Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อริยสัจ 4 ม-3

อริยสัจ 4 ม-3

Published by wisanu.1332, 2020-07-19 05:05:59

Description: อริยสัจ 4 ม-3

Search

Read the Text Version

วิชาสงั คมศึกษา 5 รหสั วิชา ส23101 ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 จานวน 1.5 หน่วยกิต เวลาเรียน 3 ชวั่ โมง/สัปดาห์ รวม 60 ช่วั โมง/ภาคเรยี น 1

คะแนนการเรียน 70:30 1 . คะแนนเก็บก่อนกลางภาค 20 คะแนน 2. คะแนนสอบกลางภาค 30 คะแนน 3. คะแนนเกบ็ หลงั กลางภาค 20 คะแนน 4. คะแนนสอบปลายภาค 30 คะแนน 2

อรยิ สจั 4

อริยสจั 4 : ความจรงิ อันประเสรฐิ 4 ประการ ทกุ ข์ : ความไมส่ บายกาย ไมส่ บายใจ (จดั เปน็ ธรรมทคี่ วรร)ู้ สมทุ ยั : เหตแุ หง่ การเกดิ ทกุ ข์ (จดั เปน็ ธรรมทคี่ วรละ) นิโรธ : ความดบั ทกุ ข์ (จดั เปน็ ธรรมทบ่ี รรล)ุ มรรค : หนทางแหง่ การดบั ทกุ ข์ (จัดเปน็ ธรรมทคี่ วรเจรญิ ) 4

ทุกข์ (ธรรมทค่ี วรร)ู้ ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ หลกั ธรรมทคี่ วรรู้ เพอื่ ใหร้ ู้ ความจรงิ ของการเกิดทุกข์ 1) ขันธ์ 5 : องค์ประกอบของสง่ิ มีชวี ิต - รูป (รา่ งกาย) - เวทนา (ความรสู้ กึ ) - สัญญา (ความจา) - สังขาร (สิ่งปรงุ แตง่ จิต) - วญิ ญาณ (การรบั รผู้ า่ นสมั ผัสต่างๆ) 5

ทุกข์ (ธรรมทค่ี วรรู้) 2) ไตรลักษณ์ : ลักษณะ 3 ประการ ของ สรรพส่ิงท้ังหลาย “สามัญลักษณะ” อนจิ จงั (อนิจจตา) = ความไม่เทย่ี ง สรรพสิง่ ยอ่ ม เกิดขึน้ ดารงอยู่ และดบั ไป ทุกขัง (ทุกขตา) = อาการท่ที นอยใู่ นสภาวะเดิมไดย้ าก อนัตตา (อนตั ตตา) = ความไม่มีตัวตน

สมุทัย (ธรรมท่คี วรละ) สาเหตแุ ห่งการเกดิ ความทุกข์ หลกั ธรรมที่ควรละ “ เพ่อื ไม่ใหเ้ กดิ ทกุ ข์ 1) หลักกรรม (วฏั ฏะ 3) วัฏฏะ = วน หรอื วงกลม วฏั ฏะ 3 ประกอบด้วย  กิเลสวฏั ฏะ = กิเลส  กรรมวัฏฏะ = กรรม  วบิ ากวฏั ฏะ = วบิ าก 7

วัฏฏะ 3 [ช่ือประเภท] [ช่ือประเภท] [ช่ือประเภท] กิเลสวฏั ฏะ กรรมวฏั ฏะ วิบากวฏั ฏะ 8

2) ปปัญจธรรม 3 ปปญั จธรรม 3 : เครือ่ งทาให้เนน่ิ ช้า/เครอ่ื งขดั ขวางไมใ่ ห้จติ เขา้ ถงึ อรยิ สจั 4 คอื กิเลสทีท่ าให้การศึกษา และปฏบิ ัตติ ามพทุ ธธรรมไมด่ าเนนิ ไปดว้ ยดี ปปญั จธรรม 3 มีอยู่ 3 ประการ  ตัณหา = อยากได้ อยากมี อยากเปน็  มานะ = ถอื วา่ ตนอยู่เหนอื คนอน่ื  ทฐิ ิ = ยึดมนั่ ในความคิดของตนเอง 9

นิโรธ (ธรรมทคี่ วรบรรล)ุ หลักธรรมท่คี วรบรรลุเพือ่ ดบั ทกุ ข์ อตั ถะ (อตั ถะ 3) อตั ถะ = ประโยชนท์ ี่ไดจ้ ากการปฏบิ ัติธรรม 1. ทฏิ ฐธมั มิกตั ถะ = ประโยชนข์ ั้นตน้ /ประโยชน์ในปจั จบุ นั  อุฏฐานสมั ปทา  อารกั ขสัมปทา  กลั ยาณมติ ตตา  สมชวี ติ า 10

อัตถะ (อัตถะ 3) 2. สัมปรายิกัตถะ = ประโยชนข์ ั้นกลาง หรือประโยชน์ที่ไดร้ บั ใน ภพภมู หิ นา้ /ประโยชนล์ กึ ลา้ เกินกวา่ จะ มองเห็นกันเฉพาะหน้า หรือผิวเผินโดย ภายนอก 3. ปรมตั ถะ = ประโยชนข์ ั้นสูงสดุ คอื “นิพพาน” 11

มรรค (ธรรมท่คี วรเจรญิ ) ทางแห่งความดับทุกข์ หลักธรรมทีค่ วรปฏิบัตเิ พอื่ เปน็ ทางไปส่คู วามดับทุกข์ 1) มรรคมีองค์ 8 7. สัมมาสติ : ตง้ั สตชิ อบ 1. 1. สมั มาทฐิ ิ : ความเหน็ ชอบ 8. สมั มาสมาธิ : การตงั้ จติ มั่นชอบ 2. 2. สัมมาสงั กปั ปะ : ความดาริชอบ 3. 3. สมั มาวาจา : เจรจาชอบ 4. 4. สมั มากัมมันตะ : ทาการงานชอบ 5. 5. สัมมาอาชวี ะ : เลย้ี งชพี ชอบ 6. 6. สมั มาวายามะ : พยายามชอบ 12

2. ปญั ญา 3 ความรู้ มีบอ่ เกดิ ของปญั ญา 3 ประการ คือ “1) สตุ มยปญั ญา : ปัญญาทีเ่ กดิ จากการฟัง 2) จนิ ตามยปัญญา : ปญั ญาที่เกดิ จากการคดิ 3) ภาวนามยปัญญา : ปญั ญาทีเ่ กดิ จากการลงมอื ปฏิบัติ 13

3. บญุ กิรยิ าวตั ถุ 10 1) ทานมัย : การทาทาน 2) ศลี มัย : รักษาศลี 3) ภาวนามัย : เจริญภาวนา 4) อปจายนมยั : อ่อนนอ้ มถอ่ มตน 5) เวยยาปจั จมยั : ช่วยเหลอื ผูอ้ นื่ 6) ปัตตทิ านมยั : แบ่งปันความสุข 7) ปตั ตานโุ มทนามยั : ยนิ ดใี นความดขี องผ้อู ่ืน 8) ธรรมสวนมยั : ฟงั ธรรม 9) ธัมมเทศนามัย : สอบถาม แนะนา 10) ทฏิ ฐชุ กุ รรม : ทาความเห็นให้ถกู ตรงตามธรรม 14

4. อบุ าสกธรรม 7 ธรรมทีอ่ บุ าสก อุบาสิกาตอ้ งมี 1) พบพระ (หมัน่ ไปวดั ) 2) ฟังธรรม 3) ศกึ ษาศลี 4) เลอื่ มใสในภกิ ษุ 5) ฟังธรรมดว้ ยจติ ทีเ่ ปน็ กศุ ล 6) ไม่หาบญุ นอกศาสนา 7) อุปถมั ภบ์ ารงุ พระพทุ ธศาสนา 15


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook