Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานประจำปีฝ่ายผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ปีงบประมาณ 2560

รายงานประจำปีฝ่ายผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ปีงบประมาณ 2560

Published by suchitra nok, 2021-09-16 13:56:05

Description: รายงานประจำปีฝ่ายผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ปีงบประมาณ 2560

Keywords: รายงานประจำปี

Search

Read the Text Version

คำนำ ฝ่ายผลติ ส่อื อิเล็กทรอนิกส์ มีหน้าทีใ่ นการสง่ เสริมการเรียนร้ดู ้วยตนเองใหก้ ับนักศึกษา บุคลากรของมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี โดยรบั ผิดชอบในการจัดฝึกอบรมการใชง้ าน ห้องเรยี นออนไลน์ให้กบั อาจารย์ และใหค้ าแนะนากบั นักศึกษาผา่ นเว็บไซต์ จดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์ และทางโทรศัพท์ ในปงี บประมาณ 2560 นี้ ฝา่ ยผลติ ส่ืออเิ ล็กทรอนิกส์ได้รวบรวมขอ้ มูล และสารสนเทศ อนั พงึ เป็นประโยชน์ เพอ่ื ใชง้ านร่วมกนั และเพ่ือการพัฒนากระบวนการทางานของสานักวทิ ยบริการและ เทคโนโลยสี ารสนเทศตอ่ ไป ฝ่ายผลติ สอื่ อิเล็กทรอนิกส์

สำรบญั หน้ำ 1 สรุปรายงานผลการดาเนินงานประจาปงี บประมาณ 2560 1 ฝ่ายผลิตสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 1 ภาระงานฝ่ายผลติ สอ่ื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ 2 ผลการดาเนินงานฝ่ายผลิตสอ่ื อิเล็กทรอนกิ ส์ 6 ผลการจดั ฝกึ อบรมด้านส่อื อิเลก็ ทรอนิกส์ 7 การประเมินความพึงพอใจในภาพรวมของห้องเรยี นออนไลน์ 9 ข้อเสนอแนะจากผู้ตอบแบบสอบถาม 9 การตอบปัญหาการใช้งานของหอ้ งเรยี นออนไลน์ 10 ปญั หาและอุปสรรคในการดาเนนิ งาน 10 การบรหิ ารความเสีย่ งห้องเรียนออนไลน์มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 11 บคุ ลากร

สำรบัญตำรำง หนำ้ 2 ตำรำงที่ 2 1 ด้านขอ้ มลู จากระบบการเรียนการสอน 3 2 จานวนรายวิชาในปี งบประมาณ 2560 4 3 เปรยี บเทยี บจานวนรายวชิ าแยกตามคณะ ปี 2560 และ 2559 5 4 เปรยี บเทยี บจานวนอาจารย์ผสู้ อนแยกตามคณะ ปี 2560 และ 2559 5 จานวนนกั ศกึ ษาท่ีเขา้ ใชง้ านหอ้ งเรยี นออนไลน์แยกตามคณะ

สำรบญั ภำพ ภำพที่ หนำ้ 1 กราฟแสดงการเปรียบเทียบ จานวนรายวิชาในปีงบประมาณ 2560 2 2 กราฟแสดงจานวนรายวิชาทเ่ี พมิ่ ขึน้ ในปี 2560 3 3 กราฟแสดงจานวนอาจารย์ทเ่ี พ่มิ ข้นึ ในปี 2560 4 4 กราฟแสดงจานวนนกั ศึกษาทเี่ ข้าใชง้ านระบบ ในปี 2560 5 5 การฝกึ อบรมการใช้งานห้องเรียนออนไลน์ ประจาปี 2560 6 6 กราฟแสดงความพึงพอใช้ของผใู้ ชบ้ รกิ ารในภาพรวม ปี 2560 7 7 กราฟแสดงจานวนผู้ตอบแบบสอบถามแยกตามเพศ 7 8 กราฟแสดงจานวนผู้ตอบแบบสอบถามแยกตามหนว่ ยงานที่สงั กดั 8 9 กราฟแสดงความถ่ีในการใชห้ อ้ งเรียนออนไลน์มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี 8 10 กราฟแสดงความถใ่ี นการใช้อนิ เทอร์เน็ตตอ่ สปั ดาห์ 8

สรุปรายงานผลการดาเนนิ งานประจาปีงบประมาณ 2560 ฝา่ ยผลติ ส่ืออเลก็ ทรอนกิ ส์ (e-Learning) ขอ้ มูล ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2560 ภาระงานฝ่ายผลติ ส่ืออิเล็กทรอนกิ ส์  สรา้ งองค์ความรู้เกยี่ วกับการพัฒนาสอื่ อเิ ล็กทรอนกิ ส์เพือ่ สนับสนุนการเรยี นการ สอน  พัฒนากระบวนการพฒั นาส่อื อิเล็กทรอนิกส์  ตรวจสอบคณุ ภาพของสื่ออเิ ลก็ ทรอนิกส์ และปรบั ปรงุ ข้อมูลให้เป็นปัจจุบนั  จดั เกบ็ สื่ออิเล็กทรอนิกส์อย่างเป็นระบบโดยใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ  พัฒนาและให้บรกิ ารเผยแพร่ส่อื ในช่องทางทห่ี ลากหลาย  ส่งเสรมิ การสร้างส่ืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ของอาจารยด์ ว้ ยตนเอง (Walk in)  สง่ เสริมการสร้างสอื่ อิเลก็ ทรอนิกสข์ องอาจารย์ด้วยตนเอง (จัดอบรม)  ตรวจสอบการใช้งานห้องเรยี น online และ web สือ่ ทร่ี บั ผิดชอบ  จดั ทาคมู่ ือโปรแกรมการใช้งานในกรณที ี่มหาวทิ ยาลัยฯ เลือกใชโ้ ปรแกรมเหลา่ น้ัน เพอ่ื ให้อาจารย์สามารถทางานได้  จัดการระบบห้องเรยี นออนไลน์ของมหาวิทยาลัยฯ ท่ีมีใหบ้ รกิ ารผ่าน ระบบการเปน็ สมาชกิ  ตอบปญั หาด้านห้องเรียนออนไลน์ ทาง mail และทางโทรศัพท์  จดั เกบ็ และเผยแพร่องค์ความรู้ และแนวปฏิบตั ิด้านการผลิตสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนิกส์  สรปุ สถติ แิ ละรายงานผลการดาเนนิ งานการผลติ สอ่ื การศึกษา  วิเคราะหจ์ ัดการความเส่ียงของงานผลิตสือ่ การศกึ ษา  ปฏิบัติหนา้ ที่อน่ื ตามท่ไี ดร้ บั มอบหมาย

2 ผลการดาเนินงานฝ่ายผลิตส่อื อเิ ล็กทรอนิกส์ ในปงี บประมาณ 2560 ฝา่ ยผลติ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไดจ้ ัดทารายงาน รวบรวมขอ้ มูลทีจ่ าเป็น เพ่ือเป็นผลงานของฝ่ายผลิตสือ่ อเิ ล็กทรอนิกส์ และเพอื่ นามาใช้ประกอบการรายงานตัวชว้ี ดั ด้านการ ประกนั คุณภาพของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี มีรายละเอียดดังน้ี ตารางท่ี 1 ด้านข้อมลู จากระบบการเรยี นการสอน ลาดบั รายการ จานวน หมายเหตุ 1 เน้ือหารายวชิ า 1,492 เพ่ิมข้นึ 153 วิชา 2 ผู้ใชง้ านระบบทงั้ หมด 21,141 3 อาจารย์ผ้สู อน 549 ลบผู้ใช้ท่สี าเรจ็ การศึกษาออกจากระบบ 4 จานวนนักศึกษา 20,080 ยกเวน้ เทอมทผี่ า่ นมาต้องรอใหอ้ าจารย์ เก็บข้อมูลงานวจิ ัยเรยี บร้อยกอ่ น ข้อมูล ณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2560 หมายเหตุ วิชาท้ังหมด รวมถึงการใช้ในการฝึกอบรมและการเผยแพร่ความรู้ ตารางท่ี 2 จานวนรายวชิ าในปี งบประมาณ 2560 จานวน (วชิ า) 1,600 1,492 1,400 1,339 1,200 1,000 800 600 400 200 - ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 2560 2559 ภาพท่ี 1 กราฟแสดงการเปรียบเทียบ จานวนรายวิชาในปงี บประมาณ 2560

3 ตารางท่ี 3 เปรยี บเทยี บจานวนรายวิชาแยกตามคณะ ปี 2560 และ 2559 ลาดับ คณะ จานวนรายวิชา (วิชา) ปี 2560 ปี 2559 เพิ่มข้ึน 1 บริหารธรุ กิจ 242 201 41 2 วิศวกรรมศาสตร์ 214 198 16 3 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 506 467 39 4 เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ 13 13 0 5 ครุศาสตร์อุตสาหกรรม 76 72 4 6 คณะศิลปกรรมศาสตร์ 20 20 0 7 ศลิ ปศาสตร์ 186 175 11 8 เทคโนโลยีการเกษตร 95 78 17 9 เทคโนโลยสี ือ่ สารมวลชน 55 47 8 10 สถาปตั ยกรรมศาสตร์ 35 23 12 11 วิทยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย 26 24 2 1,468 1,318 150 ขอ้ มูล ณ วันที่ 30 กันยายน 25560 หมายเหตุ เฉพาะรายวชิ าที่ใช้ในการจดั การเรยี นการสอน ไมร่ วมถงึ การใช้ในการฝึกอบรม และ เผยแพรค่ วามรู้ จานวนรายวิชาทเ่ี พิ่มข้นึ (วิชา) 60 12.27 60 รอ้ ยละ 40 20 - เพ่ิมขน้ึ ภาพท่ี 2 กราฟแสดงจานวนรายวิชาท่ีเพ่ิมข้ึนในปี 2560

4 ตารางท่ี 4 เปรยี บเทยี บจานวนอาจารยผ์ ู้สอนแยกตามคณะ ปี 2560 และ 2559 ลาดับ คณะ จานวนอาจารย์ผ้สู อน (คน) ปี 2560 ปี 2559 เพม่ิ ขน้ึ 1 บรหิ ารธุรกจิ 73 69 4 2 วิศวกรรมศาสตร์ 106 83 23 3 วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 136 127 9 4 เทคโนโลยคี หกรรมศาสตร์ 13 13 0 5 ครุศาสตรอ์ ตุ สาหกรรม 34 32 2 6 คณะศิลปกรรมศาสตร์ 17 15 2 7 ศิลปศาสตร์ 71 69 2 8 เทคโนโลยีการเกษตร 33 25 8 9 เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน 28 28 0 10 สถาปตั ยกรรมศาสตร์ 24 16 8 11 วทิ ยาลัยการแพทย์แผนไทย 14 12 2 549 489 60 ขอ้ มลู ณ วันที่ 30 กนั ยายน 25560 หมายเหตุ เฉพาะอาจารยท์ ส่ี งั กัดคณะ ไมร่ วมอาจารย์พิเศษ และอาจารยเ์ กษียณอายรุ าชการ จานวนอาจารยท์ เ่ี พม่ิ ขึ้น (วิชา) 60 12.27 60 ร้อยละ 40 20 - เพ่มิ ข้นึ ภาพที่ 3 กราฟแสดงจานวนอาจารย์ท่ีเพิ่มข้ึนในปี 2560

5 ตารางท่ี 5 จานวนนกั ศึกษาทีเ่ ข้าใชง้ านห้องเรียนออนไลน์แยกตามคณะ ลาดบั คณะ จานวนนกั ศกึ ษา (คน) ปี 2560 1 บริหารธุรกิจ 1,365 2 วศิ วกรรมศาสตร์ 1,220 3 วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 1,533 4 เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ 3,287 5 ครุศาสตร์อตุ สาหกรรม 5,993 6 คณะศิลปกรรมศาสตร์ 1,115 7 ศิลปศาสตร์ 1,304 8 เทคโนโลยกี ารเกษตร 2,058 9 เทคโนโลยีส่อื สารมวลชน 1,690 10 สถาปตั ยกรรมศาสตร์ 231 11 วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย 284 20,080 ข้อมลู ณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 25560 หมายเหตุ ยังมนี กั ศึกษาบางส่วนท่จี บการศึกษาแล้ว แตย่ งั ไม่ได้ลบออกจากระบบ เนื่องจากตามกติกา ไดต้ ้ังไวว้ า่ จะเกบ็ ขอ้ มลู ให้ 1 ภาคการศึกษา เพือ่ ให้อาจารย์ประจาวิชาเกบ็ ข้อมูลในกรณี ทาวจิ ัยในช้นั เรยี น จานวนนกั ศกึ ษาแยกตามคณะ 1,690 231 284 1,365 1,220 บธ. 5,993 วศ. 2,058 1,533 วท. คห. 1,304 3,287 คอ. ศก. 1,115 ศศ. ทก. สส. สถ. วพท. ภาพที่ 4 กราฟแสดงจานวนนกั ศึกษาที่เข้าใชง้ านระบบ ในปี 2560

6 ผลการจดั ฝกึ อบรมดา้ นสือ่ อิเล็กทรอนกิ ส์ ดาเนินการจัดอบรมให้อาจารย์ จานวน 3 ครั้ง จานวน 38 คน คร้ังที่ 1 ระหว่างวนั ท่ี 29-30 พฤษภาคม 2560 จานวนผู้เข้าอบรม 10 คน คร้ังท่ี 2 วันท่ี 1-2 มถิ ุนายน 2560 จานวนผู้เข้าอบรม 17 คน ครัง้ ที่ 3 วนั ที่ 19-20 มิถุนายน 2560 จานวนผูเ้ ขา้ อบรม 11 คน ภาพที่ 5 การฝึกอบรมการใช้งานห้องเรยี นออนไลน์ ประจาปี 2560

7 การประเมนิ ความพึงพอใจในภาพรวมของห้องเรียนออนไลน์ จากการตอบผา่ นแบบสอบถามออนไลน์ เพื่อประเมินความถงึ พอใจในภาพรวมของห้องเรียน ออนไลนจ์ ากจานวนผูต้ อบแบบสอบถามท้งั สนิ้ จานวน 571 คน ซงึ่ เป็นนกั ศึกษาทีเ่ ป็นผู้ใชง้ านอย่าง ตอ่ เนือง ผลการประเมนิ ความพึงพอใจ อยใู่ นระดบั 3.94 ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน 0.75 ซ่ึงอยใู่ น เกณฑ์ดี ภาพท่ี 6 กราฟแสดงความพึงพอใชข้ องผ้ใู ชบ้ ริการในภาพรวม ปี 2560 โดยผูต้ อบแบบสอบถาม จานวน 571 คน แยกไดด้ ังน้ี เพศ ภาพที่ 7 กราฟแสดงจานวนผูต้ อบแบบสอบถามแยกตามเพศ

8 คณะท่สี ังกัด ภาพท่ี 8 กราฟแสดงจานวนผู้ตอบแบบสอบถามแยกตามหน่วยงานทส่ี งั กดั ความถใ่ี นการใช้ห้องเรียนออนไลนม์ หาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี ภาพท่ี 9 กราฟแสดงความถี่ในการใช้หอ้ งเรียนออนไลน์มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี ความถี่ในการใชอ้ นิ เทอร์เนต็ ตอ่ สัปดาห์ ภาพท่ี 10 กราฟแสดงความถี่ในการใช้อนิ เทอร์เน็ตต่อสปั ดาห์

9 ขอ้ เสนอแนะจากผตู้ อบแบบสอบถาม 1. อยากให้ Upgrade Version ทใ่ี หม่กวา่ นี้ 2. อยากให้จัดอบรมใหน้ กั ศกึ ษา ในลกั ษณะของการเรยี นแบบแยกกลุ่ม 3. อยากให้มีกจิ กรรมที่เก่ียวกับการเรยี นการสอนมากขน้ึ 4. ดีมากระบบเข้าถึงง่าย ใช้งานสะดวก 5. ระบบใช้งานยาก 6. กดรายวิชาผดิ ทาใหแ้ ก้ไขไม่ได้ 7. ควรมีสอื่ การเรียนออนไลนท์ ุกวชิ า 8. แก้การส่งการบ้านใหผ้ ูใ้ ช้สามารถแก้ไข้ไดใ้ นกรณมี ีขอ้ ผิดพลาด เพ่ิมระบบแจง้ เตือน การสง่ การบา้ น 9. นักศึกษารูจ้ กั น้อย และไม่คอ่ ยไดใ้ ช้งาน ควรมีกจิ กรรมหรือวิธีการให้นักศึกษาไดไ้ ช้ ประโยชน์มากกว่านี้ 10. ชว่ ยสอนใหเ้ รอื่ งยาก เปน็ เรื่องที่เขา้ ใจงา่ ย รู้ทง้ั ร้นู กั ศกึ ษา เปน็ ผ้ศู กึ ษา เช่นเดียวกนั กบั ผู้สอน ไม่ได้มาสอนผ่านๆ สอนใหร้ ใู้ หเ้ ข้าใจ ขอบคุณครบั 11. ปรบั ปรงุ ให้ดีข้ึนต่อไปคับ การตอบปญั หาการใช้งานของห้องเรยี นออนไลน์ o การตอบปัญหาผ่าน email: [email protected] จานวน 181 ฉบับ o การตอบปัญหาผา่ นโทรศัพท์ หมายเลข 0-2549-3663 จานวน 17 ครง้ั o การตอบปัญหาด้วยการเข้าพบดว้ ยตนเอง จานวน 60 คร้ัง

10 ปัญหาและอปุ สรรคในการดาเนนิ งาน เนื่องจากปัญหาท่เี ก่ยี วขอ้ งกับผ้ใู ชง้ าน ได้รบั การแก้ไขไปแล้วทาใหป้ ัญหา ในด้านการ เข้าใชง้ าน และการลมื บญั ชีผใู้ ช้ และรหสั ผา่ น ลดลงจนแทบจะไม่มปี ญั หาเลย ปัญหาใหมท่ ่ีพบคือ 1. ปญั หาการแบ่งกล่มุ ผเู้ รียนของอาจารย์ และอาจารย์ได้แจกรหสั เขา้ กล่มุ ผดิ ซึง่ ต้องตามแกไ้ ข เปน็ รายบุคคล ทาใหเ้ สียเวลามาก และเน่ืองจากการส่ือสารทางโทรศัพท์ บางครัง้ ก็ทาให้ ผิดพลาดได้ เนื่องจากนักศึกษาไมเ่ ห็นหนา้ จอ วิธกี ารแก้ไข คือการเนน้ ย้าอาจารย์ ในเร่ืองของการแจกรหัสกลมุ่ ให้กับนักศกึ ษา 2. ปัญหาการทดลองทาข้อสอบของอาจารยด์ ว้ ยตนเอง ทาให้อาจารยไ์ มส่ ามารถแก้ไข แบบทดสอบของตนเองได้ เน่ืองจากติดการมีผเู้ ข้าใช้ (Attempts) วธิ กี ารแกไ้ ข คอื การเข้าไปลบ Attempts ในการเขา้ ทาขอ้ สอบ ไดจ้ ัดทาข้ันตอนเพ่ิมเติม เร่ืองการลบ Attempts สง่ ให้อาจารยท์ างเมล์ จะเหน็ ไดว้ ่า ถงึ แมจ้ านวนผู้ใช้งานจะมากขึ้น แต่หากสามารถบริหารจัดการบัญชผี ้ใู ชง้ านได้ อย่างเปน็ ระบบแลว้ การทางานตา่ งๆ ก็จะงา่ ยข้นึ สังเกตจากการตอบปัญหาในช่องทางต่างๆ ลดลงอยา่ งเห็นได้ชัดเจน การบริหารความเสี่ยงห้องเรียนออนไลน์มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี 1. หอ้ งเรียนออนไลน์มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี เป็นซอฟต์แวรฟ์ รี ท่ีใช้ได้ ทัว่ โลก การบริหารจดั การต่างๆ จะขน้ึ อยกู่ ับบุคลากรของสานกั วทิ ยบรกิ ารและเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึง่ มีการบริหารความเสี่ยง ในด้านของระบบและอุปกรณ์ ดังนี้ 1.1 ระบบจัดเก็บฐานขอ้ มูลห้องเรียนออนไลน์ มีข้อมลู สาคญั และข้อมลู มีเป็น จานวนมาก จะต้องทาการ Backup ข้อมลู สปั ดาหล์ ะ 1 คร้งื 1.2 หมนั่ ตรวจสอบพนื้ ท่ีในการจัดเก็บ เพื่อให้รองรบั การทางานของระบบได้ อย่างมีประสทิ ธิภาพ 1.3 หม่ันลา้ ง Cache ของระบบเพ่ือใหร้ ะบบสามารถดาเนินไปได้อยา่ งรวดเร็ว 2. ด้านบุคลากรและผูด้ แู ลระบบ 2.1 มกี ารใหค้ วามรผู้ ู้ดแู ลระบบสม่าเสมอ เพือ่ ให้สามารถบริหารจดั การระบบได้ อย่างมปี ระสิทธิภาพ 2.2 ทาความเข้าใจกับผู้ใช้งานระบบ ในขอ้ ที่เป็นข้อหา้ ม ข้อท่ีควรระมดั ระวงั เพือ่ ให้เกดิ ผลกระทบกับระบบให้น้อยท่สี ดุ