้ายโดต้องขน้ึ ฟอู ยา่ งเตม็ ที่เมอ่ื ผ่านการอบ โดยดูไดจ้ ากปริมาตรที่เพมิ่ ข้ึนของก้อนขนม ปงั หรอื โรลทเ่ี พิม่ ขน้ึ นอกจากนี้คุณสมบัติที่สาคัญด้านการเป็นอิมัลซิไฟเออร์แล้ว อิมัลซิไฟเออร์ยังมีผลต่อการเกิดผลึกของไขมัน หรอื /และ การเติมอากาศในระบบอาหาร ผลด้านการเกิดผลึกไขมันมักพบในมาการีน, ผลิตภัณฑ์ทาขนมปัง, เนยถัว่ ,ไอศครมี และผลติ ภณั ฑข์ นม แป้ง (starch) แปง้ เปน็ โพลิเมอรข์ องกลูโคสท่ีมขี นาดโมเลกุลใหญม่ สี ตู รทั่วไปคือ (C6H10O5)n แป้งมีหน่วย พื้นฐาน เป็น anhydroglucose unit เชอื่ มต่อกนั ด้วยพันธะ a-glycosidic linkage ทค่ี าร์บอนตาแหน่งที่ 1 ของหน่วย กลูโคสกับคาร์บอนตาแหน่งท่ี 4 ของหน่วยกลูโคสท่ีอยู่ถัดไป ด้านปลายของโมเลกุลแป้งจะมี anomeric carbon (C1) ซ่ึงว่างอยู่ไม่ได้จับกับโมเลกุลอ่ืนๆ ดังน้ันแต่ละโมเลกุลของแป้งจะมีด้านปลาย ท่ีมีคุณสมบัติ รีดิวซ์ (reducing end) นั่นคือ แป้งหน่ึงโมเลกุลจะมีตาแหน่ง reducing end 1 ตาแหน่ง โมเลกุลแป้งแบ่ง ออกเป็น 2 ชนิดหลักๆ ตามขนาดโมเลกุลและลักษณะการจัดเรียงตัว คือ อะไมโลส ซึ่ง มีขนาดเล็กและมี กิง่ ก้านสาขาเพยี งเลก็ นอ้ ย และอะไมโลเพคตินซ่ึงมขี นาดใหญ่และ มีกงิ่ ก้าน สาขา มาก มาย (รายละเอียดอยู่ ในหวั ข้อถัดไป) นอกจากนีย้ ังพบโมเลกลุ แป้งอกี ชนิดหนึง่ ซ่ึงมี ขนาดใหญ่ กว่าอะไมโลสแต่เล็กกว่าอะไมโลเพ คติน เรียกว่า “ intermediate material ” แต่พบในปริมาณไม่มากนัก อะไมโลสและอะไมโลเพคตินมี คุณสมบตั ทิ ีแ่ ตกตา่ งกนั
2. การทาขนมโดนทั จิ๋ว 2.1 วัตถดุ บิ และส่วนผสมของการทาขนมโดนทั จิว๋ วตั ถุดิบ แป้งบัตเตอร์ เนย นมขน้ จืด ไข่ไก่ นำ้ สมนุ ไพร สว่ นผสม 1 กโิ ลกรัม 5 ฟอง 1. แปง้ บัตเตอรเ์ คก้ (UFM) 250 กรัม 2. ไข่ไก่ (เบอร์ 2) 250 มลิ ลิกรัม 3. เนยจืด (OP Cake) 250 มลิ ลกิ รัม 4. นา้ สมนุ ไพร 5. นมขน้ จืด (Carnation)
2.2 วัสดุอปุ กรณท์ ี่ใช้ในการทาขนมโดนัทจว๋ิ เครื่องอบ เครอื่ งตแี ปง้ ถ้วยตวง กะละมังแสตนเลส ตะแกรงเหล็ก ถำดรอง หมวกกุ๊ก ถุงมอื
ผ้ำกนั เปอ้ื น ผำ้ ขำวบำง ผ้ำเชด็ มอื ผำ้ ปดิ ปำก แปรงทำเนย ไม้เสียบลกู ชิน ไม้พำย กระบวย
ใบกิจกรรม เร่อื ง การออกแบบและปฏบิ ตั ิการทาขนมโดนัทจิ๋วโดยบรู ณาการสะเตม็ ศกึ ษาและสมนุ ไพรไทยในท้องถน่ิ วัตถุประสงค์ ออกแบบและทดลองทาขนมโดนทั จวิ๋ โดยการบูรณาการสะเตม็ ศกึ ษาและสมุนไพรไทยในท้องถ่ิน คาชแี้ จง ใหท้ ่านออกแบบและทดลองทาขนมโดนทั จิว๋ โดยดาเนนิ การตามข้นั ตอนท่ีกาหนดให้ ดังน้ี 1. การวางแผนการทดลองทาขนมโดนัทจ๋ิวจากอุปกรณท์ ่ีเตรียมให้ โดยการบูรณาการสะเตม็ ศึกษา และสมนุ ไพรไทยในทอ้ งถ่ิน 2. ทดลองทาขนมโดนัทจิว๋ โดยการบรู ณาการสะเต็มศึกษาและสมุนไพรไทยในทอ้ งถนิ่ 4. บนั ทึกผลการทดลองทาขนมโดนัทจวิ๋ โดยการบูรณาการสะเต็มศกึ ษาและสมุนไพรไทยในทอ้ งถนิ่ 5. สรุปปญั หา/อปุ สรรค ในการทาขนมโดนัทจวิ๋ โดยการบรู ณาการสะเตม็ ศึกษาและสมนุ ไพรไทยใน ทอ้ งถ่นิ วัสดุและอุปกรณ์ท่ีเตรยี มให้สาหรับการออกแบบและปฏิบัติการทาขนมโดนทั จิ๋ว ท่ี รายการ จานวนต่อกลุ่ม 1 แป้งบัตเตอร์เค้ก 1 กโิ ลกรัม 2 ไข่ไก่ 5 ฟอง 3 เนย 250 กรัม 4 นมข้นจดื 250 มิลลิลติ ร 5 นา้ สมุนไพร เชน่ ใบเตย อญั ชนั ฟกั ทอง 250 มลิ ลิลิตร 6 เตาอบโดนัท 1 เคร่อื ง 7 เครือ่ งตีแป้ง 1 เครอื่ ง 8 กะละมงั สแตนเลส 1 ใบ 9 ถาดรอง/ตะแกรง 1 ใบ 10 ผา้ ขาวบาง 1 ผืน 11 ผ้าเช็ดมือ 1 ผนื 12 ผา้ กนั เป้อื น / ผา้ ปิดปาก / หมวกก๊กุ 1 ชุด 13 แปรงทาเนย 1 อัน 14 ถ้วยตวง 1 อัน 15 กระบวย 1 อัน 16 ไมเ้ สยี บลูกช้ิน 1 ถงุ 17 กล่องใส 1 แพ็ค จุดประสงคใ์ นการทดลอง…………………………………………………………………………………………………………...
ร่างแบบแผนการทดลองทาขนมโดนัทจ๋วิ 1. การระบปุ ญั หา 2. การคน้ หาแนวคิดที่เกี่ยวขอ้ ง 3. การวางแผนและพัฒนา
4. การทดสอบและการประเมินผล ผลการปฏิบัตงิ านในวนั ทีด่ าเนนิ การทดลอง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ตารางบันทกึ ผล ภายหลังการทดลองทาขนมโดนทั จวิ๋ สูตร……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ระยะเวลาในการพกั แปง้ รูปหัวใจ รูปวงกลม จานวนชน้ิ หมายเหตุ 5. การนาเสนอผลลพั ธ์ จากการทดลองทาขนมโดนทั จิ๋วดว้ ยสตู ร…………………………………………………………………………………………..….. ในวนั ทด่ี าเนนิ การทดลองพบว่า…………………………………….………………………………………………………………………. เมื่อเวลาผ่านไป………นาที พบวา่ โดนัทจวิ๋ มีลกั ษณะดีทส่ี ดุ เนือ่ งจาก…………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… สรปุ ปัญหา/อุปสรรค ในการทาขนมโดนทั จวิ๋ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: