Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore unit 3

unit 3

Description: unit 3

Keywords: computer

Search

Read the Text Version

เน้อื หาสาระการสอน/การเรยี นรู • ดานความรู(ทฤษฎี) 1. อธิบายการบาํ รุงรกั ษาทั่ว ๆ ไป ได (จดุ ประสงคเชิงพฤตกิ รรมขอ 1) 1. การบาํ รงุ รกั ษาโดยทัว่ ๆ ไป • เครอ่ื งจายไฟสํารอง (UPS) ถามีงบประมาณเพียงพอควรตดิ ต้งั รวมกบั ตัวเคร่อื งคอมพวิ เตอรด วย เพราะUPS จะชวยปอ งกันและแกปญ หาทางไฟฟา ไมวา จะเปนไฟตกไฟเกนิ หรือไฟกระชาก อนั เปน สาเหตุท่จี ะ ทาํ ใหเกิดความเสยี หายของขอ มลู และช้ินสวนอื่นๆ • การติดตงั้ ตวั เครอ่ื งคอมพวิ เตอรค วรติดต้ังในหองทม่ี เี ครื่องปรบั อากาศหรอื ถา มไี มมี เครอ่ื งปรับอากาศควรเลือกหองทปี่ ลอดฝุนมากท่ีสดุ และการตดิ ตง้ั ตัวเครื่อง ควรจากผนังพอสมควรเพื่อการ ระบายความรอ นท่ีดี • การตอ สาย Cable ระหวา งเครอื่ งคอมพวิ เตอรกบั อปุ กรณต างๆเชน Printer Modem Fax หรอื สวนอนื่ จะตอ งกระทําเมื่อ power off เทานั้น • อยา ปด - เปด เครือ่ งบอ ยๆ เกนิ ความจําเปน เพราะจะทําใหเ กิดความเสยี หายแกโปรแกรมทีก่ ําลงั ทํางานอยู • ไมเ คลอ่ื นยา ยเครื่องคอมพิวเตอรขณะท่เี ครอื่ งทํางานอยู เพราะจะทําใหอุปกรณบางตัวเกิดความ เสยี หายได • อยา เปดฝาเครอ่ื งขณะใชงานอยู ถาตองการเปดตอง power off และถอดปล๊ักไฟกอ น

• ควรศึกษาจากคมู อื กอ นหรือการอบรมการใชง าน Software กอนการใชงาน • ตวั ถงั ภายนอกของเครอื่ งคอมพวิ เตอรสวนใหญเ ปน สวนประกอบของเหลก็ กบั พลาสตกิ เม่อื ใชน านๆ จะมีฝนุ และคราบรอยน้ิวมือมาตดิ ทําใหด ูไมสวยงามและถา ปลอยไวนานๆจะทําความสะอาดยากจงึ ควรทํา ความสะอาดบอ ยๆอยา งนอ ย1-2เดือนตอคร้ังโดยใชผ าชุบนํา้ หมาดๆเชด็ ท่ตี วั เครื่อง หรอื ใชนํ้ายาทําความ สะอาดเครื่องคอมพวิ เตอรโ ดยเฉพาะ และทีส่ ําคญั คือ ควรใชผ า คลุมเครอ่ื งใหเ รยี บรอ ยหลังเลิกใชง านทกุ ครัง้ เพอื่ ปองกนั ฝนุ ผงตางๆ 2. บอกสาเหตทุ ีท่ ําใหเ ครื่องพีซีเกิดความเสยี หาย ได (จุดประสงคเชิงพฤตกิ รรมขอ 2) สาเหตุทท่ี ําใหเคร่อื งพซี เี กดิ ความเสยี หาย 1. ความรอน ความรอนทเี่ ปน สาเหตุทาํ ใหคอมพิวเตอรม ีปญหาสวนใหญเ กิดจากความรอ นของอุปกรณ อเิ ล็กทรอนิกสบนเมนบอรด ของคอมพิวเตอรเ องวธิ แี กปญ หาคอื จะตองรบี ระบายความรอนท่ีเกดิ จากอปุ กรณ ตางๆ ออกไปใหเร็วท่ีสดุ วิธแี กปญ หา • พดั ลมระบายความรอ นทุกตวั ในระบบตอ งอยูในสภาพดี 100 เปอรเซ็นตอ ุณหภมู ทิ ีเ่ หมาะสมที่สุด ควรจะอยรู ะหวาง 60-70 องศาฟาเรนไฮต • ใชเพาเวอรซ พั พลาย ในขนาดท่ีถูกตอง • ใชง านเครือ่ งในยานอณุ หภมู ทิ ป่ี ลอดภยั อยา ตงั้ อยูในบริเวณทีม่ แี สงแดดสองถึงเปน เวลานานๆ

2. ฝุนผง เปนที่ทราบกันดีวาในอากาศมฝี นุ ผงกระจัดกระจายอยูในทกุ ๆท่ฝี นุ ผงทีเ่ กาะติดอยบู นแผงวงจรของ คอมพวิ เตอรทําหนา ท่ีเสมอื นฉนวนปอ งกันความรอ น ทาํ ใหค วามรอนท่ีเกดิ ขน้ึ ในระบบไมสามารถระบายออกสู สภาพแวดลอ มภายนอกนอกจากนอี้ าจไปอดุ ตนั ชองระบายอากาศของเพาเวอรซพั พลายหรอื ฮารดดิสคห รอื อาจเขา ไปอยูร ะหวางแผน ดสิ คกับหวั อาน ทําใหแผนดิสคหรือหัวอา นเกดิ ความเสยี หายได วธิ ีแกไ ข • ควรทาํ ความสะอาดภายในเครื่องทกุ 6 เดอื น หรอื ทกุ ครงั้ ทถ่ี อดฝาครอบ • ตวั ถัง หรอื ชิน้ สว นภายนอกอาจใชส เปรยท าํ ความสะอาด • วงจรภายในใหใชลมเปา และใชแปรงขนออ นๆ ปดฝุนออก • อยาสูบบุหรี่ใกลเครื่องคอมพิวเตอร 3. สนามแมเหลก็ แมเ หล็กสามารถทําใหข อ มูลในแผน ดิสกห รอื ฮารด ดสิ กกส็ ูญหายไดอ ยางถาวรแหลง ท่ีใหกาํ เนิด สนามแมเหลก็ ในสาํ นกั งานมีอยูม ากมาหลายประเภท อาทิเชน • แมเ หล็กตดิ กระดาษบนั ทึกบนตเู ก็บแฟม • คลิปแขวนกระดาษแบบแมเหลก็ • ไขควงหัวแมเ หลก็ • ลําโพง • มอเตอรใ นพรินเตอร • UPS

วิธีแกไ ข • ควรโยกยายอปุ กรณทีม่ ีกําลังแมเ หลก็ มากๆ ใหหางจากระบบคอมพิวเตอร 4. สญั ญาณรบกวนในสายไฟฟา สญั ญาณรบกวนในสายไฟฟามีหลายลกั ษณะ อาทิเชน • แรงดนั เกนิ • แรงดนั ตก • ทรานเชียนต • ไฟกระเพอ่ื ม แรงดันเกิน ในกรณีที่เครอื่ งของทา นไดร ับแรงดนั ไฟฟา เกนิ จากปกตเิ ปน เวลานานกวา วินาที จะมผี ลทําใหอ ปุ กรณ อิเลก็ ทรอนิกสภ ายในเครอื่ งเกิดความเสยี หายได แรงดนั ตก ในกรณีทม่ี ีการใชไ ฟฟากันมากเกนิ ความสามารถในการจา ยพลังงานไฟฟา จะมผี ลทําใหเกดิ เหตกุ ารณ ไฟตกไดไ ฟตกอาจทําใหการทํางานของเพาเวอรซ พั พลายผดิ พลาดไดเนือ่ งจากเพาเวอรซัพพลายพยายามจา ย พลงั งานใหกับวงจรอยา งสม่ําเสมอโดยไปเพิ่มกระแส แตก ารเพ่มิ กระแสทําใหตวั นาํ เพาเวอรซ ัพพลายและ อปุ กรณตา งๆรอนขน้ึ ซึง่ มีผลทําใหอปุ กรณตางๆ เกดิ ความเสียหายได ทรานเชียนต ทรานเชียนตห มายถึง การทไี่ ฟฟา มแี รงดันสงุ (sags) หรอื ต่ํากวา ปกติ(surge)ในชว งระยะเวลาส้นั ๆท รานเชยี นตทเ่ี กดิ ในบางครงั้ จะมีความถี่สูงมากจนกระทั่งสามารถ เคลอ่ื นท่ผี านตวั เก็บประจุไฟฟาในเพาเวอร ซัพพลาย เขา ไปทาํ ความเสยี หายใหแ กอุปกรณอเิ ลก็ ทรอนิกสไ ด

ไฟกระเพื่อม ทุกคร้ังท่ที า นเปด เครือ่ งใชไฟฟาจะทาํ ใหก ําลงั ไฟเกิดการกระเพือ่ มเครื่องใชไ ฟฟาที่ตองการ กระแสไฟฟามากๆก็จะทําใหความแรงของการกระเพ่ือมมคี ามากตามไปดว ย จากการศกึ ษาพบวา การเปดใช งานเคร่อื งใชไฟฟาแตละครัง้ จะทาํ ใหเกิดการกระเพ่อื มภายในเส้ยี ววินาทีการกระเพอื่ มจะมผี ลตอทุกๆสว น ภายในตัวเคร่อื ง รวมท้งั หัวอา นขอมลู ของฮารด ดสิ คดวย วธิ แี กไ ข • ในกรณีไฟเกนิ ไฟตก และทรานเชยี นต แกไ ขไดโ ดยการใชเคร่อื งควบคุมกระแสไฟฟา หรือ ที่ เรียกวา Stabilizer • สวนไปกระเพ่อื ม แกไดโ ดยการลดจํานวนครั้งในการปด เปด เคร่อื ง 5. ไฟฟาสถติ ย ไฟฟา สถติ ยส ามารถเกดิ ข้ึนไดท กุ ฤดูกาลแตในสภาวะที่อากาศแหงจะสง ผลใหค วามเปน ฉนวนไฟฟาสงู ประจขุ องไฟฟา สถิตยจ ะสะสมอยูเ ปน จาํ นวนมากและหาทางว่ิงผานตัวนําไปยงั บริเวณท่ีมศี ักยไ ฟฟาตาํ่ กวา ดังนน้ั เมอ่ื ทานไปจบั อปุ กรณอ ิเล็กทรอนิกสประจุของไฟฟา สถติ ยจ ากตัวทานจะวิ่งไปยงั อุปกรณอิเล็กทรอนิกส เหลา น้นั ทําใหอปุ กรณเ กิดความเสียหายได แตใ นสภาวะทม่ี ีความชื้นสงู ไฟฟาสถติ ยท เี่ กดิ ขนึ้ จะร่วั ไหลหายไป ในระยะเวลาอนั สน้ั วิธีแกไ ข •ควรทาํ การคายประจไุ ฟฟา สถิตย ดวยการจบั ตอ งโลหะอ่ืนท่ไี มใ ชต ัวถังเครอ่ื งคอมพิวเตอร กอนจะ สมั ผัสอุปกรณต างๆ ในระบบคอมพิวเตอร 6. น้ําและสนมิ นา้ํ และสนิมเปนศตั รูตัวรายของอุปกรณอ เิ ล็กทรอนกิ สท ุกชนิดสนิมทพี่ บในเมนบอรดของคอมพิวเตอร มักจะเกดิ จากการรั่วซึมของแบตเตอรี่บนเมนบอรด ซ่งึ ถาเกดิ ปญหานีข้ ึ้น นน่ั หมายความวาทานจะตองควกั กระเปา ซ้ือเมนบอรด ตัวใหมมาทดแทนตวั เกาท่ีตอ งทิ้งลงถังขยะสถานเดียว วธิ ีแกไข • หลกี เลยี่ งการนําของเหลวทกุ ชนดิ มาวางบนโตะคอมพวิ เตอรข องทาน • กรณีการร่ัวซึมของแบตเตอร่ีแกไขไดโดยการเปล่ยี นแบตเตอร่ีใหม เมอื่ เครื่องของทานมีอายกุ ารใช งานไดประมาณ 1-2 ป เปนตนไป

วธิ ีการดแู ลรกั ษาคอมพิวเตอรง า ยๆ 10 วธิ ีดังนี้ 1.ทาํ ความสะอาดคอมพิวเตอรบา ง : วธิ ีการทําความสะอาดคอมพวิ เตอรนนั้ ไมยากอยา งท่เี ราคิด ครับ แตกต็ องทาํ ใหถกู หลักดวยนะครับ เรม่ิ จากการถอดปล๊กั ไฟกอน และทําความสะอาดโดยใชผาสะอาดชบุ นํ้าเปลา หรอื นาํ้ ยาทาํ ความสะอาดคอมพวิ เตอร เช็ดสว นตา งๆทีเ่ ปนตวั เครอื่ งหรือกรอบหนา จอ เมาส คยี บอรด รวมถึงสายไฟคอมพวิ เตอร 2.เปาฝนุ หรอื กาํ จดั ฝนุ ที่อยบู นตวั เครอื่ ง : สาํ หรับวธิ นี แ้ี นะนาํ ใหใ ชแ ปลงทาสีทมี่ ีขนออนๆ อาจจะ เปนแปรงดา มไมไ ผหาซอื้ ไดตามรานวัสดกุ อ สรา งครับ เพราะหนาจอหรือตวั เครือ่ งบางรนุ หากใชแปรงที่มีขน หนาอาจทาํ ใหเ ปนรอยได อยา ลืมใสผาปดจมกู กอ นทาํ ความสะอาดนะครับถาใครมีเครอื่ งเปา ฝนุ หรือเปาลม สามารถเปาเครือ่ งไดน ะครบั เพ่อื ไลฝ ุน ออกจากคอมพิวเตอร 3.ตรวจเช็คความเรยี บรอ ยภายในตวั เครอื่ งคอมพิวเตอร : วิธนี ้อี าจยุงยากหนอยสําหรบั ผูทีไ่ มถ นดั ในดานการชางครบั เพราะตองทําการเปดฝาเครือ่ งคอมพิวเตอร โดยจะตองไขนอ็ ตทีล่ อ็ กฝาขางอยู ควร ตรวจเชค็ พดั ลมระบายความรอ นและสายไฟท่ีอยูภายในครบั วายงั อยใู นสภาพทใ่ี ชง านไดด ีอยหู รือเปลาเพราะ ความรอ นกเ็ ปน อีกหน่ึงสาเหตุทีท่ าํ ใหคอมพิวเตอรเสียไดเ พราะอุปกรณสกึ หรอ 4.จดั วางคอมพวิ เตอรใหถูกหลกั : สําหรับผทู ่ีใชคอมพวิ เตอรต งั้ โตะ การจัดวางหนา จอคอมพิวเตอร ควรวางใหหา งจากกาํ แพง หรือมีชอ งวา งดา นหลังจอประมาณ 1 ไมบ รรทดั ครบั เพราะความรอนที่กระจาย ออกมาจะไดม กี ารระบายท่โี ลงและไมเกิดอุณหภูมิสูง รวมถงึ ตัวเคสคอมพวิ เตอรก ็ควรต้ังในทมี่ ชี องระบาย ความรอ นใหลมสามารถพดั เขา-ออกได ผูทใี่ ชโนตบุค กเ็ ชน เดยี วกนั ครบั ควรยกระดับดา นลา งของโนตบคุ ใหม ี ชอ งวา งระบายอากาศดา นลา งดวย เนือ่ งจากโนตบคุ จะมีความรอนท่ีสงู กวาคอมพวิ เตอรท ั่วไป แนะนําใหหาพัด ลมตัวเลก็ ๆ หรือพัดลมตัง้ พนื้ เปา จะแนน อนสดุ ครบั เยน็ ทงั้ คนและเครอ่ื ง

5.เขาศนู ยหรือรานซอ มคอมใกลบ า น : วธิ ีน้สี ําหรบั คนท่ีไมสะดวกในการจดั การคอมพวิ เตอรก ต็ อง ฝากใหเ ปน งานของชางคอมพิวเตอรช วยตรวจสอบกันวา อปุ กรณตา งๆยังอยใู นสภาพดไี หม กอนตรวจเชค็ สอบถามราคาในการดาํ เนนิ การกอนนะครับ ^^ 6.จัดการไฟลทไี่ มไดใ ชแ ลว หรือไมส าํ คัญ : ไฟลต างๆทเ่ี ราดาวนโ หลดมาหรือเกบ็ ไวในเครอื่ งคอมพวิ เตอรห าก ไมไดใชง านแลว หรอื ไมส ําคญั ก็ควรลบทง้ิ จากเครื่องคอมพวิ เตอรค รับ เพราะจะทําใหไมห นกั เครือ่ งในสวนของ หนวยความจํา จะไดพ รอมและมีทวี างรบั ขอ มลู ใหม 7.จัดระเบียบโฟลเดอรต างๆ : ในสวนน้ีจะชว ยประหยดั ทัง้ เวลาและชว ยในเร่ืองการทํางานของเราไดเลยครับ เพราะหากเราจดั การไฟลและโฟลเดอรต างๆใหเปนระเบียบเรยี บรอ ย เวลาท่หี าไฟลต างๆก็จะสะดวกมากขึ้น เครือ่ งก็จะทาํ งานไมห นกั ครับ 8.กาํ จัดและสแกนไวรัสในคอมพวิ เตอร : วธิ ีน้ีอาจตอ งใชเ วลาหนอ ยครบั เพราะแนน อนวาสําหรบั คนท่ใี ช คอมพวิ เตอรมานานขอ มูลตางๆรปู ภาพไฟลเพลง งานตางๆมากมายทอี่ ยใู นเคร่อื งมาจากหลากหลายที่ ทําใหมี ไวรัสแฝงตวั อยใู นโฟลเดอรตา งท้งั ท่ีเราไมรบู าง ย่งิ ขอ มูลมากย่ิงใชเ วลาสแกนนานมากขึ้น ลองหาโปรแกรม สแกนไวรัสสักตวั อยางเชน nod32 เพือ่ ใหก ารใชงานคอมพิวเตอรไมม ปี ญหา

9.ลบโปรแกรมทีไ่ มไดใ ชงานทิง้ : หากเรารูวา โปรแกรมไหนที่เราไมไ ดใ ชงานแลว หรอื เกมสต างๆที่เราลงไวใน คอมพิวเตอรไมไ ดเ ลนเราควรจะลบออกครับเชน เดียวกบั โฟลเดอรและไฟล เพราะจะทาํ ใหเ ครอื่ งคอมพวิ เตอร ของเราไมท าํ งานหนักที่ตอ งเตรียมโปรแกรมตา งๆคอยเสิรฟ เวลาที่เราจะใชง าน 10.หม่ันหาวธิ ีหรือการใชงานทีถ่ กู ตอง : จรงิ ๆแลววธิ นี ้ีก็คือการใชงานคอมพิวเตอรใหถูกตองตามพื้นฐานครับ เพราะถา เราไมร หู ลักในการใชง านแลว ต้งั แตขอ 9 จนถึง 1 ทก่ี ลาวมาก็อาจทาํ ใหเราละเลยในการดูแลรกั ษา คอมพวิ เตอรจากการใชง านทไ่ี มถ ูกตอ งได ไมยากครับเพียงแคเราคอยเอาใจใสทงั้ ตัวเราและคอมพวิ เตอร ตอ ง เร่มิ จากตวั เรากอ นครับเพราะถาเราไมด ูแลสุขภาพตัวเรากอน เวลาทเี่ ราจะดูแลคอมพวิ เตอรกจ็ ะมนี อ ยลงครับ ดา นทักษะ(ปฏบิ ัติ) (จดุ ประสงคเ ชิงพฤติกรรมขอ ท่ี 1-2) 1. แบบทดสอบกอนเรียน หนวยท่ี 3 2. ใบงาน หนวยท่ี 3 3. แบบฝกหดั หนวยท่ี 3 4. กิจกรรมนาํ สอู าเซียน หนว ยท่ี 3 5. กจิ กรรมบูรณาการในชวี ติ ประจําวัน หนวยท่ี 3 6. กิจกรรมบูรณาการ 3D หนวยท่ี 3 7. แบบประเมนิ ผูเรียนในชั้นเรียน 8. แบบทดสอบหลังเรียน หนวยท่ี 3 • ดา นคณุ ธรรม/จรยิ ธรรม/จรรยาบรรณ/บรู ณาการเศรษฐกิจพอเพียง (จุดประสงคเชิงพฤติกรรมขอ ท่ี 3-4) 1. การเตรียมความพรอมดานการเตรียม วัสดุ อุปกรณนักศึกษาจะตองกระจายงานไดท่ัวถึง และตรง ตามความสามารถของสมาชิกทกุ คน มีการจดั เตรยี มสถานท่ี ส่อื วัสดุ อปุ กรณไ วอยางพรอ มเพรยี ง 2. ความมเี หตุมีผลในการปฏิบตั ิงาน ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง นกั ศกึ ษาจะตอ งมกี ารใช เทคนิคท่ีแปลกใหมใชสื่อและเทคโนโลยีประกอบการนําเสนอที่นาสนใจนําวัสดุในทองถ่ินมา ประยกุ ตใ ช อยา งคุมคาและประหยดั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook